< Return to Video

Proof: Bounding the Error or Remainder of a Taylor Polynomial Approximation

  • 0:01 - 0:04
    ในวิดีโอที่แล้ว เราเริ่มสำรวจแนวคิดเรื่อง
    ฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 0:04 - 0:06
    อย่าสับสนกับค่าคาดหมายล่ะ
  • 0:06 - 0:08
    เพราะมันใช้สัญลักษณ์เดียวกัน
  • 0:08 - 0:10
    ตรงนี้ E คือความคลาดเคลื่อน
  • 0:10 - 0:11
    และเรายังคิดว่า
  • 0:11 - 0:13
    บางครั้ง มันเรียกว่าฟังก์ชันเศษเหลือ
  • 0:13 - 0:17
    และเราเห็นว่ามันก็แค่ผลต่าง
  • 0:17 - 0:20
    ผลต่างระหว่างฟังก์ชันกับค่าประมาณฟังก์ชัน
  • 0:20 - 0:26
    ตัวอย่างเช่น ระยะนี่ตรงนี้ตรงนี้
    นี่คือค่าคลาดเคลื่อน
  • 0:26 - 0:30
    นั่นคือค่าคลาดเคลื่อนที่ x เท่ากับ b
  • 0:30 - 0:32
    และสิ่งที่เราสนใจคือค่าสัมบูรณ์ของมัน
  • 0:32 - 0:35
    เพราะสักแห่งหนึ่ง f ของ x
    อาจมากกว่าพหุนาม
  • 0:35 - 0:38
    บางครั้ง พหุนามตรงนี้อาจมากกว่า f ของ x
  • 0:38 - 0:41
    สิ่งที่เราสนใจคือระยะสัมบูรณ์ระหว่างพวกมัน
  • 0:41 - 0:42
    และสิ่งที่ผมอยากทำในวิดีโอนี้คือ
  • 0:42 - 0:48
    พยายามหาขอบเขต พยายามหาขอบเขต
    ของความคลาดเคลื่อนที่ b
  • 0:48 - 0:50
    หาขอบเขตค่าคลาดเคลื่อน
  • 0:50 - 0:53
    ว่ามันน้อยกว่าเท่ากับค่าคงที่ค่าหนึ่ง
  • 0:53 - 0:56
    พยายามหาขอบเขตที่ b สำหรับ b มากกว่า a
  • 0:56 - 0:58
    เราจะสมมุติว่า b มากกว่า a
  • 0:58 - 1:02
    และเราเห็นผลเย้ายวน เราได้ผลลัพธ์
  • 1:02 - 1:05
    ที่ดูเย้ายวน ว่าเราจะหาขอบเขตมันได้
    ในวิดีโอที่แล้ว
  • 1:05 - 1:08
    เราเห็นว่าอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    ของความคลาดเคลื่อน
  • 1:08 - 1:12
    เท่ากับอนุพันธ์อันดับที่ n บวก 1
    ของฟังก์ชันเรา
  • 1:12 - 1:15
    หรือค่าสัมบูรณ์ของพวกมัน
  • 1:15 - 1:18
    ถ้าเราหาขอบอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 1:18 - 1:22
    ของฟังก์ชันเราบนช่วงได้ ช่วงที่เราสนใจ
  • 1:22 - 1:25
    ช่วงที่อาจมี b ในนั้น
  • 1:25 - 1:30
    แล้วอย่างน้อย เราก็หาขอบอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนได้
  • 1:30 - 1:31
    แล้ว เราอาจใช้การอินทิเกรต
  • 1:31 - 1:36
    เพื่อหาขอบเขตค่าคลาดเคลื่อนที่ค่า b ได้
  • 1:36 - 1:37
    ลองดูว่าเราทำได้ไหม
  • 1:37 - 1:40
    ลองสมมุติ ลองสมมุติว่าเราอยู่ในโลกที่
  • 1:40 - 1:44
    เรารู้อะไรบางอย่างเกี่ยวกับอนุพันธ์
    อันดับ n บวก 1 ของ f ของ x
  • 1:44 - 1:46
    สมมุติว่าเรารู้ว่าตัวนี้
  • 1:46 - 1:49
    เราใช้สีที่ผมยังไม่ได้ใช้
  • 1:49 - 1:51
    ผมจะใช้สีขาวนะ
  • 1:51 - 1:55
    สมมุติว่าตัวนี่ตรงนี้เป็นแบบนั้น
