ประวัติศาสตร์ที่ถูกลืมเลือนของโรคออทิซึ่ม
-
0:01 - 0:03หลังจากคริสต์มาสปีที่แล้ว
-
0:03 - 0:07เด็ก 132 คนในแคลิฟอร์เนียได้ติดโรคหัด
-
0:07 - 0:09จากใครคนหนึ่งที่ไปเที่ยวสวนสนุกดิสนี่แลนด์
-
0:09 - 0:12หรือได้สัมผัสกับใครบางคนที่มีเชื้อโรคหัด
ในที่แห่งนั้น -
0:12 - 0:15เชื้อไวรัสได้กระโดดข้ามพรมแดนแคนาดา
-
0:15 - 0:19ทำให้เด็กมากกว่า 100 คนในควีเบก
ติดโรคหัดไปด้วย -
0:19 - 0:22หนึ่งในเรื่องที่น่าสลดใจเกี่ยวกับ
การระบาดของโรคนี้ -
0:22 - 0:27คือการติดโรคหัดที่อาจรุนแรงปางตาย
กับเด็กที่ไม่มีระบบภูมิคุ้มกันที่อ่อนแอ -
0:27 - 0:31วิธีการหนึ่งในการป้องกันที่ง่ายที่สุด
กับเชื้อโรคในโลกนี้ -
0:31 - 0:33วัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการต่อต้านมัน
-
0:33 - 0:37มีความสามารถมากกว่าครึ่งศตวรรษแล้ว
-
0:37 - 0:40แต่เด็กจำนวนมากที่ติดโรคระบาดไข้หัดนี้
ในสวนสนุกดิสนี่แลนด์ -
0:40 - 0:42ต่างไม่เคยได้รับวัคซีน
-
0:42 - 0:44เพราะพ่อแม่พวกเขาต่างหวาดกลัว
-
0:44 - 0:47กับบางอย่างที่ถูกกล่าวหาว่าว่าเลวร้ายมาก
-
0:47 - 0:49คือโรคออทิซีม
-
0:49 - 0:53แต่เดี๋ยว แต่ไม่ใช่เอกสารนั่นหรือที่จุดไฟ
การโต้เถียงอย่างรุนแรง -
0:53 - 0:55เกี่ยวกับโรคออทิซิมและวัคซีน
-
0:55 - 0:57ถูกหักล้างความคิด ถูกถอนคำพูด
-
0:57 - 0:59ประทับตราการหลอกลวงอย่างไตร่ตรอง
-
0:59 - 1:01โดยวารสารการแพทย์ของอังกฤษ
-
1:01 - 1:03แล้วนักวิทยาศาสตร์ที่เชี่ยวชาญมีประสบการณ์
-
1:03 - 1:08รู้เรื่องทฤษฏีที่ว่าวัคซีนเป็นสาเหตุให้
เกิดโรคออทิซึมในอังกฤษหรือไม่ -
1:08 - 1:09ผมคิดว่าหลายท่านรู้
-
1:09 - 1:12แต่พ่อแม่นับล้านคนทั่วโลก
-
1:12 - 1:17ยังหวาดวิตกอย่างต่อเนื่องเรื่องวัคซีน
ทำให้ลูก ๆ มีความเสี่ยงกับโรคออทิซีม -
1:17 - 1:18ทำไม
-
1:19 - 1:20นี่คือเหตุผลว่าทำไม
-
1:20 - 1:25นี่คือกราฟแสดงความชุกของโรคออทิซึม
ที่ประมาณการที่เพิ่มขึ้นจากเดิม -
1:25 - 1:27มีจำนวนที่มากที่สุดในศตวรรษที่ 20
-
1:27 - 1:31โรคออทิซึมคาดว่ามีเงื่อนไขที่เป็นยากมาก
กลายเป็นเรื่องที่เหลือเชื่อ -
1:31 - 1:34มีนักจิตวิทยาและกุมารแพทย์น้อยรายมาก
ที่เคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องนี้ -
1:34 - 1:37แสดงอย่างชัดเจนว่าพวกเขาน่าจะเคยพบคนไข้บ้าง
จากงานอาชีพประจำ -
1:37 - 1:40น่าจะเคยเห็นไม่ต่ำกว่าเรื่องเดียว
-
1:40 - 1:44หลายสิบปีความชุกของโรคที่ประมาณการ
ยังคงที่ -
1:44 - 1:47มีเด็กเพียง 3-4 คนใน 10,000 คน
-
1:47 - 1:49ต่อเมื่อในปี ค.ศ. 1990
-
