< Return to Video

ตัวอย่างการหาอนุพันธ์โดยออมของตรีโกณฯ

  • 0:00 - 0:00
    -
  • 0:00 - 0:04
    ผมถูกร้องขอให้หาอนุพันธ์โดยอ้อมของสมการ
  • 0:04 - 0:10
    แทนเจนต์ของ x ส่วน y เท่ากับ x บวก y
  • 0:10 - 0:14
    ผมได้ทำวิดีโอเรื่องอนุพันธ์โดยอ้อมไปหลายอันแล้ว
  • 0:14 - 0:17
    แต่นี่ดูจะเป็นที่มาความเจ็บปวดแหล่งใหญ่ที่สุด
  • 0:17 - 0:19
    อันนึงสำหรับนักเรียนแคลคูลัสปีแรก
  • 0:19 - 0:21
    งั้นผมว่าผมจะทำอย่างน้อยอีกตัวอย่างนึง
  • 0:21 - 0:23
    มันไม่ผิดที่จะเห็นให้มากเท่าที่จะทำได้
  • 0:23 - 0:24
    งั้นลองทำอันนี้กัน
  • 0:24 - 0:27
    ในการหาอนุพันธ์โดยอ้อมของอันนี้ เราก็แค่ใช้
  • 0:27 - 0:29
    โอเปอเรเตอร์อนุพันธ์เทียบกับ x ทั้งสองข้าง
  • 0:29 - 0:30
    ของสมการ
  • 0:30 - 0:33
    อนุพันธ์ของนี่เทียบกับ x-- อนุพันธ์
  • 0:33 - 0:35
    ทางซ้ายมือเทียบกับ x ก็เหมือนกับ
  • 0:35 - 0:41
    อนุพันธ์ของทางขวามือเทียบกับ x
  • 0:41 - 0:43
    ทางขวานี่จะตรงไปตรงมา แต่
  • 0:43 - 0:45
    ทางซ้ายจะมีกลเม็ดหน่อย
  • 0:45 - 0:47
    งั้นลองทำด้านข้างตรงนี้
  • 0:47 - 0:52
    ขอผมเขียนทางซ้ายมือต่างออกไปหน่อย
  • 0:52 - 0:53
    ผมจะทำมันด้วยอีกสีนึง
  • 0:53 - 1:00
    ขอผมบอกว่า a เท่ากับแทนเจนต์ของ b
  • 1:00 - 1:09
    และขอผมเรียก b เท่ากับ x ส่วน y
  • 1:09 - 1:12
    แล้ว a แน่นอนว่าเหมือนกัน
  • 1:12 - 1:15
    ผมหมายถึง หากผมแทนค่า b กลับลงในนี่ a ก้อน
  • 1:15 - 1:18
    นี้ทั้งหมดผมสามารถเขียนมันใหม่แค่ a
  • 1:18 - 1:21
    งั้นหากเราหาอนุพันธ์ของ a เทียบกับ
  • 1:21 - 1:24
    x นั่นสิ่งที่เราอยากทำตรงนี้
  • 1:24 - 1:27
    ขอผมหาอนุพันธ์ของทั้งสองข้างของอันนี้
  • 1:27 - 1:36
    นี่จะเท่ากับอนุพันธ์ของ a เทียบกับ x เท่ากับ
  • 1:36 - 1:39
    อนุพันธ์ของ x เทียบกับ x
  • 1:39 - 1:41
    นั่นก็ตรงไปตรงมา มันคือ 1
  • 1:41 - 1:44
    บวกอนุพันธ์ของ y เทียบกับ x
  • 1:44 - 1:45
    งั้นขอผมเขียนมันอย่างนี้นะ
  • 1:45 - 1:49
    ผมจะเขียนโอเปอเรเตอร์ของอนุพันธ์ อนุพันธ์
  • 1:49 - 1:54
    ของ y เทียบกับ x
  • 1:54 - 1:54
    นั่นคือสิ่งที่เราทำทั้งหมด
  • 1:54 - 1:57
    เราแค่ใช้โอเปอเรเตอร์อนุพันธ์กับ y และเราไม่
  • 1:57 - 1:59
    รู้ว่านี่มันคืออะไร เรากำลังจะแก้หามัน
  • 1:59 - 2:01
    แต่แน่นอน ผมไม่อาจปล่อยอันนี้ไว้อย่างนี้ อนุพันธ์
  • 2:01 - 2:02
    ของ a เทียบกับ x
  • 2:02 - 2:05
    เราแค่แก้หา a และ a ก็แค่อันนี้
  • 2:05 - 2:06
    ตรงนี้ จริงไหม?
