< Return to Video

อธิบายอย่างชัดเจนเกี่ยวกับอาการไอเรื้อรัง

  • 0:00 - 0:03
    MED Cram
  • 0:03 - 0:05
    ครับ ขอต้อนรับสู่การบรรยายอีกหัวข้อหนึ่งของ MED Cram
  • 0:05 - 0:08
    เราจะมาพูดถึงอาการไอเรื้อรัง
  • 0:08 - 0:17
    ซึ่งจะใช้นิยามสำหรับใครก็ตามที่มีอาการไอต่อเนื่องมาแล้วอย่างน้อย 8 สัปดาห์
  • 0:17 - 0:33
    โดยทั่วไป สิ่งแรกที่คุณควรทำเมื่อพบอาการนี้ คือ คุณต้องทำการเอ็กซ์เรย์ทรวงอก เพื่อตรวจคัดกรองเรื่องการติดเชื้อ
  • 0:33 - 0:39
    มันจะเป็นปัญหาใหญ่มาก ถ้าคุณมีคนไข้ที่ติดเชื้อ ดังนั้นให้คุณสงสัยเลยว่ามีอะไรบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับวัณโรค
  • 0:39 - 0:45
    ถ้าคุณสงสัยว่ามันอาจเกี่ยวกับปอดบวม ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่คุณต้องให้แพทย์เพื่อตรวจคัดกรองโดยเร็วที่สุด
  • 0:45 - 0:53
    อย่างไรก็ตาม สมมุติว่าผลการเอ็กซ์เรย์ทรวงอกเป็นปกติ สิ่งที่คุณต้องคัดกรองเพิ่มเติมเพื่อมั่นใจอีกอย่างหนึ่งคือ คนไข้ไม่ได้กำลังกินยาลดความดันโลหิตสูงที่อยู่ในกลุ่ม ACE inhibitor
  • 0:53 - 1:02
    ซึ่งยาเหล่านี้มักจะมีชื่อลงท้ายด้วยคำว่า "pril" เช่น แค็ปโตพริล ไลไซโนพริล อินาลาพริล รามิพริล เป็นต้น
  • 1:02 - 1:11
    ซึ่งยาในกลุ่ม ACE Inhibitor เหล่านี้สามารถก่อให้เกิดอาการไอได้โดยเกิดจากการเพิ่มขี้นของสารแบรดีไคนิน
  • 1:11 - 1:16
    ดังนั้น หากใครมีอาการไอเรื้อรังจนคุณต้องพยายามทำการทดสอบเพื่อหาสาเหตุ
  • 1:16 - 1:23
    สิ่งแรกที่คุณต้องทำคือ ต้องมั่นใจว่าคุณได้ทำการเอ็กซเรย์ทรวงอกเพื่อตรวจคัดกรองปัญหาการติดเชื้อ หลังจากนั้นก็ให้พิจารณาว่ายาที่พวกเค้ากำลังรับประทานอยู่นั้นไม่ใช่ยาในกลุ่ม ACE Inhibitor
  • 1:23 - 1:35
    ผมบอกได้เลยว่าประมาณร้อยละ 30 ของคนไข้ที่กินยากลุ่ม ACE Inhibitor จะมีอาการไอแห้งเรื้อรัง เอาล่ะ เมื่อคุณคัดกรองเรื่องพวกนี้ออกไปแล้ว ความเป็นไปได้อย่างอื่นคืออะไร
  • 1:35 - 1:48
    มาพูดถึงความเป็นไปได้กันดีกว่า มันมีความเป็นไปได้อยู่ 3 อย่าง ที่ผมมักจะมองหาเมื่อคนไข้มีอาการไอเรื้อรัง และสิ่งแรกที่ผมมักจะทำคือเริ่มจากเรื่องที่กล่าวไปเมื่อกี๊ ถ้าคุณต้องทำ
  • 1:48 - 2:00
    เอาล่ะ ถ้าคุณรู้ว่าคนไข้ติดเชื้อ ดูที่รูปเล็กๆ นี่นะ นี่คือหัว จมูก และปากนะ
  • 2:00 - 2:05
    คุณรู้แล้วว่าช่องโพรงนาสิกจะต่ำลงไปทางนี้ จากนั้นจะเจอลิ้น
  • 2:05 - 2:15
    ถ้าคนไข้มีอาการอักเสบจากภูมิแพ้เกิดขึ้นที่บริเวณนี้ จะมีการสร้างน้ำมูกจำนวนมาก และน้ำมูกเหล่านี้จะหลั่งออกมารวมกันจนเหนียวข้นและไหลลงไปที่คอส่วนหลัง