  • 1:55 - 1:59
    นั่นคือ f อนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 1:59 - 2:00
    อนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 2:00 - 2:04
    และผมสนใจแค่ช่วงนี่ตรงนี้
  • 2:04 - 2:06
    ใครจะสนเทอมอื่น ผมแค่หาขอบบนช่วง
  • 2:06 - 2:10
    เพราะสุดท้าย ผมอยากได้ค่า b ตรงนี้
  • 2:10 - 2:13
    สมมุติว่าค่าสัมบูรณ์ของตัวนี้
  • 2:13 - 2:14
    สมมุติว่าเรารู้
  • 2:14 - 2:17
    ขอผมเขียนมันตรงนี้นะ สมมุติว่าเรารู้
  • 2:19 - 2:24
    เรารู้ว่าค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    อันดับ n บวก 1
  • 2:24 - 2:27
    โทษที ผมเปลี่ยนไปมาระหว่าง N ใหญ่
  • 2:27 - 2:28
    กับ n เล็ก ผมทำอย่างนั้นไปในวิดีโอก่อน
  • 2:28 - 2:30
    ผมไม่ควรทำ แต่ตอนนี้คุณรู้แล้ว
  • 2:30 - 2:32
    ผมเผลอทำไป หวังว่าคุณคงไม่งงแล้วนะ
  • 2:32 - 2:35
    n บวก 1, แล้วสมมุติว่าเรารู้
    อนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 2:35 - 2:40
    ของ f ของ x, ค่าสัมบูรณ์ของมัน
    สมมุติว่ามันมีขอบเขต
  • 2:40 - 2:43
    สมมุติว่ามันน้อยกว่าเท่ากับ M
  • 2:43 - 2:45
    บนช่วงนั้น เพราะเราสนใจเฉพาะช่วงนั้น
  • 2:45 - 2:48
    มันอาจไม่มีขอบเขตโดยทั่วไป แต่ที่เรา
  • 2:48 - 2:50
    สนใจคือมันมีค่าสูงสุดในช่วงนี้
  • 2:50 - 2:57
    บนช่วง x ผมเขียนแบบนี้ได้
  • 2:57 - 3:04
    บนช่วง x เป็นสมาชิกระหว่าง a กับ b
    มันจึงรวมสองตัวนี้ด้วย
  • 3:04 - 3:06
    มันเป็นช่วงปิด x เป็น a ได้
  • 3:06 - 3:10
    x เป็น b ได้ หรือ x เป็นอะไรตรงกลางก็ได้
  • 3:10 - 3:12
    และเราบอกได้ว่า โดยทั่วไป
  • 3:12 - 3:15
    อนุพันธ์นี้จะมีค่าสูงสุด
  • 3:15 - 3:20
    นี่คือ ค่าสัมบูรณ์ ค่าสูงสุด ค่าสูงสุด
    M แทน max
  • 3:20 - 3:24
    เรารู้ว่ามันจะมีค่าสูงสุด ถ้าตัวนี้ต่อเนื่อง
  • 3:24 - 3:27
    ย้ำอีกครั้ง เราจะสมมุติว่ามันต่อเนื่อง
  • 3:27 - 3:31
    และมันมีค่าสูงสุดบนช่วงนี่ตรงนี้
  • 3:31 - 3:35
    พจน์นี้ พจน์นี่ตรงนี้ เรารู้ว่า
  • 3:35 - 3:39
    เท่ากับอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 3:39 - 3:46
    แล้วเรารู้ว่า จากนั้น มันสื่อว่า มันสื่อว่า
  • 3:46 - 3:52
    มันสื่อวา ใช้สีใหม่นะ
    ขอผมใช้สีฟ้า หรือสีเขียวนั่น
  • 3:52 - 3:59
    มันสื่อว่า อนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 3:59 - 4:00
    ค่าสัมบูรณ์ของมัน เนื่องจาก
  • 4:00 - 4:05
    มันเท่ากัน มันจะมีขอบเขตเป็น M
  • 4:05 - 4:08
    นั่นเป็นผลที่น่าสนใจ แต่มันไม่ได้พาเราไปไหน
  • 4:08 - 4:11
    มันอาจดูคล้ายกัน แต่นี่คืออนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 4:11 - 4:14