  • 2:06 - 2:09
    a คือแทนเจนต์ของ b และ b ก็แค่ y ส่วน x
  • 2:09 - 2:12
    สาเหตุที่ผมเขียนมันอย่างนี้ เพราะผมอยากแสดง
  • 2:12 - 2:15
    ให้คุณเห็นว่า ตอนคุณหาอนุพันธ์ของอันนี้ มันก็
  • 2:15 - 2:16
    แค่มาจากกฏลูกโซ่
  • 2:16 - 2:19
    มันไม่ใช่มนตร์หมอผีที่คุณไม่
  • 2:19 - 2:20
    เคยเรียนมาก่อน
  • 2:20 - 2:22
    ดังนั้นอนุพันธ์ -- ขอผมเขียนกฏลูกโซ่
  • 2:22 - 2:24
    ลงไปตรงนี้นะ
  • 2:24 - 2:31
    อนุพันธ์ของ a เทียบกับ x เท่ากับ
  • 2:31 - 2:35
    อนุพันธ์ของ a เทียบกับ b คูณ อนุพันธ์ของ
  • 2:35 - 2:38
    b เทียบกับ x
  • 2:38 - 2:40
    นั่นก็แค่กฏลูกโซ่ และมันจำง่ายมาก
  • 2:40 - 2:43
    เพราะ db ตัดกัน แล้วก็เหลือแค่
  • 2:43 - 2:46
    อนุพันธ์ของ a เทียบกับ x หากคุณทำเหมือนว่า
  • 2:46 - 2:47
    มันเป็นเศษส่วนธรรมดา
  • 2:47 - 2:50
    แล้วอนุพันธ์ของ a เทียบกับ b คืออะไร?
  • 2:50 - 2:55
    -
  • 2:55 - 3:02
    นั่นก็แค่ 1 ส่วนโคไซน์กำลังสองของ b
  • 3:02 - 3:04
    และหากคุณจำไม่ได้ มันก็ไม่ได้ยากนัก
  • 3:04 - 3:07
    ที่จะพิสูจน์ด้วยตัวเอง หากคุณเขียนมันเป็น ไซน์
  • 3:07 - 3:11
    ของ b ส่วนโคไซน์ของ b แต่นี่เป็นหนึ่งในอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
  • 3:11 - 3:12
    ตรีโกณมิติที่คนส่วนใหญ่เลือกจำ
  • 3:12 - 3:14
    ผมว่าผมได้ทำวิดีโอพิสูจน์มันไปแล้ว
  • 3:14 - 3:17
    และหนังสือบางเล่ม ยังเขียนนี่เป็นเซกแคนต์กำลังสองของ b แต่เรา
  • 3:17 - 3:19
    รู้ว่าเซกแคนต์กำลังสอง ก็เหมือนกับ 1 ส่วน
  • 3:19 - 3:20
    โคไซน์กำลังสองนั่นเอง
  • 3:20 - 3:25
    ผมชอบเขียนมันในรูปของฟังก์ชันตรีโกณฯ พื้นฐาน
  • 3:25 - 3:27
    หรืออัตราส่วนตรีโกณฯ แทนที่จะเป็นพวกเซกแกนต์
  • 3:27 - 3:28
    หรือโคเซกแคนต์
  • 3:28 - 3:31
    แล้วอนุพันธ์ของ b เทียบกับ x คืออะไร?
