-
-
เรารู้แล้วว่า กฎผลคูณบอกเราว่า
-
ถ้าเรามีผลคูณของฟังก์ชันสองตัว -- สมมุติว่า
-
f ของ x กับ g ของ x -- และเราอยากหา
-
อนุพันธ์ของตัวนี้ นี่ก็
-
จะเท่ากับอนุพันธ์
-
ของฟังก์ชันแรก คือ f ไพรม์ของ x คูณ
-
ฟังก์ชันที่สอง คูณ g ของ x บวกฟังก์ชันนี้
-
ไม่ต้องหาอนุพันธ์ แล้วบวก f
-
ของ x คูณอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่สอง
-
-
สองเทอม ในแต่ละเทอม เราจะหาอนุพันธ์ของ
-
ฟังก์ชันหนึ่ง แต่ไม่หาอีกฟังก์ชัน แล้วเราก็สลับ
-
ตรงนี้คืออนุพันธ์ของ f, ไม่ใช่ g
-
ตรงนี้คืออนุพันธ์ของ g, ไม่ใช่ f
-
นี่เป็นเพียงการทบทวน
-
นี่คือกฎผลคูณ
-
ทีนี้ สิ่งที่เราจะทำ
-
คือใช้กฎผลคูณอีกครั้งเพื่อทำ
-
สิ่งที่หนังสือแคลคูลัสหลายเล่ม
อาจเรียกว่ากฎผลหาร
-
ผมมีความรู้สึกผสมกันเวลาพูดถึงกฎผลหาร
-
ถ้าคุณรู้มัน มันอาจทำให้การคิด
-
เร็วกว่า แต่จริงๆ แล้วมันตรงมาจากกฎผลคูณ
-
-
และว่ากันตามตรง ผมมักลืมกฎผลหาร
-
และผมต้องพิสูจน์ใหม่จากกฎผลคูณ
-
ลองดูว่าเรากำลังพูดถึงอะไร
-
ลองนึกภาพถ้าเรามีพจน์ที่
-
เขียนได้เป็น f ของ x หารด้วย g ของ x
-
และเราอยากหาอนุพันธ์ของตัวนี้
-
อนุพันธ์ของ f ของ x ส่วน g ของ x
-
สิ่งที่เรารู้คือการสังเกต
-
ว่านี่ก็เหมือนกับอนุพันธ์ -- แทนที่
-
จะเขียน f ของ x ส่วน g ของ x
-
เราเขียนเป็น f ของ x คูณ
g ของ x ยกกำลังลบ 1 ได้
-
-
และตอนนี้เราใช้กฎผลคูณ
-
กับกฎลูกโซ่นิดหน่อยได้
-
อันนี้จะเท่ากับอะไร?
-
เราแค่ใช้กฎผลคูณ
-
มันคืออนุพันธ์ของฟังก์ชันแรกตรงนี้ --
-
มันจะเท่ากับ f ไพรม์ของ x --
-
คูณฟังก์ชันที่สองเฉยๆ ซึ่งก็คือ
-
g ของ x ยกกำลังลบ 1 บวกฟังก์ชันแรก
-
คือแค่ f ของ x คูณอนุพันธ์
-
ของฟังก์ชันที่สอง
-
และตรงนี้เราจะต้องใช้กฎลูกโซ่นิดหน่อย
-
-
อนุพันธ์ของตัวนอก ซึ่ง
-
เรามองเป็นอะไรสักอย่าง
-
ยกกำลังลบ 1 เทียบกับอะไรสักอย่างนั่น
-
จะเท่ากับลบ 1 คูณอะไรสักอย่างนั้น ซึ่ง
-
ในกรณีนี้คือ g ของ x ยกกำลังลบ 2
-
แล้วเราต้องหาอนุพันธ์
-
ของฟังก์ชันตัวในเทียบกับ
-
x ซึ่งก็คือแค่ g ไพรม์ของ x
-
แล้วคุณก็ได้แแล้ว
-
เราหาอนุพันธ์ของตัวนี้ได้
-
โดยใช้กฎผลคูณกับกฎลูกโซ่
-
ทีนี้ นี่คือรูปที่คุณ
-
อาจเห็นเวลาคนพูดถึง
-
กฎผลหารในหนังสือเลขของคุณ
-
ลองดูว่าเราจัดรูปพจน์นี้หน่อยได้ไหม
-
ทั้งหมดนี้จะเท่ากับ -- เราเขียนเทอมนี้
-
ตรงนี้เป็น f ไพรม์ของ x ส่วน g ของ x
-
-
และเราเขียนทั้งหมดนี้เป็น -- เรา
-
ใส่เครื่องหมายลบนี่ข้างหน้าได้
-
เราได้ลบ f ของ x คูณ g ไพรม์ของ x
-
-
แล้วทั้งหมดนั้นส่วน g ของ x กำลังสอง
-
ขอผมเขียนให้สวยหน่อยนะ
-
ทั้งหมดนั้นส่วน g ของ x กำลังสอง
-
-
และมันยังไม่ใช่รูปที่คุณมัก
-
เห็นในหนังสือแคลคูลัส
-
เวลาทำ เราต้องใช้เศษส่วนสองตัวนี้
-
ลองคูณทั้งเศษและส่วน
-
ด้วย g ของ x เราจะได้มีทุกอย่างในรูปของ g
-
ของ x กำลังสองเป็นตัวส่วน
-
ถ้าเราคูณตัวเศษด้วย g ของ x
-
เราจะได้ g ของ x ตรงนี้แล้ว
-
ตัวส่วนจะเป็น g ของ x กำลังสอง
-
และตอนนี้เราพร้อมจะบวกแล้ว
-
เราได้อนุพันธ์ของ f
-
ของ x ส่วน g ของ x เท่ากับ
อนุพันธ์ของ f ของ x คูณ g
-
ของ x ลบ -- ไม่ใช่บวกแล้ว -- ขอผมเขียน
-
ด้วยสีขาว -- f ของ x คูณ g ไพรม์ของ x
-
ทั้งหมดนั้นส่วน g ของ x กำลังสอง
-
ย้ำอีกครั้ง คุณหาอันนี้ได้
-
จากกฎผลคูณและกฎลูกโซ่
-
บางครั้ง การจำอาจช่วย
-
ให้แก้ปัญหาในรูปนี้ง่ายขึ้น
-
และถ้าคุณอยากเห็นรูปแบบระหว่างผลกฎคูณ
-
กับผลหาร อนุพันธ์ของ
-
ฟังก์ชันหนึ่งคูณอีกฟังก์ชันหนึ่ง
-
และแทนที่จะบวกอนุพันธ์
-
ของฟังก์ชันที่สองคูณฟังก์ชันแรก
-
ตอนนี้เราลบมันแทน
-
และทั้งหมดนั้นมีส่วนฟังก์ชันที่สองกำลังสอง
-
อะไรก็ตามที่อยู่ในตัวส่วน ทั้งหมดนั้นกำลังสอง
-
เมื่อเราหาอนุพันธ์
-
ของฟังก์ชันในตัวส่วนบนนี้
-
มันมีเครื่องหมายลบ แล้วเราก็ใส่ทุกอย่าง
-
ส่วนฟังก์ชันที่สองกำลังสอง