    และ เราะจต้องคิดว่าเราหา M ได้อย่างไรต่อไป
  • 4:14 - 4:16
    เราสมมุติว่าเรารู้ค่ามันและ
  • 4:16 - 4:19
    เราจะทำตัวอย่างที่เราหาค่ามันจริงๆ
  • 4:19 - 4:20
    แต่นี่คืออนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 4:20 - 4:22
    เราให้ขอบเขตค่าสัมบูรณ์ของมัน แต่เรา
  • 4:22 - 4:24
    อยากได้ขอบเขตค่าฟังก์ชันคลาดเคลื่อนจริงๆ
  • 4:24 - 4:28
    อนุพันธ์อันดับ 0 ก็คือตัวฟังก์ชันเอง
  • 4:28 - 4:31
    สิ่งที่เราลองทำได้
    คืออินทิเกรตทั้งสองข้างแล้วดู
  • 4:31 - 4:35
    ว่าเราได้ E, ได้ E ของ x ไหม
  • 4:35 - 4:38
    ลองนำฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน หรือ
    ฟังก์ชันเศษเหลือมาลองทำดู
  • 4:38 - 4:44
    ลองหาอินทิกรัล ลองหาอินทิกรัลทั้งสองข้างนี้
  • 4:44 - 4:46
    ทีนี้ อินทิกรัลทางซ้ายมือ มันน่าสนใจนิดหน่อย
  • 4:46 - 4:48
    เราหาอินทิกรัลของค่าสัมบูรณ์
  • 4:48 - 4:52
    มันจะง่ายว่าถ้าเราหาค่าสัมบูรณ์ของอินทิกรัล
  • 4:52 - 4:54
    โชคดี วิธีที่มันเป็น
  • 4:54 - 4:56
    ขอผมเขียนไว้ข้างๆ นะ
  • 4:56 - 4:59
    เรารู้โดยทั่วไปว่า ถ้าผมหา --
    คุณควรลองคิดดู
  • 4:59 - 5:03
    ถ้าผมหา ถ้าผมมีตัวเลือกสองอย่าง ถ้าผมมี
  • 5:03 - 5:09
    ตัวเลือกสองย่าง อันนี้กับ
    ไม่รู้สิ พวกมันดูเหมือนกัน
  • 5:11 - 5:13
    ผมรู้ว่ามันดูเหมือนกันตอนนี้
  • 5:13 - 5:16
    ตรงนี้ ผมจะมีอินทิกรัลของค่าสัมบูรณ์
  • 5:16 - 5:20
    และตรงนี้ ผมจะมีค่าสัมบูรณ์ของอินทิกรัล
  • 5:20 - 5:24
    ตัวไหนจะ ตัวไหนจะมากกว่า?
  • 5:24 - 5:27
    คุณแค่ต้องคิดถึงกรณีต่างๆ
  • 5:27 - 5:30
    ถ้า f ของ x เป็นบวกบนช่วงที่
  • 5:30 - 5:33
    คุณอินทิเกรต พวกมันจะเท่ากัน
  • 5:33 - 5:35
    คุณจะได้ค่าบวก
  • 5:35 - 5:37
    หาค่าสัมบูรณ์ของค่าบวก
  • 5:37 - 5:38
    มันไม่ต่างกัน
  • 5:38 - 5:41
    มันจะต่างถ้า f ของ x เป็นลบ
  • 5:41 - 5:44
    ถ้า f ของ x, ถ้า f ของ x เป็นลบ
  • 5:44 - 5:48
    ตลอดเวลา แล้วถ้าแกน x ของเรา นั่นคือแกน y
  • 5:48 - 5:51
    ถ้า f ของ x เราเห็นว่าถ้ามันเป็นบวก
  • 5:51 - 5:55
    ตลอดเวลา คุณจะหาค่าสัมบูรณ์ของค่าบวก
    ค่าสัมบูรณ์ของค่าบวก
  • 5:55 - 5:56
    มันจะไม่สำคัญ
  • 5:56 - 5:58
    สองตัวนี้จะเท่ากัน
  • 5:58 - 6:01
    ถ้า f ของ x เป็นลบตลอดเวลา แล้วคุณจะ
  • 6:01 - 6:05
    ได้ อินทิกรัลนี้จะหาค่าได้ค่าลบ
  • 6:05 - 6:07
    แล้วคุณหาค่าสัมบูรณ์ของมัน
  • 6:07 - 6:10
    แล้วตรงนี้ คุณจะได้ นี่คือ อินทิกรัลจะ
  • 6:10 - 6:13
    มีค่าบวก และมันยังเท่าเดิม
  • 6:13 - 6:15
    กรณีที่น่าสนใจคือเมื่อ f ของ x
  • 6:15 - 6:19
    มีทั้งบวกและลบ คุณนึกภาพกรณีแบบนี้ได้
  • 6:19 - 6:23