  • 3:31 - 3:37
    -
  • 3:37 - 3:38
    นี่ก็น่าสนใจทีเดียว
  • 3:38 - 3:40
    ขอผมเขียน b ใหม่นะ
  • 3:40 - 3:46
    ขอผมเขียน b เท่ากับ x คูณ y กำลังลบ 1
  • 3:46 - 3:49
    แล้วอนุพันธ์ของ b เทียบกับ x เราสามารถ
  • 3:49 - 3:50
    ใช้กฏลูกโซ่ได้หน่อยตรงนี้
  • 3:50 - 3:54
    เราอาจบอกว่า -- ขอผมเขียนนี่นะ -- อนุพันธ์ของ b
  • 3:54 - 3:58
    เทียบกับ x เท่ากับ อนุพันธ์ของ x คูณ
  • 3:58 - 3:59
    y กำลังลบ 1
  • 3:59 - 4:01
    แล้วอนุพันธ์ของ x คือ 1
  • 4:01 - 4:07
    คูณ y กำลังลบ 1 บวก อนุพันธ์ของ y -- งั้น
  • 4:07 - 4:08
    ขอผมเขียนแบบนี้นะ
  • 4:08 - 4:12
    บวกอนุพันธ์เทียบกับ x ของ y
  • 4:12 - 4:18
    กำลังลบ 1 คูณเทอมแรก คูณ x
  • 4:18 - 4:20
    งั้นสิ่งนี้ตรงนี้ และแน่นอนผมยังไม่ได้
  • 4:20 - 4:21
    จัดรูปมันเลย
  • 4:21 - 4:23
    ผมยังต้องหาว่าสิ่งนี้คืออะไรตรงนี้
  • 4:23 - 4:25
    แต่ผมจะจัดรูปการใช้กฏผลคูณตรงนี้
  • 4:25 - 4:28
    อนุพันธ์ของเทอมแรก อนุพันธ์ของ x คือ 1
  • 4:28 - 4:30
    คูณ เทอมที่สอง บวก อนุพันธ์ของเทอมที่สอง
  • 4:30 - 4:31
    คูณเทอมแรก
  • 4:31 - 4:33
    นั่นคือที่ผมทำไป
  • 4:33 - 4:35
    งั้นอนุพันธ์ของ b เทียบกับ x ก็แค่
  • 4:35 - 4:37
    สิ่งนี้ตรงนี้
  • 4:37 - 4:42
    ดังนั้นมันเท่ากับ -- ขอผมเขียนด้วยสีเหลืองนะ -- งั้นมันก็คูณ --
  • 4:42 - 4:44
    โอ้ ผมจะใช้สีฟ้าเพราะผมเขียนไปแล้ว
  • 4:44 - 4:47
    นี่คือสีฟ้า อนุพันธ์ของ b เทียบกับ x คือ y กำลัง
  • 4:47 - 4:53
    ลบ 1 หรือ 1 ส่วน y บวก อนุพันธ์เทียบกับ
  • 4:53 - 5:00
    x ของ 1 ส่วน y คูณ x
  • 5:00 - 5:01
    งั้นขอผมเขียนมันลงตรงนี้นะ
  • 5:01 - 5:04
    เราเพิ่งหาได้ หรือเราเกือบหาได้
  • 5:04 - 5:07
    แล้วว่า อนุพันธ์ของ a เทียบกับ x คืออะไร และเรา
  • 5:07 - 5:08
    สามารถโยนนั่นลงไป
  • 5:08 - 5:09
    และเรายังไม่เสร็จ
  • 5:09 - 5:12
    อนุพันธ์ของ 1 ส่วน y เทียบกับ x คืออะไร?
  • 5:12 - 5:15
    เราต้องใช้กฏลูกโซ่อีกรอบ
  • 5:15 - 5:18
    -
  • 5:18 - 5:19
    และผมอยากทำให้กระจ่างตรงนี้
  • 5:19 - 5:22
    ผมรู้ว่ามันอาจดูอืดอาดที่ผมทำตรงนี้
  • 5:22 - 5:24
    แต่ผมว่ามันช่วยให้เข้าใจมากขึ้น
  • 5:24 - 5:28
    ขอผมกำหนด c เท่ากับ 1 ส่วน y
  • 5:28 - 5:33
    งั้นอนุพันธ์ของ c เทียบกับ x แค่ใช้กฏ
  • 5:33 - 5:36
    ลูกโซ่ จะเท่ากับอนุพันธ์ของ c เทียบกับ
  • 5:36 - 5:40
    y คูณอนุพันธ์ของ y เทียบกับ x
  • 5:40 - 5:43
    แล้วอนุพันธ์ของ c เทียบกับ y เป็นเท่าไหร่?
