< Return to Video

อธิบายอย่างชัดเจนเกี่ยวกับอาการไอเรื้อรัง

  • 0:00 - 0:03
    MED Cram
  • 0:03 - 0:05
    เอาล่ะ ขอต้อนรับสู่การบรรยายอีกเรื่องของ MED Cram
  • 0:05 - 0:08
    เรากำลังจะพูดถึงอาการไอเรื้อรัง
  • 0:08 - 0:17
    ซึ่งจะใช้นิยามสำหรับใครก็ตามที่มีอาการไอมาแล้วอย่างน้อย 8 สัปดาห์
  • 0:17 - 0:33
    อย่างที่พูดๆกัน ว่าสิ่งแรกที่คุณควรทำเมื่อพบอาการนี้ คือ คุณต้องทำการเอ็กซ์เรย์ทรวงอก เพื่อตรวจคัดกรองเรื่องการติดเชื้อ
  • 0:33 - 0:39
    มันจะเป็นเรื่องใหญ่มาก ถ้าคุณมีคนไข้ที่ติดเชื้อ ดังนั้นให้คุณสงสัยเลยว่ามีอะไรบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับวัณโรค
  • 0:39 - 0:45
    ถ้าคุณสงสัยว่ามันอาจเกี่ยวกับปอดบวม ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่คุณต้องให้แพทย์เพื่อตรวจคัดกรองโดยเร็วที่สุด
  • 0:45 - 0:53
    อย่างไรก็ตาม สมมุติว่าผลการเอ็กซ์เรย์ทรวงอกเป็นปกติ สิ่งที่คุณต้องคัดกรองเพิ่มเติมเพื่อมั่นใจอีกอย่างหนึ่งคือ คนไข้ไม่ได้กำลังกินยาลดความดันโลหิตสูงที่อยู่ในกลุ่ม ACE inhibitor
  • 0:53 - 1:02
    ซึ่งยาเหล่านี้มักจะมีชื่อลงท้ายด้วยคำว่า "pril" เช่น แค็ปโตพริล ไลไซโนพริล อินาลาพริล รามิพริล เป็นต้น
  • 1:02 - 1:11
    ซึ่งยาในกลุ่ม ACE Inhibitor เหล่านี้สามารถก่อให้เกิดอาการไอได้โดยเกิดจากการเพิ่มขี้นของสารแบรดีไคนิน
  • 1:11 - 1:16
    ดังนั้น หากใครมีอาการไอเรื้อรังจนคุณต้องพยายามทำการทดสอบเพื่อหาสาเหตุ
  • 1:16 - 1:23
    สิ่งแรกที่คุณต้องทำคือ ต้องมั่นใจว่าคุณได้ทำการเอ็กซเรย์ทรวงอกเพื่อตรวจคัดกรองปัญหาการติดเชื้อ หลังจากนั้นก็ให้พิจารณาว่ายาที่พวกเค้ากำลังรับประทานอยู่นั้นไม่ใช่ยาในกลุ่ม ACE Inhibitor
  • 1:23 - 1:35
    ผมบอกได้เลยว่าประมาณร้อยละ 30 ของคนไข้ที่กินยากลุ่ม ACE Inhibitor จะมีอาการไอแห้งเรื้อรัง เอาล่ะ เมื่อคุณคัดกรองเรื่องพวกนี้ออกไปแล้ว ความเป็นไปได้อย่างอื่นคืออะไร
  • 1:35 - 1:48
    มาพูดถึงความเป็นไปได้กันดีกว่า มันมีความเป็นไปได้อยู่ 3 อย่าง ที่ผมมักจะมองหาเมื่อคนไข้มีอาการไอเรื้อรัง และสิ่งแรกที่ผมมักจะทำคือเริ่มจากเรื่องที่กล่าวไปเมื่อกี๊ ถ้าคุณต้องทำ
  • 1:48 - 2:00
    เอาล่ะ ถ้าคุณรู้ว่าคนไข้ติดเชื้อ ดูที่รูปเล็กๆ นี่นะ นี่คือหัว จมูก และปากนะ
  • 2:00 - 2:05
    คุณรู้แล้วว่าช่องโพรงนาสิกจะต่ำลงไปทางนี้ จากนั้นจะเจอลิ้น
  • 2:05 - 2:15
    ถ้าคนไข้มีอาการอักเสบจากภูมิแพ้เกิดขึ้นที่บริเวณนี้ จะมีการสร้างน้ำมูกจำนวนมาก และน้ำมูกเหล่านี้จะหลั่งออกมารวมกันจนเหนียวข้นและไหลลงไปที่คอส่วนหลัง
  • 2:15 - 2:28