    ถ้า f ของ x เป็นแบบนั้น แล้ว
  • 6:23 - 6:26
    ค่านี่ตรงนี้ อินทิกรัล คุณจะได้บวก
  • 6:26 - 6:29
    อันนี้จะเป็นบวก แล้วอันนี้จะเป็นลบตรงนี้
  • 6:29 - 6:31
    แล้วพวกมันก็หักล้างกัน
  • 6:31 - 6:32
    อันนี้มีค่าน้อยลงกว่า
  • 6:32 - 6:36
    ถ้าคุณหาอินทิกรัลของค่าสัมบูรณ์
  • 6:36 - 6:39
    อินทิกรัล ค่าสัมบูรณ์ของ f จะเป็นแบบนี้
  • 6:39 - 6:42
    พื้นที่ทั้งหมดจะเป็น ถ้าคุณมอง
  • 6:42 - 6:43
    อินทิกรัล ถ้าคุณมองอันนี้ มันจะ
  • 6:43 - 6:45
    เป็นอินทิกรัลจำกัดเขตแน่นอน
  • 6:45 - 6:48
    พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ทั้งหมดจะเป็นบวก
  • 6:48 - 6:50
    คุณก็จะ คุณจะได้
  • 6:50 - 6:53
    ค่ามากกว่า ตอนคุณหาอินทิกรัลของค่าสัมบูรณ์
  • 6:53 - 6:55
    คุณจะได้ค่ามากกว่า ยิ่งถ้า f ของ x
  • 6:55 - 6:57
    มีค่าทั้งบวกและลบบนช่วง
  • 6:57 - 7:02
    เทียบกับตอนที่คุณหาอินทิกรัลก่อน
    แล้วค่อยหาค่าสัมบูรณ์
  • 7:02 - 7:04
    เพราะ ย้ำอีกที ถ้าคุณหาอินทิกรัลก่อน
    สำหรับฟังก์ชันแบบนี้
  • 7:04 - 7:07
    คุณจะได้ค่าน้อยลงเพราะตัวนี้จะหักล้าง
  • 7:07 - 7:10
    จะหักล้างกับตัวนี่ตรงนี้ แล้วคุณ
  • 7:10 - 7:13
    หาค่าสัมบูรณ์ของค่าน้อย
    จำนวนที่มีขนาดน้อยลง
  • 7:13 - 7:16
    และโดยทั่วไป อินทิกรัล
  • 7:16 - 7:18
    อินทิกรัล โทษที ค่าสัมบูรณ์ของอินทิกรัล
  • 7:18 - 7:23
    จะน้อยกว่าเท่ากับอินทิกรัลของค่าสัมบูรณ์
  • 7:23 - 7:25
    เราจึงบอกได้ว่า ค่านี่ตรงนี้คืออินทิกรัลของ
  • 7:25 - 7:28
    ค่าสัมบูรณ์ ซึ่งมากกว่าเท่ากับ
  • 7:28 - 7:30
    สิ่งที่เราเขียนตรงนี้ก็แค่ตัวนี้
  • 7:30 - 7:32
    มันจะมากกว่าเท่ากับ และคุณจะเห็น
  • 7:32 - 7:35
    ว่าทำไมผมถึงทำอันนี้เร็วๆ นี้
  • 7:35 - 7:40
    มากกว่าเท่ากับค่าสัมบูรณ์ ค่าสัมบูรณ์
  • 7:40 - 7:46
    ของอินทิกรัลของ ของอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 7:46 - 7:49
    อนุพันธ์อันดับ n บวก 1 ของ x, dx
  • 7:49 - 7:51
    สาเหตุที่มันมีประโยชน์ คือว่า เรายังเก็บ
  • 7:51 - 7:55
    อสมการนั้นไว้ได้ น้อยกว่าเท่ากับค่านี้
  • 7:55 - 7:59
    แต่ตอนนี้ มันเป็นอินทิกรัลที่หาค่าได้ตรงๆ แล้ว
  • 7:59 - 8:01
    ปฏิยานุพันธ์ของอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
  • 8:01 - 8:04
    จะเท่ากับอนุพันธ์อันดับที่ n
  • 8:04 - 8:07
    ตัวนี้ ตรงนี้
  • 8:07 - 8:10
    จะเท่ากับค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับที่ n
  • 8:11 - 8:16
    ค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับที่ n
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 8:16 - 8:17
    ผมพูดว่าค่าคาดหมายไปหรือเปล่า?