1:49 - 1:51ตัวเลขกลับเริ่มถึบตัวขึ้นสูง
-
1:51 - 1:55องค์กรแสวงหารายได้จากโครงการต่าง ๆ
เช่น ออทิซึมสปีคส์ -
1:55 - 1:58อ้างอิงเสมอว่าโรคออทิซีมเหมือนโรคระบาด
-
1:58 - 2:01แต่ถ้าคุณสามารถจับโรคนี้ได้จากเด็ก
อีกคนในสวนสนุกดิสนีแลนด์ -
2:01 - 2:03แล้วอะไรที่จะตามมา
-
2:03 - 2:06ถ้าไม่ใช้วัคซีค แล้วจะใช้อะไร
-
2:06 - 2:10ถ้าคุณถามพนักงานที่พบเจอ
ที่สำนักงานกลางเพื่อควบคุมโรคในแอตลันต้า -
2:10 - 2:12อะไรที่จะเกิดขึ้น
-
2:12 - 2:16พวกเขามีแนวโน้มที่จะตอบด้วยวลีว่า
"วิธีการวินิจฉัยโรคที่แพร่ขยายตัวขึ้น" -
2:16 - 2:18และ " กำลังค้นกรณีตัวอย่างที่ดีขึ้น "
-
2:18 - 2:21ในการอธิบายจำนวนที่เพิ่มขึ้นมาก
-
2:21 - 2:23แต่ประเภทของวาทะกรรมนั้น
-
2:23 - 2:26ไม่ได้บรรเทาอาการหวาดผวา
ของแม่วัยสาวแต่อย่างใด -
2:26 - 2:30ที่พบว่าเด็กวัยสองขวบที่สัมผัสกับตาได้
-
2:30 - 2:33ถ้าการวินิจฉัยโรคมีการแผร่กระจายแล้ว
-
2:33 - 2:36ทำไม่ถึงอยู่ใกล้กับสถานที่แห่งแรก
-
2:36 - 2:39ทำไมกรณีโรคออทิซึ่มจึงยากกับการค้นพบ
-
2:39 - 2:41ก่อนปี ค.ศ. 1990
-
2:41 - 2:47ห้าปีก่อน ผมตัดสินใจที่จะพยายาม
ค้นหาคำตอบเกี่ยวกับปัญหาเรื่องนี้ -
2:47 - 2:49ผมเรียนรู้ว่ามีอะไรที่ได้เกิดขึ้นมาแล้ว
-
2:49 - 2:53ผลความล่าช้าและการเตือนภัยที่ก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์ทำให้มีข้อมูลน้อยกว่า -
2:53 - 2:56พลังการเล่าเรื่องราว(ข่าวลือ)ที่หลอกลวง
-
2:57 - 2:59ที่สำคัญที่สุดในศตรวรรษที่ 20
-
2:59 - 3:01แพทย์ที่รักษาโรคได้บอกเล่าเรื่องราวหนึ่ง
-
3:01 - 3:05เกี่ยวกับการเป็นโรคออทิซิมและมีวิธีการ
ค้นพบได้อย่างไร -
3:05 - 3:08แต่เรื่องราวนั้นกลับเป็นเรื่องที่ผิดพลาด
-
3:08 - 3:09และคุณลักษณะผลที่ได้ของโรคนี้
-
3:09 - 3:13ได้สร้างผลกระทบสร้างความเสียหายอย่างมากมาย
กับระบบสุขภาพสาธารณะทั่วโลก -
3:13 - 3:17มีเรื่องราวลำดับที่ 2 เกี่ยวกับความจริง
ของเรื่องโรคออทิซึม -
3:17 - 3:19ที่สูญหายไปแล้วและมีการลืมเลือนไป
-
3:19 - 3:22ในแง่มุมต่าง ๆ ที่คลุมเครือเกี่ยวกับ
สิ่งตีพิมพ์ทางการแพทย์ -
3:22 - 3:26เรื่องราวที่ 2 นี้บอกเล่าทุกอย่างเกี่ยวกับ
ว่าทำไมเราต้องมาที่นี่ -
3:26 - 3:29และเราจะไปทางไหนกันต่อไป
-
3:29 - 3:34เรื่องแรกสุดเริ่มต้นด้วยนักจิตแพทย์เด็ก
ที่โรงพยาบาลจอห์นส์ ฮ๊อปคินส์ -
3:34 - 3:36ชื่อว่า ลีโอ เคนเนอร์
-
3:36 - 3:39ในปี ค.ศ. 1943 เคนเนอร์ ได้ตีพิมพ์เอกสาร
-
3:39 - 3:44อธิบายว่ามีคนไข้วัยรุ่น 11 คน
ที่ดูเหมือนว่ามีโลกส่วนตัวของตนเอง -