  • 2:15 - 2:28
    ซึ่งต่อมาจะเกิดกลไกที่ต้องกำจัดออกจากคอ ซึ่งเราเรียกว่าเสมหะไหลลงคอ หรือการอักเสบจากภูมิแพ้
  • 2:28 - 2:37
    เข้าใจนะ เสมหะไหลลงคอจากการอักเสบจากภูมิแพ้ แล้วอาการของมันคืออะไร มันก็คือการกำจัดเสมหะออกจากลำคอบ่อยไงล่ะ
  • 2:37 - 2:45
    ถ้าคุณมองไปที่คอส่วนหลัง จะเห็นว่าปุ่มเกิดขึ้นลักษณะคล้ายปุ่มหิน เรียกว่า Cobblestone
  • 2:45 - 2:55
    ซึ่งจะเกิดขึ้นเวลาที่คุณคันเปลือกตาหรือเกิดภูมิแพ้ คัดเปลือกตาเช่นกัน นึ่กออกนะ
  • 2:55 - 3:02
    ทีนี้ลองนึกถึงเวลาที่มีเสมหะไหลลงคือ หรืออาการอักเสบจากภูมิแพ้สิ
  • 3:02 - 3:05
    ผมพูดได้เลยว่าคนไข้ทุกคนที่มีอาการไอเรื้อรังนอกเหนือจากที่เราได้ตัดประเด็นการติดเชื้อไปแล้วนั้น
  • 3:05 - 3:10
    จะมีคนไข้อยู่ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ที่ไอเรื้อรังจากสาเหตุนี้
  • 3:10 - 3:13
    ดังนั้น ถ้าคราวหน้ามีคนไข้มาด้วยเรื่องอาการไอเรื้อรังให้คิดถึงเรื่องนี้ด้วย
  • 3:13 - 3:17
    ว่ามันค่อนข้างจะเป็นไปได้ที่เราจะเจอคนไข้ที่มีเสมหะไหลลงคอ
  • 3:17 - 3:23
    แล้วการรักษาสำหรับอาการนี้คืออะไร? คุณต้องพยายามหาสาเหตุของการเกิดภูมิแพ้
  • 3:23 - 3:34
    แต่สำหรับการรักษานั้น โดยทั่วไปก็จะใช้ยาสเตียรอยด์พ่นช่องจมูก ทันนะ?
  • 3:34 - 3:41
    คุณอาจจะเคยได้ยินชื่อยาเนโซเน็กซ์ , Flonase, Astelin หรือ Astepro
  • 3:41 - 3:50
    ยาเหล่านี้ล้วนเป็นยาสเตียรอยด์พ่นช่องจมูก หรือลดอาการภูมิแพ้ทั้งนั้น ทันนะ?
  • 3:50 - 3:56
    อีกอย่างหนึ่งที่เป็นตัวชี้วัดว่าเป็นการอักเสบจากภูมิแพ้คือมันมีอาการแค่อย่างเดียว
  • 3:56 - 4:00
    ดังนั้น อาจมีอะไรอย่างอื่นที่คุณสามารถใช้ได้ในการวินิจฉัยอาการไอเรื้อรัง
  • 4:00 - 4:04
    แต่ถ้าอาการมันเหมือนกับที่กล่าวมา ก็ดีเลย เอาล่ะ
  • 4:04 - 4:15
    ทีนี้มาต่อที่ความเป็นไปได้อย่างต่อไป จะมีอยู่ประมาณ 9% แต่แทนที่จะเกิดจากอวัยวะส่วนบนไปยังส่วนล่าง มันกลับเกิดจากอวัยวะส่วนล่างขึ้นสู่ส่วนบนแทน
  • 4:15 - 4:29
    คุณมีหลอดลม แต่ที่ติดอยู่กับหลอดลม จริงๆ คือติดอยู่หลังหลอดลมเลยคือหลอดอาหาร ซึ่งต่อไปยังกระเพาะ
  • 4:29 - 4:33
    แต่ถ้ามีอะไรไปขวางอยู่ในนั้น คุณจะมีอาการที่เรียกว่าโรคที่มีอาการซึ่งเกิดจากการไหลย้อนกลับของกรด หรือน้ำย่อยในกระเพาะอาหารขึ้นไปในหลอดอาหารส่วนบนอย่างผิดปกติ
  • 4:33 - 4:42
    บางครั้งมันเวลามันเกิด จะทำให้ระคายเคืองหลอดลม และเป็นสาเหตุของโรคที่เรียกว่าโรคกรดไหลย้อน (เกิร์ด)