  • 8:17 - 8:18
    ผมไม่ควรพูดนะ
  • 8:18 - 8:19
    เห็นไหม ผมยังงงเลย
  • 8:19 - 8:20
    นี่คือฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 8:20 - 8:22
    ผมควรใช้ R, R แทน remainder เศษเหลือ
  • 8:22 - 8:23
    แต่นี่ก็คือค่าคลาดเคลื่อน
  • 8:23 - 8:25
    ไม่เกี่ยวกับความน่าจะเป็น
    หรือค่าคาดหมายในวิดีโอนี้
  • 8:25 - 8:26
    นี่คือ
  • 8:26 - 8:27
    E แทนค่าคลาดเคลื่อน
  • 8:27 - 8:30
    เอาล่ะ มันจะเท่ากับ อนุพันธ์อันดับที่ n ของ
  • 8:30 - 8:33
    ฟังก์ชันคลาดเคลื่อน ซึ่งน้อยกว่าเท่ากับค่านี้
  • 8:33 - 8:37
    ซึ่งน้อยกว่าเท่ากับปฏิยานุพันธ์ของ M
  • 8:37 - 8:39
    นั่นคือค่าคงที่
  • 8:39 - 8:43
    มันจะเท่ากับ Mx, Mx
  • 8:43 - 8:44
    เพราะเราหาอินทิกรัลไม่จำกัดเขต
  • 8:44 - 8:48
    เราอย่าลืมว่าเรามีค่าคงที่ตรงนี้
  • 8:48 - 8:50
    และโดยทั่วไป เวลาคุณพยายามหาขอบบน
  • 8:50 - 8:52
    คุณอยากให้มันเป็นขอบบน
    ที่น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
  • 8:52 - 8:57
    เราอยากให้ค่าน้อยที่สุด เราอยากให้
    ค่าคงที่นี้น้อยที่สุด
  • 8:57 - 9:00
    โชคดี เรารู้ ว่าฟังก์ชันนี้
  • 9:00 - 9:04
    คืออะไร ค่าฟังก์ชันนี้เป็นเท่าใดตรงจุดนั้น
  • 9:04 - 9:08
    เรารู้ว่าอนุพันธ์อันดับ n
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนที่ a เท่ากับ 0
  • 9:08 - 9:10
    ผมว่าผมเขียนมันตรงนี้นะ
  • 9:10 - 9:12
    อนุพันธ์อันดับ n ที่ a เท่ากับ 0
  • 9:12 - 9:15
    และนั่นเป็นเพราะอนุพันธ์อันดับ n
    ของฟังก์ชันและ
  • 9:15 - 9:20
    ค่าประมาณที่ a จะเท่ากันพอดี
  • 9:20 - 9:23
    แล้ว ถ้าเราหาค่าทั้งสองข้างนี้ที่ a ผมจะ
  • 9:23 - 9:27
    ทำตรงนี้ข้างๆ เรารู้ค่าสัมบูรณ์นั้น
  • 9:27 - 9:32
    เรารู้ค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับ n ที่ a เรารู้
  • 9:32 - 9:35
    ว่าตัวนี้จะเท่ากับค่าสัมบูรณ์ของ 0
  • 9:35 - 9:35
    ซึ่งก็คือ 0
  • 9:35 - 9:38
    ซึ่งต้องน้อยกว่าเท่ากับ เมื่อคุณหาค่านี้
  • 9:38 - 9:43
    ที่ a ซึ่งน้อยกว่าเท่ากับ Ma บวก c
  • 9:43 - 9:45
    แล้วคุณได้ ถ้าคุณดูส่วนนี้
  • 9:45 - 9:48
    ของอสมการ คุณลบ Ma จากทั้งสองด้าน
  • 9:48 - 9:51
    คุณจะได้ลบ Ma น้อยกว่าเท่ากับ c
  • 9:51 - 9:54
    ค่าคงที่ของเราตรงนี้ จากเงื่อนไข
  • 9:54 - 9:56
    ที่เราได้จากวิดีโอที่แล้ว
  • 9:56 - 10:01
    ค่าคงที่จะมากกว่าเท่ากับลบ Ma
  • 10:01 - 10:04
    ถ้าเราอยากให้ค่าคงที่น้อยที่สุด
    ถ้าเราอยากได้ขอบค่าน้อย
  • 10:04 - 10:08