3:44 - 3:46ไม่ยอมรับรู้ผู้คนที่อยู่รอบข้าง
-
3:46 - 3:48แม้แต่พ่อแม่ของตนเอง
-
3:48 - 3:51พวกเขาสามารถหัวเราะเองได้เป็นชั่วโมง ๆ
-
3:51 - 3:53ด้วยการกระพือมือขึ้นลงหน้าใบหน้าตนเอง
-
3:53 - 3:55แต่พวกเขาจะรู้สึกตื่นตกใจกับเรื่องจิ๊บ ๆ
-
3:55 - 3:59เช่นของเล่นชิ้นโปรดที่ถูกย้ายไปจากที่เดิม
ที่วางไว้เป็นประจำ -
3:59 - 4:01โดยพวกเขาไม่รู้เรื่อง
-
4:01 - 4:04เรื่องนี้ขึ้นกับพ่อแม่เด็กที่ถูกพามาที่
คลีนิคของเขา -
4:04 - 4:07เคนเนอร์ได้พิจารณาว่าโรคออทิซึม
ค่อนข้างหายากมาก -
4:07 - 4:12ในปี ค.ศ. 1950 ในฐานะผู้นำระดับโลกในเรื่องนี้
-
4:12 - 4:17เขาได้ประกาศว่าเขาได้เห็นกรณีตัวอย่าง
ของจริงในกลุ่มอาการโรคถึง 150 เรื่อง -
4:17 - 4:21ในระหว่างลงพื้นที่ภาคสนามในที่ห่างไกล
ที่ประเทศอัฟริกาใต้ -
4:21 - 4:24ที่นั่นแน่นอนไมน่าแปลกใจแต่อย่างใด
-
4:24 - 4:27เพราะบรรทัดฐานของเคนเนอร์คือ
การวินิจฉัยโรคออทิซึม -
4:27 - 4:29ที่มีการคัดเลือกคนไข้มาอย่างไม่น่าเชื่อถือ
-
4:29 - 4:35ตัวอย่างเช่น เขาได้ทำลายขวัญด้วย
การวินิจฉัยโรคเด็กที่เป็นโรคลมชัก -
4:35 - 4:38แต่ตอนนี้เรารู้ว่าโรคลมชักเป็นอาการปรกติ
ของโรคออทิซึม -
4:38 - 4:41ครั้งหนึ่งเขาได้โวว่าเขาค้นพบเด็ก
9 ถึง 10 คน -
4:41 - 4:45ที่ย้ายมาจากคลีนิคอื่นเพื่อมารักษา
โรคออทิซีมที่คลีนิคของเขา -
4:45 - 4:48โดยไม่มีการวินิจฉัยโรคออทิซึมแต่อย่างใด
-
4:49 - 4:51เคนเนอร์เป็นคนที่เฉลียวฉลาดคนหนึ่ง
-
4:51 - 4:53แต่จำนวนคนในทฤษฏีของเขา
ไม่ได้จบลงด้วยดีเลย -
4:53 - 4:57เขาจัดลำดับโรคออทิซึมเป็นรูปแบบ
จากความผิดปรกติทางจิตตั้งแต่วัยเด็ก -
4:57 - 5:01มาจากสาเหตุพ่อแม่เด็กที่เย็นชา
และไม่แสดงออกถึงความรักเด็ก -
5:01 - 5:03เด็กเหล่านี้ เขากล่าวว่า
-
5:03 - 5:07เหมือนกับถูกแช่ในตู้เย็นใบหนึ่ง
ที่ไม่ได้ละลายน้ำแข็ง -
5:07 - 5:09ในเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ตาม
-
5:09 - 5:12เคนเนอร์สังเกตเห็นว่าบางครั้งคนไข้วัยรุ่น
ของเขาบางคน -
5:12 - 5:16มีความสามารถพิเศษในบางเรื่องอย่าง
เฉพาะเจาะจง -
5:16 - 5:19เช่น ดนตรี คณิตศาตร์ และความจำ
-
5:19 - 5:21เด็กคนหนึ่งในคลีนิคของเขา
-
5:21 - 5:25สามารถจำแนกความแตกต่างเพลงซิมโฟนี
18 บทก่อนวัยสองขวบ -
5:26 - 5:28เมื่อแม่ของเด็กเปิดหนึ่งในเพลงโปรด
เพลงหนึ่งของเด็ก -
5:28 - 5:32เขาจะร้องบอกเสียงดังว่า "เบโธเฟน"
-
5:32 - 5:35แต่เคนเนอร์ไม่สนใจสังเกตในเรื่อง
ความสามารถพิเศษเหล่านี้ -
5:35 - 5:38โดยอ้างว่าเด็กเหล่านี้ต่างเป็นสิ่งของ
