-
ลองดูว่าเราจะหา
-
ผลคูณของ x ลบ 4 กับ x บวก 7 ได้ไหม
-
เราอยากเขียนผลคูณนั้นในรูป
พหุนามกำลังสองมาตรฐาน
-
ซึ่งก็คือวิธีพิสดารเพื่อบอกรูป
-
ที่คุณมีสัมประสิทธิ์หน้าเทอมดีกรีสอง
-
ax กำลังสองบวกสัมประสิทธิ์ b
-
ของเทอมดีกรีหนึ่ง บวกเทอมคงที่
-
พจน์ตรงนี้คือรูปพหุนามกำลังสองมาตรฐาน
-
นั่นคือรูปที่เราอยากเขียนผลคูณนี้
-
ผมแนะนำให้คุณหยุดวิดีโอ
-
แล้วลองคิดเองก่อน
-
เอาล่ะ ลองทำไปด้วยกันนะ
-
ประเด็นเวลาเราคูณทวินามสองตัวอย่างนี้
-
หรือเวลาคุณคูณพหุนามใดๆ
-
คือให้นึกถึงสมบัติการแจกแจง
-
และเราทุกคนถึงตอนนี้ก็รู้ดีแล้ว
-
สิ่งที่เรามองนี้คือ
-
เราแจกแจง x ลบ 4 นี้ได้
-
พจน์ทั้งหมดนี้ x กับ 7
-
เราบอกได้ว่า อันนี้เท่ากับ
-
x ลบ 4 คูณ x
-
บวก x ลบ 4 คูณ 7
-
ลองเขียนมันลงไป
-
x ลบ 4 คูณ x หรือเราเขียนอันนี้
-
ได้ว่า x คูณ x ลบ 4
-
นั่นคือการแจกแจง หรือการคูณ x ลบ 4 กับ x
-
นั่นคือตรงนั้น
-
บวก 7 คูณ x ลบ 4
-
คูณ x ลบ 4
-
สังเกตว่าที่เราทำ คือแจกแจง x ลบ 4
-
เรานำทั้งหมดนี้มา แล้วเราคูณมัน
-
แต่ละเทอมตรงนี้
-
เราคูณ x ด้วย x ลบ 4
-
แล้วเราคูณ 7 ด้วย x ลบ 4
-
ทีนี้ เราเห็นว่าเรามีพวกนี้
-
คุณจะเรียกว่าสองเทอมแยกกันก็ได้
-
เพื่อเขียนแต่ละตัวให้ง่ายลง
หรือเพื่อคูณพวกมันออกมา
-
เราต้องแจกแจง
-
ในตัวแรกนี้ เราจะต้องแจกแจง x สีฟ้านี้
-
และตรงนี้ เราต้องแจกแจง 7 สีฟ้านี้
-
ลองทำกันดู
-
ตรงนี้ เราบอกได้ว่า x คูณ x
จะเท่ากับ x กำลังสอง
-
x คูณ เรามีลบ 3 ตรงนี้
-
เราก็บอกได้ว่าลบ 4 จะเป็นลบ 4x
-
แล้ว เราได้ x กำลังสองลบ 4x
-
แล้วตรงนี้ เรามี 7 คูณ x
-
มันจะเท่ากับบวก 7x
-
แล้วเรามี 7 คูณลบ 4
-
ซึ่งก็คือลบ 28
-
และเราก็ใกล้เสร็จแล้ว
-
เราจัดรูปต่อได้อีกหน่อย
-
เรามีเทอมดีกรีหนึ่งสองตัวตรงนี้
-
ถ้าผมมี x อยู่ลบ 4 ตัวแล้วผมเพิ่ม x ไป 7 ตัว
-
มันจะเท่ากับอะไร?
-
สองเทอมนี้รวมกัน
-
สองเทอมนี้รวมกันจะ
-
เป็น x จำนวนลบ 4 บวก 7 ตัว
-
ลบ 4 บวก, บวก 7
-
x ลบ 4 บวก 7 ตัว
-
ที่ผมทำตรงนี้ ผมกำลังเขียนให้ชัด
-
ว่าผมกำลังบวกสัมประสิทธิ์สองตัวนี้
-
แล้วผมมีเทอมอื่นทั้งหมด
-
เราได้ x กำลังสอง
-
x กำลังสองบวกตัวนี้ แล้วเราได้
-
แล้วเราได้ลบ
-
แล้วเราได้ลบ 28
-
แล้วเราก็ถึงเส้นชัยแล้ว!
-
อันนี้กลายเป็น x กำลังสอง
-
ทีนี้ ลบ 4 บวก 7 เป็น 3
-
อันนี้จะเท่ากับบวก 3x
-
นั่นคือสิ่งที่เทอมกลางสองตัวลดรูปไป เป็น 3x
-
แล้วเรามีลบ 28
-
ลบ 28
-
อย่างนั้น เราเสร็จแล้ว!
-
และเรื่องสนุกชวนคิด
เนื่องจากมันอยู่ในรูปเดียวกัน
-
ถ้าเราเปรียบเทียบ a เป็น 1
-
b เป็น 3 และ c เป็นลบ 28
-
แต่มันน่าสนใจถ้าดูรูปแบบ
-
เวลาเราคูณทวินามสองตัวนี้
-
โดยเฉพาะทวินามสองตัวนี้ที่สัมประสิทธิ์
-
ของเทอม x เป็น 1
-
สังเกตว่าเรามี x คูณ x
-
มันทำให้เกิดเทอม x กำลังสองตรงนี้
-
เรามีลบ 4 ขอผมใช้สีใหม่นะ
-
เรามีลบ 4 คูณ นั่นไม่ใช่สีใหม่
-
เรามี
-
เรามีลบ 4 คูณ 7
-
ซึ่งจะเท่ากับลบ 28
-
แล้วเราได้เทอมกลางมาอย่างไร?
-
เราได้ 3x นี้มาอย่างไร?
-
คุณมีลบ 4x บวก 7x
-
หรือลบ 4 บวก 7 คูณ x
-
คุณมีลบ 4 บวก 7
-
บวก 7 คูณ x
-
ผมหวังว่าคุณจะเห็นรูปแบบนิดหน่อยตรงนี้
-
ถ้าคุณคูณทวินาม 2 ตัว
-
โดยสัมประสิทธิ์ของเทอม x เป็น 1 ทั้งคู่
-
มันจะเป็น x กำลังสอง
-
แล้วเทอมสุดท้าย เทอมคงที่
-
จะเท่ากับผลคูณของค่าคงที่สองตัวนี้
-
ลบ 4 กับ 7
-
แล้วเทอมดีกรีหนึ่งตรงนี้
-
สัมประสิทธิ์ของมันจะเท่ากับผลบวก
-
ของค่าคงที่สองตัวนี้ ลบ 4 กับ 7
-
ทีนี้ อันนี้ คุณทำได้
-
รูปแบบนี้ ถ้าคุณฝึก
-
มันเป็นสิ่งที่ช่วยให้คุณ
-
คูณทวินามได้เร็วขึ้นหน่อย
-
แต่สิ่งสำคัญยิ่งคือว่า
-
คุณรู้ว่ามันมาจากไหน
-
อันนี้ไม่ได้มาจากไหน แค่
-
ใช้สมบัติการแจกแจงสองครั้ง