  • 5:43 - 5:45
    ทีนี้ นี่ก็เหมือนกับ -- ผมสามารถเขียนนี่ใหม่
  • 5:45 - 5:46
    ว่า y กำลังลบ 1
  • 5:46 - 5:51
    ดังนั้นมันคือ ลบ y ยกกำลังลบ 2
  • 5:51 - 5:53
    นั่นคือสิ่งที่อยู่ตรงนี้
  • 5:53 - 5:56
    สิ่งนี้คืออันนั้นตรงนั้น
  • 5:56 - 5:57
    แต่ผมไม่รู้ว่าอนุพันธ์ของ y เทียบ
  • 5:57 - 5:58
    กับ x คืออะไร
  • 5:58 - 6:00
    นั่นคือสิ่งที่เราพยายามแก้หา
  • 6:00 - 6:02
    งั้นนั่นก็คูณด้วยอนุพันธ์ของ y
  • 6:02 - 6:04
    เทียบกับ x
  • 6:04 - 6:05
    นั่นก็มาจากกฏลูกโซ่
  • 6:05 - 6:11
    งั้นสิ่งนี้ตรงนี้ นี่คืออนุพันธ์ของสิ่งนี้
  • 6:11 - 6:14
    เทียบกับ x ซึ่งเหมือนกับอนุพันธ์
  • 6:14 - 6:16
    ของ c เทียบกับ x
  • 6:16 - 6:19
    ดังนั้นเราก็เขียนที่ว่างเล็ก ๆ ตรงนี้ ผมสามารถ
  • 6:19 - 6:25
    เขียนที่ว่างตรงนี้ใหม่ เป็น ลบ y กำลังลบ 2 dy
  • 6:25 - 6:29
    dx แล้วก็ แน่นอน มันมี คูณ x ด้วย
  • 6:29 - 6:34
    แล้วก็เรามี บวก 1 ส่วน y และทั้งหมดนั่นคูณ
  • 6:34 - 6:38
    1 ส่วนโคไซน์กำลังสอง b
  • 6:38 - 6:41
    และตอนนี้เราได้จัดรูปมันดีขึ้นหน่อยแล้ว
  • 6:41 - 6:43
    ผมหวังว่าการอธิบายกฏลูกโซ่ไม่ทำให้คุณงงนะ
  • 6:43 - 6:45
    เพราะผมอยากให้คุณเข้าใจโจทย์อนุพันธ์
  • 6:45 - 6:48
    โดยอ้อมพวกนี้ทั้งหมด dy dx พวกนี้
  • 6:48 - 6:51
    ไม่ต้อง มันไม่ใช่กฏที่คุณต้องจำเลย
  • 6:51 - 6:53
    มันจากกฏลูกโซ่โดยธรรมชาติอยู่แล้ว
  • 6:53 - 6:57
    ดังนั้นเราแก้ da dx นั่นเท่ากับพจน์
  • 6:57 - 6:59
    นี้ตรงนี้
  • 6:59 - 7:07
    ขอผมเขียนมันหน่อย มันเท่ากับ 1 ส่วนโคไซน์กำลังสองของ b
  • 7:07 - 7:08
    แล้ว b คืออะไร?