ที่กำลังถูกย้อนคิดย้อนทำ -
5:38 - 5:41เพราะพวกเขาได้ยินจากพ่อแม่ที่พูดเกินจริง
-
5:41 - 5:43เพราะสิ้นหวังกับการยอมรับในเรื่อง
ที่ได้รับรู้ของพวกเขา -
5:43 - 5:49โดยเหตุผลอีกอย่าง โรคออทิซึมเป็นเรื่องที่
น่าอับอายและอัปยศของหลายครอบครัว -
5:49 - 5:51และคนสองรุ่นของเด็กที่เป็นโรคออทิซึ่ม
-
5:51 - 5:55ต่างหนีหายไปจากสถาบันต่าง ๆ เพื่อหนทาง
ที่พวกเขาคิดว่าดี -
5:55 - 5:58ด้วยการหายไปจากโลกจำนวนมาก
-
5:58 - 6:02เรื่องที่น่าแปลกใจต้องรอจนถึงปี ค.ศ. 1970
-
6:02 - 6:08นักวิจัยหลายคนจึงเริ่มพิสูจน์ทฤษฏีเคนเนอร์
เรืองโรคออทิซึมที่ค่อนข้างหายาก -
6:08 - 6:11ลอร์น่า วิง เป็นนักจิตวิทยาบำบัด
การเรียนรู้ในลอนดอน -
6:11 - 6:15ที่คิดว่าทฤษฏีเคนเนอร์เกี่ยวกับ
ความเป็นพ่อแม่ที่เย็นชาไร้อารมณ์ -
6:15 - 6:18เป็นเรื่อง "งี่เง่าเข้าไส้" ตามที่เธอบอกผม
-
6:18 - 6:22เธอกับจอห์น สามีของเธอต่างเป็นคนอบอุ่น
และน่ารักใคร่ -
6:22 - 6:25และพวกเขามีลูกสาวที่เป็นโรคออทิซึม
อย่างเต็มที่ชื่อ ซูซี่ -
6:25 - 6:30ลอร์น่ากับจอห์นต่างรู้ดีว่าเป็นงานหนักมาก
ในการเลี้ยงดูเด็กอย่างซูซี่ -
6:30 - 6:32ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือในหลายด้าน
-
6:32 - 6:33การศึกษาพิเศษ
-
6:33 - 6:38และทรัพยากรอื่น ๆ ที่สุดเอื้อมถ้าไม่ได้รับ
การวินิจฉัยโรคนี้ -
6:38 - 6:40เพื่อทำให้เป็นกรณีกับบริการสุขภาพของชาติ
-
6:40 - 6:46ทั้งยังต้องมีทรัพยากรหลายอย่างที่จำเป็นกับ
เด็กที่เป็นโรคออทิซึมกับครอบครัวของพวกเขา -
6:46 - 6:48ลอร์น่ากับพื่อนร่วมงานของเธอ จูดิธ กูลด์
-
6:48 - 6:52ได้ตัดสินใจที่จะทำบางอย่างที่ควรจะ
มีการทำมาแล้วเมื่อ 30 ปีก่อนหน้านี้ -
6:52 - 6:57ทั้งสองคนทำการศึกษาโรคออทิซีมที่ชุก
ในกลุ่มประชากรทั่วไป -
6:57 - 7:01พวกเธอมุ่งเน้นในพื้นที่ของลอนดอน
ในชุมชนที่เรียกว่า แคมเบอร์เวลล์ -
7:01 - 7:05พยายามที่จะค้นหาเด็กออทิซึมในชุมชน
-
7:05 - 7:10แต่สิ่งที่พวกเธอเห็นทำให้รู้ชัดว่ารูปแบบ
การศึกษาของเคนเนอร์มีวิธีการที่จำกัดมาก -
7:10 - 7:14ขณะที่โรคออทิซึมที่แท้จริงมีมากกว่ามาก
มีชีวิตชีวากับแตกต่างกันมาก -
7:15 - 7:17เด็กบางคนไม่สามารถพูดได้เลย
-
7:17 - 7:22ขณะที่บางคนไปไกลกว่าด้วยการหลงใหล
ในเรื่องเกี่ยวกับดาราศาสตร์ -
7:22 - 7:25ไดโนเสาร์ หรือ ลำดับการสืบทอดราชวงศ์
-
7:25 - 7:30ในอีกนัยหนึ่ง เด็กเหล่านี้ไม่ได้เรียนรู้
เรื่องความสุภาพ และการจัดกล่องให้เรียบร้อย -
7:30 - 7:32หลังจากจูธิทวางไว้ทดสอบ
-
7:32 - 7:34และพวกเธอเห็นเด็กพวกนี้จำนวนมาก
-