    ที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
    เราก็เลือก c เท่ากับลบ Ma
  • 10:08 - 10:10
    นั่นคือ c ที่น้อยที่สุดที่
  • 10:10 - 10:13
    ตรงตามเงื่อนไขเหล่านี้ ที่เรารู้ว่าเป็นจริง
  • 10:13 - 10:17
    เราจะเลือก c ให้เป็นลบ Ma
  • 10:17 - 10:19
    แล้วเราเขียนทั้งหมดนี้ใหม่ได้เป็น
  • 10:19 - 10:23
    ค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับที่ n
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 10:23 - 10:25
    อนุพันธ์อันดับ n ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 10:25 - 10:26
    ไม่ใช่ค่าคาดหมายนะ
  • 10:26 - 10:28
    ผมสงสัยว่าผมหลุดพูดว่า ค่าคาดหมายไป
  • 10:28 - 10:30
    แต่นี่คือฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 10:30 - 10:30
    อนุพันธ์อันดับ n
  • 10:30 - 10:33
    ค่าสัมบูรณ์ของอนุพันธ์อันดับ n ของ
    ฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 10:33 - 10:39
    น้อยกว่าเท่ากับ M คูณ x ลบ a
  • 10:39 - 10:41
    ย้ำอีกครั้ง เงื่อนไขทุกอย่างเป็นจริง
  • 10:41 - 10:44
    อันนี้สำหรับ อันนี้สำหรับ x
    เป็นส่วนหนึ่งของช่วง
  • 10:44 - 10:49
    ช่วงปิดระหว่าง ช่วงปิดระหว่าง a กับ b
  • 10:49 - 10:50
    แต่ดูเหมือนว่าเราจะก้าวหน้าบ้างแล้ว
  • 10:50 - 10:53
    อย่างน้อยเราไปจากอนุพันธ์อันดับ n บวก 1
    เป็นอนุพันธ์อันดับ n
  • 10:53 - 10:55
    ลองดูว่าเราทำต่อได้ไหม
  • 10:55 - 10:58
    แนวคิดทั่วไปเหมือนเดิม
  • 10:58 - 11:00
    ถ้าเรารู้อันนี้ แล้วเรารู้ว่า
  • 11:00 - 11:01
    เราหาอินทิกรัลทั้งสองข้างได้
  • 11:01 - 11:03
    เราหาอินทิกรัลทั้งสองข้าง
  • 11:06 - 11:08
    ปฏิยานุพันธ์ทั้งสองข้างได้
  • 11:08 - 11:11
    และเรารู้จากสิ่งที่เราไปบนนี้ว่า
  • 11:11 - 11:15
    มีสิ่งที่น้อยกว่าค่านี่ตรงนี้อีก
  • 11:15 - 11:20
    ค่าสัมบูรณ์ของอินทิกรัลของค่าคาดหมาย
  • 11:20 - 11:21
    ทีนี้ [หัวเราะ] เห็นไหม ผมบอกแล้ว
  • 11:21 - 11:23
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน ไม่ใช่ค่าคาดหมาย
  • 11:23 - 11:24
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 11:24 - 11:27
    อนุพันธ์อันดับ n
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนของ x
  • 11:27 - 11:30
    อนุพันธ์อันดับ n ของฟังก์ชัน
    ค่าคลาดเคลื่อนของ x dx
  • 11:30 - 11:34
    เรารู้ว่าค่านี้น้อยกว่าเท่ากับ
    จากเหตุผลเดียวกันตรงนี้
  • 11:34 - 11:37
    และมันมีประโยชน์ เพราะมันจะเท่ากับ มันก็แค่
  • 11:37 - 11:43
    อนุพันธ์อันดับ n ลบ 1
    ของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนของ x
  • 11:43 - 11:45
    และแน่นอน เรามีค่าสัมบูรณ์ข้างนอกมัน
  • 11:45 - 11:47
    ตอนนี้ ค่านี้จะน้อยกว่าเท่ากับ
  • 11:47 - 11:48
    มันน้อยกว่าเท่ากับค่านี้ ซึ่งน้อยกว่าเท่ากับ
  • 11:48 - 11:51
    ตัวนี้ ซึ่งน้อยกว่าเท่ากับค่านี่ตรงนี้
  • 11:51 - 11:53
    ปฏิยานุพันธ์ของค่านี้ตรงนี้จะ
  • 11:53 - 11:58
    เท่ากับ M คูณ x ลบ a กำลังสองส่วน 2
  • 11:58 - 12:01
    คุณใช้การแทนที่ u ก็ได้ถ้าต้องการ
    หรือคุณบอกแค่ว่า ดูสิ
  • 12:01 - 12:04
    ฉันมีพจน์เล็กๆ ตรงนี้ อนุพันธ์ของมันเป็น 1
  • 12:04 - 12:06
    มันซ่อนอยู่ในนี้ ผมจะคิดว่ามันเป็น u ก็ได้
  • 12:06 - 12:09
    ยกกำลังค่าหนึ่ง แล้วหารด้วยเลขชี้กำลังนั้น
  • 12:09 - 12:11
    เหมือนเดิม ผมกำลังหาอินทิกรัลไม่จำกัดเขต
  • 12:11 - 12:14
    ผมจึงบอกว่าบวก c ตรงนี้
  • 12:14 - 12:17
    แต่ลองใช้เหตุผลเดียวกัน
  • 12:17 - 12:19
    ถ้าเราหาค่านี้ที่ a คุณจะได้
  • 12:19 - 12:22
    ถ้าคุณหาค่านี้ที่ ลองหาค่าทั้งสองนี้ที่ a
  • 12:22 - 12:26
    ทางซ้ายมือเมื่อหาค่าที่ a เรารู้ว่าจะเป็น 0
  • 12:26 - 12:29
    เราหาไปแล้ว ข้างบนนี้ ในวิดีโอที่แล้ว
  • 12:29 - 12:32
    คุณจึงได้ ผมจะทำตรงนี้นะ
  • 12:32 - 12:34
    คุณได้ 0 แล้วคุณหาค่าซ้ายมือของ a
  • 12:34 - 12:37
    ทางขวาของ a ถ้าคุณ ทางขวามือของ
  • 12:37 - 12:40
    ค่า a คุณจะได้ m คูณ a ลบ a กำลังสองส่วน 2
  • 12:40 - 12:45
    คุณจึงได้ 0 บวก c คุณจะได้
    0 น้อยกว่าเท่ากับ c
  • 12:45 - 12:48
    เหมือนเดิม เราทำให้ค่านี้น้อยที่สุด
  • 12:48 - 12:50
    เราอยากให้ขอบบนตรงนี้น้อยที่สุด
  • 12:50 - 12:53
    เราอยากเลือกค่า c ที่น้อยที่สุด
    ที่เรายังตรงตามเงื่อนไข
  • 12:53 - 12:57
    ค่า c น้อยที่สุดที่เป็นไปได้
    และตรงตามเงื่อนไขของเราคือ 0
  • 12:57 - 13:01
    แล้วแนวคิดทั่วไปตรงนี้คือว่า เราทำต่อได้
  • 13:01 - 13:07
    เราทำแบบเดียวกับที่เราทำไปเรื่อยๆ เรื่อยๆ
  • 13:07 - 13:10
    เราหาอินทิกรัลแบบเดิม แบบเดิมที่เรา
  • 13:10 - 13:14
    ทำมา และใช้สมบัติเดิมนี่ตรงนี้
  • 13:14 - 13:19
    จนกระทั่งเราได้ เราได้ขอบเขต
    ค่าคลาดเคลื่อนของ x
  • 13:19 - 13:22
    คุณมองเป็นอนุพันธ์อันดับ 0 ก็ได้
  • 13:22 - 13:23
    คุณก็รู้ เราจะไปจนถึง
  • 13:23 - 13:25
    อนุพันธ์อันดับ 0 ซึ่งก็คือ
    ฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อน
  • 13:25 - 13:28
    ขอบของฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนของ x จะ
  • 13:28 - 13:30
    น้อยกว่าเท่ากับ มันจะเป็นเท่าใด?