  • 7:08 - 7:11
    ผมเขียนมันเป็น cos x ส่วน y
  • 7:11 - 7:17
    โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y คูณก้อนทั้งหมดนั่น
  • 7:17 - 7:20
    ส่วนอันนี้ คูณพวกเลอะเทอะนี่ทั้งหมด
  • 7:20 - 7:26
    1 ส่วน y บวก หรือบางทีผมควรบอกว่า ลบ ลบ -- หาก
  • 7:26 - 7:32
    ผมจัดรูปเจ้านี่ นี่ก็คือ x ส่วน y กำลังสอง คูณ dy dx
  • 7:32 - 7:37
    -
  • 7:37 - 7:39
    แล้วนั่นเท่ากับทางขวามือนี่
  • 7:39 - 7:48
    มันเท่ากับ 1 บวก dy dx
  • 7:48 - 7:51
    และทั้งหมดที่เราต้องทำ คือแก้หา dy dx
  • 7:51 - 7:54
    ขอผมทวนวิธีที่เราไปนะ
  • 7:54 - 7:56
    ผมใช้กฏลูกโซ่ในทุกขั้น แต่
  • 7:56 - 7:58
    เมื่อคุณชินแล้ว คุณก็ทำตรง
  • 7:58 - 7:59
    ลงมาได้เลย
  • 7:59 - 8:01
    วิธีที่คุณควรคิดคือว่า -- ทางขวามือ
  • 8:01 - 8:02
    ผมว่าคุณคงเข้าใจแล้ว
  • 8:02 - 8:04
    อนุพันธ์ของ x คือ 1 อนุพันธ์ของ y
  • 8:04 - 8:07
    เทียบกับ x นั่นก็แค่ dy dx
  • 8:07 - 8:09
    แต่ทางซ้ายมือ คุณหาอนุพันธ์ของ
  • 8:09 - 8:12
    ทั้งก้อนนั้นเทียบกับ x ส่วน y
  • 8:12 - 8:14
    ดังนั้น นั่นก็แค่อนุพันธ์ของแทนเจนต์ เท่ากับ 1 ส่วน
  • 8:14 - 8:15
    โคไซน์กำลังสอง
  • 8:15 - 8:19
    งั้นมันคือ 1 ส่วน โคไซน์กำลังสอง ของ x ส่วน y แล้วคุณก็คูณ
  • 8:19 - 8:24
    มันด้วยอนุพันธ์ของ x ส่วน y เทียบกับ x
  • 8:24 - 8:27
    และอนุพันธ์ของ x ส่วน y เทียบกับ x ก็คือ
  • 8:27 - 8:29
    อนุพันธ์ของ -- และมันกลายเป็นซับซ้อน นั่นคือสาเหตุที่ดี
  • 8:29 - 8:32
    ในการทำข้าง ๆ ตรงนี้ -- แต่นั่นก็คืออนุพันธ์
  • 8:32 - 8:34
    ของ x ซึ่งก็คือ 1 คูณ 1 ส่วน y
  • 8:34 - 8:40
    ซึ่งก็คือเทอมนั้น บวก อนุพันธ์ของ 1 ส่วน y เทียบ
  • 8:40 - 8:44
    กับ x ซึ่งก็คือ ลบ 1 ส่วน y กำลังสอง dy dx
  • 8:44 - 8:47
    มาจากกฏลูกโซ่ คูณ dx
  • 8:47 - 8:48
    นั่นคือสาเหตุที่ดีที่เราทำข้าง ๆ จะได้
  • 8:48 - 8:49
    ไม่ทำอะไรพลาด
  • 8:49 - 8:51
    แต่เมื่อคุณชินแล้ว คุณสามารถทำมันได้ในหัว
  • 8:51 - 8:54
    และแน่นอน นั่นเท่ากับทางขวามือ
  • 8:54 - 8:57
    จากนี้ไป มันก็แค่เลขคณิตแท้ ๆ
  • 8:57 - 8:59
    แค่แก้หา dy dx ของเรา
  • 8:59 - 9:01
    ดังนั้นที่แรกที่ควรเริ่มคือ การคูณทั้งสองข้างของ
  • 9:01 - 9:05
    สมการนี้ด้วย โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y
  • 9:05 - 9:07
    และแน่นอน นั่นจะกลายเป็น 1 ทางด้านนี้
  • 9:07 - 9:15
    และด้านซ้ายจะเป็น 1 ส่วน y ลบ x ส่วน y กำลังสอง
  • 9:15 - 9:24
    dy dx เท่ากับ -- ผมต้องคูณทั้งสองของ
  • 9:24 - 9:27
    สมการด้วยตัวส่วนนี่ตรงนี้ -- เท่ากับ
  • 9:27 - 9:33
    โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y บวก โคไซน์กำลังสองของ
  • 9:33 - 9:35
    x ส่วน y dy dx
  • 9:35 - 9:39
    -
  • 9:39 - 9:40
    ทีนี้เราทำอะไรได้
  • 9:40 - 9:44
    เราสามารถลบโคไซน์กำลังสอง ของ x ส่วน y จากทั้ง
  • 9:44 - 9:52