7:34 - 7:38มีวิถีชีวิตที่มากกว่ารูปแบบเคนเนอร์
ที่มีขนาดใหญ่มากกว่าที่เคยทำนายไว้ -
7:38 - 7:41ในต้องแรกพวกเธอแทบจะสูญเสีย
ความมั่นใจกับข้อมูลเหล่านี้ -
7:41 - 7:44ทำไมไม่มีใครสังเกตเด็กเหล่านี้มาก่อน
-
7:44 - 7:48ต่อมาลอร์นาได้พบเอกสารอ้างอิง
ที่เคยตีพิมพ์มาก่อนโดยบังเอิญ -
7:48 - 7:51ในเยอรมันนี ในปี ค.ศ. 1944
-
7:51 - 7:53หนึ่งปีหลังจากเอกสารของเคนเนอร์
-
7:53 - 7:55และแล้วถูกลืมไป
-
7:55 - 7:57ถูกฝังไปกับเถ้าถ่านของช่วงเวลาที่เลวร้าย
(สงครามโลกครั้งที่ 2) -
7:57 - 8:00ไม่มีใครต้องการจดจำหรือคิดถึงมันอีก
-
8:00 - 8:03เคนเนอร์ก็รู้ดีเกี่ยวกับเอกสารของคู่แข่ง
-
8:03 - 8:08แต่ได้หลีกเลี่ยงอย่างไร้จริยธรรม
ที่จะอ้างอิงไว้ในงานของเขา -
8:08 - 8:10มันไม่เคยมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ
มาก่อนด้วยแต่อย่างใด -
8:10 - 8:13แต่โชคดีที่สามีของลอร์น่าพูดภาษาเยอรมัน
-
8:13 - 8:16และเขาได้แปลเอกสารนี้ให้เธอ
-
8:16 - 8:20เอกสารนี้ได้เสนอเรื่องราวทางเลือกอีกทาง
ให้กับโรคออทิซีม -
8:20 - 8:22โดยนักเขียนชาย ฮันส์ แอสเปอร์เจอร์
-
8:22 - 8:26ที่ทำงานที่คลีนิครวมแพทย์กับโรงเรียนประจำ
-
8:26 - 8:28ในเวียนนาในปี ค.ศ. 1930
-
8:28 - 8:32แอสเปอร์เจอร์มีแนวคิดในการสอนเด็ก
ด้วยการเรียนที่แตกต่างหลายอย่าง -
8:32 - 8:35ที่ก้าวหน้ามากกว่ามาตรฐานต่าง ๆ
ในยุคร่วมสมัย -
8:35 - 8:40ทุกเช้าที่คลินิคของเขาจะเริ่มต้นด้วย
การออกกำลังกายพร้อมเสียงดนตรี -
8:40 - 8:43และเด็ก ๆ ต่างมีการละเล่นต่าง ๆ ใน
วันอาทิตย์หลังเที่ยง -
8:43 - 8:46แทนที่จะโทษพ่อแม่ที่เป็นสาเหตุของ
โรคออทิซีม -
8:46 - 8:51เอสเปอร์เจอร์วางเรื่องนี้ไว้ว่าเป็นเรื่อง
ตลอดชีวิต พันธุกรรมที่บกพร่อง -
8:51 - 8:55ที่ต้องการรูปแบบความเห็นอกเห็นใจ
ด้วยการสนับสนุนและการปรับตัว -
8:55 - 8:59มากกว่าแนวทางปฏิบัติแบบคนทั่วไปตลอดชีวิต
-
8:59 - 9:01แทนที่จะบำบัดรักษาเด็ก ๆ ในคลีนิค
เหมือนกับพ่อแม่ -
9:01 - 9:04แอสเปอร์เจอร์กับเรียกพวกเด็ก ๆ ว่า
ศาตราจารย์ตัวน้อย ๆ -
9:04 - 9:08แล้วระบุว่าต้องการความช่วยเหลือจากพวกเขา
เพื่อพัฒนาระบบการศึกษา -
9:08 - 9:11ที่เฉพาะเจาะจงเหมาะสมกับพวกเขา
-
9:11 - 9:16ที่สำคัญมาก เอสเปอร์เจอร์สังเกตโรคออทิซีม
เหมือนกับความหลากหลายอย่างต่อเนื่อง -
9:16 - 9:21สะพานเชื่อมขอบเขตที่น่าประหลาดใจระหว่าง
อัจฉริยะกับความโง่เขลา -
9:22 - 9:25เขาเชื่อว่าโรคออทิซึมและการรักษาเป็น
เรื่องธรรมดา -
9:25 - 9:27และอย่างที่เป็นมาตลอด
-