  • 4:42 - 4:53
    แล้วเราจะดูได้ยังไงว่ามีกรดไหลย้อนเกิดหรือหรือเปล่า โรคกรดไหลย้อนจะมักจะเกิดและสัมพันธ์กับการไอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกิดกับคนอายุน้อย คุณยังไม่ต้องรีบแก่นะ
  • 4:53 - 5:04
    โดยทั่วไป สิ่งที่คุณจะพบคือรู้สึกเหมือนมีรสเปรี้ยวของกรดในตอนเช้า ลองลุกตัวสิ คุณจะรู้สึกดีขึ้นนิดนึง ทราบแล้วนะ 1. คือรู้สึกเหมือนมีรสรสเปรี้ยวของกรดในตอนเช้า
  • 5:04 - 5:13
    อ่า แน่นอนคุณต้องมีอาการของโรคกรดไหลย้อน นั่นก็คืออาการแสบร้อนกลางอก
  • 5:13 - 5:23
    อืม.. บางทีคุณอาจมีการถูกทำลายจากกรดเกิดขึ้นที่ด้านหลังของคอ หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ช่องปากของคุณอาจมีรอยแดง
  • 5:23 - 5:28
    หรือเมื่อเวลาส่องคออย่างที่แพทย์หูคอจมูกทำ จะเห็นว่ามันเป็นยังไง
  • 5:28 - 5:37
    แล้วอะไรคือวิธีการรักษาล่ะ? คุณสามารถใช้ยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม Proton Pump Inhibitor ได้
  • 5:37 - 5:46
    คุณสามารถไปซื้อที่ร้านขายยาได้ มันชื่อว่า Prilosec หรือจะใช้ยา Protonix Pantoprazole ก็ได้เช่นกัน เพราะยาในกลุ่มยับยั้งการหลั่งของกรดในกลุ่ม Proton Pump Inhibitor ก็มีอยู่หลายตัว
  • 5:46 - 5:56
    แต่อีกหลายวิธีที่ทำให้คุณยกหัวให้สูงขึ้นจากนอนได้ เช่น การใช้อิฐสองก้อนหนุนขาหัวเตียง ใบหน้าคุณก็จะยกสูงได้
  • 5:56 - 6:07
    ทางเลือกในการรักษาอีกอย่างหนึ่งคือหนุนเบาะสามเหลี่ยม (wedge) วัตถุประสงค์ในการใส่อุปกรณ์นี้ก็เพื่อรักษาสภาพศีรษะให้ยกสูงจากที่นอน ดังนั้น สิ่งผิดปกติจะไม่สามารถไหลย้อนขึ้นมาได้ และทำให้หลอดลมอยู่ในแนวดิ่ง
  • 6:07 - 6:26
    อีกอย่างที่ทำได้คืองดทานอาหารก่อนเอนนอน 3 ชั่วโมง และที่กระเพาะอาหารก็มีกล้ามเนื้อหูรูดอยู่
  • 6:26 - 6:34
    มีอยู่สองสามสิ่งที่เรารู้ว่าจะทำให้กล้ามเนื้อเปิดออก ซึ่งคุณต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด
  • 6:34 - 6:53
    สิ่งที่เราควรหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวลากลางคืน คือ แอลกอฮอล์ คาเฟอีน อาหารรสจัด และช็อคโกแล็ต
  • 6:53 - 7:02
    เอาล่ะ ถ้าดูแล้วว่ามันเหมือนกับสิ่งที่เกิดขึ้น นี่คือสิ่งที่คุณต้องพยายามไม่ทำ
  • 7:02 - 7:11
    ความเป็นไปได้อย่างสุดท้ายเป็นเรื่องที่พบบ่อย คือประมาณ 39% แล้วเหมือนจะเป็นกลุ่มหลักนั่นคือ โรคหอบหืด
  • 7:11 - 7:29
    คนไข้ไม่ได้มีเสียงฟืดฟาด พวกเขาแค่ไอ หรือบางทีรายอาจมีเสียงฟืดฟาดได้ บางรายก็ไม่มีแต่มีแค่อาการไอ ซึ่งก็อาจเป็นอาการของโรคหอบหืด อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