    สองข้างของสมการ และเราได้ 1 ส่วน y ลบ โคไซน์
  • 9:52 - 9:54
    กำลังสองของ x ส่วน y
  • 9:54 - 9:56
    ทั้งหมดที่ผมทำคือ ผมหักอันนี้จากทั้งสองข้าง
  • 9:56 - 9:58
    ของสมการ ที่สุดแล้วผมก็ย้ายมันไป
  • 9:58 - 9:59
    ทางด้านซ้ายมือ
  • 9:59 - 10:01
    ที่ผมพยายามทำคือผมพยายามแยก
  • 10:01 - 10:05
    เทอมที่ไม่มี dy dx จากเทอมที่มี dy dx
  • 10:05 - 10:07
    ผมอยากย้ายพวกเทอม dy dx มา
  • 10:07 - 10:08
    ไว้ทางขวามือ
  • 10:08 - 10:12
    งั้นขอผมเพิ่ม x ส่วน y กำลังสอง dy dx ทั้งสองข้าง
  • 10:12 - 10:17
    แล้วนั่นเท่ากับ x ส่วน y -- ขอผมเขียนมันด้วย
  • 10:17 - 10:21
    สีที่ผมเขียนมันแต่แรก
  • 10:21 - 10:21
    สีต่างกันนิดหน่อย
  • 10:21 - 10:27
    แล้วนั่นคือ x ส่วน y กำลังสอง -- ผมจะเขียน dy dx ด้วยสีส้ม
  • 10:27 - 10:34
    dy dx แล้วคุณก็มีเทอมนี้ บวกโคไซน์กำลังสอง
  • 10:34 - 10:37
    ของ x ส่วน y dy dx
  • 10:37 - 10:41
    -
  • 10:41 - 10:43
    ผมว่าเราถึงปลายทางแล้ว
  • 10:43 - 10:46
    ลองดึง dy dx ออกมาจากทางขวามือ
  • 10:46 - 10:57
    นี่เท่ากับ dy dx คูณ x ส่วน y กำลังสอง บวก
  • 10:57 - 11:01
    โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y
  • 11:01 - 11:04
    และนั่นเท่ากับสิ่งนี้ตรงนี้ มันเท่ากับ
  • 11:04 - 11:09
    1 ส่วน y ลบ โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y
  • 11:09 - 11:12
    ทีนี้เพื่อแก้หา dy dx เราแค่ต้องหารทั้งสองข้าง
  • 11:12 - 11:15
    ของสมการนี้ด้วยเทอมนี้ตรงนี้
  • 11:15 - 11:17
    แล้วเราจะได้อะไร?
  • 11:17 - 11:22
    เราได้ หากผมหารทั้งสองข้างด้วยนั่น เราได้ 1 ส่วน y
  • 11:22 - 11:27
    ลบโคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y หารด้วยก้อน
  • 11:27 - 11:29
    นี้ทั้งหมดตรงนี้
  • 11:29 - 11:36
    x ส่วน y กำลังสอง บวก โคไซน์กำลังสองของ x ส่วน y
  • 11:36 - 11:42
    เท่ากับ dy dx
  • 11:42 - 11:43
    แล้วเราก็เสร็จแล้ว
  • 11:43 - 11:46
    เราแค่ใช้กฏลูกโซ่สองสามครั้ง แล้วเราก็สามารถ
  • 11:46 - 11:51
    หาอนุพันธ์โดยอ้อมของ แทนเจนต์ของ y ส่วน x
  • 11:51 - 11:52
    เท่ากับ x บวก y
  • 11:52 - 11:56
    ส่วนที่ยากคือการเริ่มขั้นนี้ตรงนี้
  • 11:56 - 11:59
    หลังจากขั้นนี้ไป มันก็แค่เลขคณิตล้วน ๆ ในการแก้
  • 11:59 - 12:05
    หา dy dyx แล้วคุณก็ได้คำตอบตรงนี้
  • 12:05 - 12:07
    เอาล่ะ หวังว่าคุณคงเห็นประโยชน์มันนะ
Title:
ตัวอย่างการหาอนุพันธ์โดยออมของตรีโกณฯ
Description:

ตัวอย่างอนุพันธ์โดยอ้อมที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชันแทนเจนต์

more » « less
Video Language:
English
Duration:
12:08
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Trig Implicit Differentiation Example
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Trig Implicit Differentiation Example
Umnouy Ponsukcharoen added a translation

Thai subtitles

Revisions