9:27 - 9:32โดยการดูจากแง่มุมความต่อเนื่องในต้นแบบ
ที่คุ้นเคยจากวัฒนธรรมที่นิยมกันทั่วไป -
9:32 - 9:35คล้ายกับสังคมนักวิทยาศาสตร์ที่งุ่มง่าม
-
9:35 - 9:37และศาตราจารย์ที่ใจลอย
-
9:37 - 9:39เขาไปไกลมากจนพูดได้ว่า
-
9:39 - 9:43ดูเหมือนว่าเป็นความสำเร็จของด้าน
วิทยาศาตร์กับด้านศิลปศาสตร์ -
9:43 - 9:46คุณสมบัติของโรคออทิซึ่มที่จำเป็นอย่างยิ่ง
-
9:46 - 9:51ลอร์น่ากับจูดิธเชื่อว่าเคนเนอร์ได้ผิดพลาด
ไปแล้วเรื่องโรคออทิซีมที่หายาก -
9:51 - 9:54เหมือนกับพ่อแม่เด็กกำลังค้นพบมัน
-
9:54 - 9:56ในอีกเจ็ดปีต่อมา
-
9:56 - 9:59พวกเธอทำงานร่วมกับสมาคมจิตวิทยาแห่งอเมริกา
-
9:59 - 10:02ทำให้บรรทัดฐานเรื่องนี้มีการวินิจฉัย
-
10:02 - 10:06เพื่อสะท้อนความหลากหลายของเรื่อง
ที่เรียกว่าการคาดคะเนโรคออทิซีม -
10:06 - 10:09ในช่วงหลังยุค 80 จนถึงต้นยุค 90
-
10:09 - 10:11การเปลี่ยนแปลงของพวกเธอสร้างผลกระทบ
-
10:11 - 10:13ลบล้างรูปแบบความคิดคับแคบของเคนเนอร์
-
10:13 - 10:17แทนที่ด้วยรูปแบบที่ครอบคลุมกว้างขวางกว่า
ของเอสเปอร์เจอร์ -
10:17 - 10:19การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นใน
สุญญากาศ -
10:19 - 10:23ด้วยการเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันกับการที่
ลอร์น่ากับจูดิธที่ทำงานอยู่เบื้องหลัง -
10:23 - 10:25ในการปรับปรุงการวินิจฉัยโรค
-
10:25 - 10:30ผู้คนทั่วโลกต่างรับรู้เรื่องโรคออทิซึ่ม
ในวัยรุ่นเป็นครั้งแรก -
10:30 - 10:34ก่อนหนังเรื่อง "มนุษย์ฝน"
จะฉายในปี ค.ศ. 1988 -
10:34 - 10:38มีกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในระบบจำนวนน้อยมาก
ที่รู้เกี่ยวกับโรคออทิซึม -
10:38 - 10:43แต่หลังจากดัสติน ฮอฟแมนต์ ลืมเรื่องศักยภาพ
ของ เรย์มอนด์ แบพบิตต์ -
10:43 - 10:46ทำให้ "มนุษย์ฝน" ได้รางวัลอเคเดมี่
-
10:46 - 10:49กุมารแพทย์ แพทย์จิตวิทยา
-
10:49 - 10:54ครูและพ่อแม่ทั่วโลกต่างรู้จักโรคออทิซึ่ม
-
10:54 - 10:56ในเวลาเดียวกันโดยบังเอิญ
-
10:56 - 11:02เป็นครั้งแรกที่มีวิธีการง่าย ๆ ของคลีนิค
นำมาใช้ในการทดสอบอาการโรคออทิซึม -
11:02 - 11:07โดยไม่จำเป็นต้องไปพบกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
จำนวนน้อยอีกเลย -
11:07 - 11:09เพื่อพัฒนาการลูกของคุณ
-
11:09 - 11:11พันธมิตรจากหนังเรื่อง "มนุษย์ฝน"
-
11:11 - 11:15คือการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่บรรทัดฐาน
และการเริ่มต้นการทดสอบเหล่านี้ -
11:15 - 11:18ได้สร้างผลกระทบกว้างขวาง
-
11:18 - 11:21การจู่โจมสมบูรณ์แบบกับการรับรู้โรคออทิซึม