  • 13:30 - 13:32
    คุณเห็นรูปแบบตรงนี้แล้ว
  • 13:32 - 13:36
    มันจะเท่ากับ M คูณ x ลบ a
  • 13:36 - 13:39
    และเลขยกกำลัง วิธีคิดคือว่า เลขชี้กำลังนี้
  • 13:39 - 13:43
    บวกอนุพันธ์นี้จะเท่ากับ n บวก 1
  • 13:43 - 13:47
    ทีนี้ อนุพันธ์นี้เป็น 0
    เลขชี้กำลังนี้จึงเป็น n บวก 1
  • 13:47 - 13:50
    และไม่ว่าเลขชี้กำลังนี้จะเป็นเท่าใด
    คุณจะได้ ผมควร
  • 13:50 - 13:54
    ทำอย่างนั้น คุณจะได้
    n บวก 1 แฟคทอเรียลตรงนี้
  • 13:54 - 13:57
    แล้วคุณอาจบอกว่า เดี๋ยวก่อน n บวก 1
    แฟคทอเรียลนี้มาจากไหน?
  • 13:57 - 13:58
    ผมมีแค่ 2 ตรงนี้
  • 13:58 - 14:01
    ลองคิดสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อเราอินทิเกรตพจน์นี้อีกที
  • 14:01 - 14:05
    คุณจะยกกำลังค่านี้ด้วย 3 แล้วหารด้วย 3
  • 14:05 - 14:07
    ตัวส่วนของคุณจึงมี 2 คูณ 3
  • 14:07 - 14:09
    แล้วเมื่อคุณอินทิเกรตอีกที คุณจะยก
  • 14:09 - 14:11
    กำลังสี่แล้วหารด้วย 4
  • 14:11 - 14:13
    แล้วตัวส่วนของคุณจะเป็น 2 คูณ 3 คูณ 4
  • 14:13 - 14:14
    4 แฟคทอเรียล
  • 14:14 - 14:16
    ไม่ว่าคุณยกกำลังเท่าไหร่
  • 14:16 - 14:18
    ตัวส่วนจะเท่ากับเลขกำลังนั้นแฟคทอเรียล
  • 14:18 - 14:21
    แต่สิ่งที่น่าสนใจจริงๆ ตอนนี้คือว่า ถ้าเรา
  • 14:21 - 14:24
    หาค่าสูงสุดของฟังก์ชันเราได้
  • 14:24 - 14:29
    ถ้าเราหาค่าสูงสุดของฟังก์ชันตรงนี้ได้
  • 14:29 - 14:32
    ตอนนี้เรามีวิธีจำกัดค่าฟังก์ชันคลาดเคลื่อน
  • 14:32 - 14:36
    บนช่วงนั้น บนช่วงนั้นระหว่าง a กับ b
  • 14:36 - 14:40
    ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชันค่าคลาดเคลื่อนที่ b
  • 14:40 - 14:42
    เราหาขีดจำกัดได้ถ้าเรารู้ว่า M คืออะไร
  • 14:42 - 14:49
    เราบอกได้ว่า ค่าคลาดเคลื่อนที่ b
    จะน้อยกว่าเท่ากับ M คูณ
  • 14:49 - 14:57
    b ลบ a กำลัง n บวก 1
    ส่วน n บวก 1 แฟคทอเรียล
  • 14:57 - 15:00
    มันเป็นผลที่ทรงพลังจริงๆ
  • 15:00 - 15:04
    มีคณิตศาสตร์อยู่เบื้องหลัง
  • 15:04 - 15:07
    และตอนนี้เราสามารถยกตัวอย่างที่ใช้ผลนี้ได้
Title:
Proof: Bounding the Error or Remainder of a Taylor Polynomial Approximation
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
15:08

Thai subtitles

Revisions