  • 7:29 - 7:36
    แล้วคนไข้กลุ่มนี้เป็นอย่างไร คนไข้จะมีอาการของโรคหอบหืดแต่แทนที่จะมีฟืดฟาดพวกเขาจะมีอาการไอแทน
  • 7:36 - 7:43
    ดังนั้นจึงต้องมีวิธีลดอาการ บางทีคนไข้อาจต้องลดใช้หมอนที่มีขนสัตว์ หรือลดการใช้สื่งอำนวยความสะดวกที่ทำจากขนสัตว์
  • 7:43 - 7:52
    นอกจากนี้ยังต้องงดหรือลดการให้มีสัตว์เลี้ยงในห้องนอน หรือลดสิ่งที่ก่อภูมิแพ้
  • 7:52 - 7:58
    ที่จริงแล้วคุณจะยังไม่รู้หรอกว่าคุณเป็นอะไรจนกว่าจะได้ทำการตรวจสมรรถภาพปอด
  • 7:58 - 8:03
    เรามาดูการบรรยายของ MED CRAM เรื่องการทดสอบสมรรถภาพปอดเพื่อให้เข้าใจว่าโรคหอบหืดเป็นอย่างไร
  • 8:03 - 8:09
  • 8:09 - 8:16
    นี่คือเวลาที่คนไข้หายใจเข้า
  • 8:16 - 8:25
    คนจะเห็นว่าคนไข้เป็นอย่างไร ถ้าคนไข้อาการแย่ลง คุณก็จะรู้ได้ว่าคนไข้
  • 8:25 - 8:29
    แล้วคนไข้ก็อาการดีขึ้น
  • 8:29 - 8:35
    ถ้าเป็นอย่างนั้น คุณก็จะทราบว่าการทดสอบได้ผลบวก ซึ่งหมายถึงคนไข้เป็นโรคหอบหืดอย่างที่คุณคิด
  • 8:35 - 8:52
    นั่นคืออย่างเดียวกับการรักษาโรคหอบหืด
  • 8:52 - 9:01
  • 9:01 - 9:12
    และคุณจะเห็นอาการคาบเกี่ยวกันระหว่างกลุ่มโรคเหล่านี้ ดังนั้น คุณต้องให้การรักษาที่ต่างกันไปในแต่ละกลุ่มโรค
  • 9:12 - 9:21
    ดังนั้น ครั้งต่อไปเมื่อมีคนไข้มาด้วยอาการไอเรื้อรัง ให้นึกถึงอาการไอที่สัมพันธ์กับโรคหอบหืดอย่างหนึ่ง
  • 9:21 - 9:28
    โรคกรดไหลย้อนอย่างหนึ่ง และโรคภูมิแพ้อีกอย่างหนึ่ง
  • 9:28 - 9:30
    ขอบคุณมากครับ
  • 9:30 - 9:40
    ดนตรีบรรเลง
Title:
อธิบายอย่างชัดเจนเกี่ยวกับอาการไอเรื้อรัง
Description:

Understand the three main causes of chronic cough with this clear explanation from Dr. Roger Seheult.

Includes discussion about asthma, gastroesophageal reflux (GERD), allergic rhinitis, allergies, chest xrays and more.

MedCram: Medical Topics Explained Clearly by World-Class Instructors

RECOMMENDED AUDIENCE: Health care professionals and students. Review for USMLE, MCAT, PANCE, NCLEX, NAPLEX, NDBE, school and board examinations.

Produced by Kyle Allred PA-C
-
Please note: MedCram Videos are for educational and exam preparation purposes, and not intended to replace recommendations by your health care provider.

more » « less
Video Language:
English
Team:
Volunteer
Duration:
09:45

Thai subtitles

Revisions Compare revisions