-
11:21 - 11:24จำนวนครั้งในการวินิจฉัยโรคได้พุ่งทะยานขึ้น
-
11:24 - 11:30เหมือนกับที่ลอร์น่ากับจูดิธได้พยากรณ์ไว้
และได้คาดหวังไว้อย่างแท้จริง ว่าจะเป็นเช่นนั้น -
11:30 - 11:32ทำให้คนที่เป็นออทิซีม
และครอบครัวยอมเปิดเผยตัวตน -
11:32 - 11:36ทำให้ในที่สุดได้รับการสนับสนุนและบริการ
ในด้านต่าง ๆตามที่พวกเธอเรียกร้อง -
11:36 - 11:38แล้ว แอนดริว เวคฟิลด์ ก็ตามมา
-
11:38 - 11:42การประนามว่าเข็มฉีดยาใช้ใน
การตรวจโรคจากวัคซีนต่าง ๆ -
11:42 - 11:44ง่ายแต่ทรงพลัง
-
11:44 - 11:47และเรื่องราวที่น่าเชื่อถือแต่ชักชวน
ไปในทางผิด ๆ -
11:47 - 11:49เหมือนที่ผิดพลาดเหมือนกับทฤษฏีเคนเนอร์
-
11:49 - 11:51ว่าโรคออทิซีมหายากมาก
-
11:51 - 11:55ถ้าจากการประมาณการในตอนนี้ของ ซีดีซี
-
11:55 - 11:59มีเด็ก 1 คนในจำนวน 68 คนในอเมริกา
ที่อยู่ในข่าย ถ้าถูกต้อง -
11:59 - 12:03โรคออทิซึมเป็นหนึ่งในจำนวน
คนกลุ่มน้อยที่มากที่สุดในโลก -
12:03 - 12:07เมื่อไม่กี่ปีมานี้ คนที่เป็นโรคออทิซึม
ต่างได้มาพบกันในอินเทอร์เน็ต -
12:07 - 12:11เพื่อปฏิเสธความเชื่อที่ว่าพวกเขาเป็น
ปริศนาที่รอการแก้ไข -
12:11 - 12:13ด้วยการฝ่าฝันอุปสรรคทางการแพทย์ในภายหน้า
-
12:13 - 12:15สร้างคำนิยามว่า ระบบประสาทที่หลากหลาย
-
12:15 - 12:19เพื่อเฉลิมฉลองความหลากหลาย
ในการรับรู้ของผู้คน -
12:19 - 12:22หนึ่งในวิธีการที่จะเข้าใจ
ระบบประสาทที่หลากหลาย -
12:22 - 12:25คือให้คิดถึงรูปแบบระบบในร่างกายของมนุษย์
-
12:25 - 12:30เหมือนอย่างว่า พีซีที่ไม่ได้ใช้วินโดส์
ไม่ได้หมายความว่ามันใช้งานไม่ได้ -
12:30 - 12:34โดยมาตรฐานโรคออทิซีม
กับมันสมองของคนทั่วไป -
12:34 - 12:36ที่สับสนวุ่นวายอย่างง่าย ๆ
-
12:36 - 12:38สังคมที่ถูกครอบงำ
-
12:38 - 12:41และความทุกข์จากการขาดความสนใจ
ในเรื่องรายละเอียด -
12:41 - 12:44ให้แน่ใจว่า คนที่เป็นออทิซีม
มีช่วงเวลาที่ยากลำบาก -
12:44 - 12:46ในการอยู่บนโลกใบนี้
ที่ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อพวกเขา -
12:46 - 12:51[เจ็ดสิบ] หลายปีต่อมา
เรายังชื่นชมกับเอสเปอร์เจอร์ -
12:51 - 12:55ผู้ที่เชื่อมั่น การบำบัดรักษา โรคออทิซึม
ที่คาดหวังว่าไร้ความสามารถมากทีสุด -
12:55 - 12:58แต่ถูกค้นพบโดยครูหลายท่านที่เข้าใจ
-
12:58 - 13:00นายจ้างหลายคนที่จัดที่จัดทางให้
-
13:00 - 13:02การช่วยเหลือของชุมชนต่าง ๆ
-
13:02 - 13:05และพ่อแม่ที่เชื่อมั่นในศักยภาพของลูก ๆ
-
13:05 - 13:08ชายที่เป็นออทิซึม
ชื่อว่าโซเซีย แซกส์ ครั้งหนึ่งพูดว่า -