    ซึ่งต่อมาจะเกิดกลไกที่ต้องกำจัดออกจากคอ ซึ่งเราเรียกว่าเสมหะไหลลงคอ หรือการอักเสบจากภูมิแพ้
  • 2:28 - 2:37
    เข้าใจนะ เสมหะไหลลงคอจากการอักเสบจากภูมิแพ้ แล้วอาการของมันคืออะไร มันก็คือการกำจัดเสมหะออกจากลำคอบ่อยไงล่ะ
  • 2:37 - 2:45
    ถ้าคุณมองไปที่คอส่วนหลัง จะเห็นว่าปุ่มเกิดขึ้นลักษณะคล้ายปุ่มหิน เรียกว่า Cobblestone
  • 2:45 - 2:55
    ซึ่งจะเกิดขึ้นเวลาที่คุณคันเปลือกตาหรือเกิดภูมิแพ้ คัดเปลือกตาเช่นกัน นึ่กออกนะ
  • 2:55 - 3:02
    ทีนี้ลองนึกถึงเวลาที่มีเสมหะไหลลงคือ หรืออาการอักเสบจากภูมิแพ้สิ
  • 3:02 - 3:05
    ผมพูดได้เลยว่าคนไข้ทุกคนที่มีอาการไอเรื้อรังเราได้กำกัดไปแล้วน้้น
  • 3:05 - 3:10
    จะมีหลงเหลืออยู่ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์
  • 3:10 - 3:13
    ดังนั้น ให้คิดเสมอว่าถ้าคราวหน้ามีคนไข้มาด้วยเรื่องอาการไอเรื้อรัง
  • 3:13 - 3:17
  • 3:17 - 3:23
  • 3:23 - 3:34
  • 3:34 - 3:41
  • 3:41 - 3:50
  • 3:50 - 3:56
  • 3:56 - 4:00
  • 4:00 - 4:04
  • 4:04 - 4:15
  • 4:15 - 4:29
  • 4:29 - 4:33
  • 4:33 - 4:42
  • 4:42 - 4:53
  • 4:53 - 5:04
  • 5:04 - 5:13
  • 5:13 - 5:23
  • 5:23 - 5:28
  • 5:28 - 5:37
  • 5:37 - 5:46
  • 5:46 - 5:56
  • 5:56 - 6:07
  • 6:07 - 6:26
  • 6:26 - 6:34
  • 6:34 - 6:53
  • 6:53 - 7:02
  • 7:02 - 7:11
  • 7:11 - 7:29
  • 7:29 - 7:36
  • 7:36 - 7:43
  • 7:43 - 7:52
  • 7:52 - 7:58
  • 7:58 - 8:03
  • 8:03 - 8:09
  • 8:09 - 8:16
  • 8:16 - 8:25
  • 8:25 - 8:29
  • 8:29 - 8:35
  • 8:35 - 8:52
  • 8:52 - 9:01
  • 9:01 - 9:12
  • 9:12 - 9:21
  • 9:21 - 9:28
  • 9:28 - 9:30
  • 9:30 - 9:40
Title:
อธิบายอย่างชัดเจนเกี่ยวกับอาการไอเรื้อรัง
Description:

Understand the three main causes of chronic cough with this clear explanation from Dr. Roger Seheult.

Includes discussion about asthma, gastroesophageal reflux (GERD), allergic rhinitis, allergies, chest xrays and more.

MedCram: Medical Topics Explained Clearly by World-Class Instructors

RECOMMENDED AUDIENCE: Health care professionals and students. Review for USMLE, MCAT, PANCE, NCLEX, NAPLEX, NDBE, school and board examinations.

Produced by Kyle Allred PA-C
-
Please note: MedCram Videos are for educational and exam preparation purposes, and not intended to replace recommendations by your health care provider.

more » « less
Video Language:
English
Team:
Volunteer
Duration:
09:45

Thai subtitles

Revisions Compare revisions