13:08 - 13:13"เราต้องการทุกคนอย่างเร่งด่วน
เพื่อนำทางเรือมนุษย์ชาติ" -
13:13 - 13:16ขณะที่เรากำลังแล่นผ่านอนาคตที่ไม่แน่นอน
-
13:16 - 13:20เราต้องการความเฉลียวฉลาดทุกรูปแบบ
ของมนุษยชาติบนโลกใบนี้ -
13:20 - 13:25ทำงานร่วมกันในการแก้ปัญหา
กับความท้าทายหลายเรื่องที่พวกเราเจอในสังคม -
13:25 - 13:28เราไม่สามารถสูญเสียมันสมองอีกต่อไปแล้ว
-
13:28 - 13:30ขอบคุณมากครับ
-
13:30 - 13:34(เสียงปรบมือ)
- Title:
- ประวัติศาสตร์ที่ถูกลืมเลือนของโรคออทิซึ่ม
- Speaker:
- สติฟ ไซเบอร์แมน (Steve Siberman)
- Description:
-
หลายสิบปีก่อน มีกุมารแพทย์น้อยรายมากที่เคยได้ยินเกี่ยวกับโรคออทิซึม ในปี ค.ศ. 1975 คาดว่ามีเด็ก 1 ใน 5,000 คนที่เป็นโรคออทิซึม ในทุกวันนี้มีเด็ก 1 ใน 68 ที่เข้าข่ายเป็นโรคออทิซิม อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้โรคนี้เพิ่มขึ้น สตีฟ ไซเบอร์แมน ได้ชี้ชัดว่า “การจู่โจมสมบูรณ์แบบกับการรับรู้โรคออทิซึม ” — แพทย์จำนวนหนึ่ง ได้เสนอทางเลือกในการวินิจฉัยที่ยอมรับได้มากขึ้น กับเรื่องวัฒนธรรมที่ทันสมัยที่ไม่คาดคิด และการทดสอบโดยคลีนิคสมัยใหม่ แต่จริง ๆ แล้ว การทำความเข้าใจเราต้องย้อนกลับไปในยุคของ นายแพทย์ชาวออสเตรีย นายแพทย์ฮันส์ เอสเปอร์เจอร์ (Hans Asperger) ได้ตีพิมพ์ผลงานบุกเบิกเล่มแรก ในปี ค.ศ. 1944 แต่เพราะอยู่ในช่วงวิกฤตการณ์สงคราม ทำให้ผลงานนี้ถูกทอดทิ้งไป โรคออทิซึมจึงกลายเป็นโรคที่เข้าใจกันอย่างผิด ๆ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา (งานบรรยายครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของ TED2015 ที่ได้รับความอนุเคราะห์จาก วารสารป๊อปอัพ (Pop-Up Magazine) ติดต่อได้ที่ : popupmagazine.com หรือ @popupmag ใน Twitter
- Video Language:
- English
- Team:
- closed TED
- Project:
- TEDTalks
- Duration:
- 13:48
Kelwalin Dhanasarnsombut approved Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Rawee Ma accepted Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Rawee Ma declined Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Rawee Ma edited Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Rawee Ma edited Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut rejected Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for The forgotten history of autism | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for The forgotten history of autism |