< Return to Video

วาฬหายใจ สื่อสาร และผายลมทางใบหน้าได้อย่างไร - จอย ไรเดนเบิร์ก (Joy Reidenberg)

  • 0:00 - 0:09
    สวัสดีค่ะทุกคน
    ฉันเป็นนักกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ
  • 0:09 - 0:11
    นักกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบคือ คนที่ศึกษา
  • 0:11 - 0:14
    โครงสร้างของร่างกาย ของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
  • 0:14 - 0:16
    สัตว์ที่ฉันโปรดปรานคือ ปลาวาฬ
  • 0:16 - 0:18
    ฉันชอบศึกษาปลาวาฬ เพราะพวกมันน่าสนใจมากๆ
  • 0:18 - 0:20
    พวกมันปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เป็นเอกลักษณ์
    พวกมันปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใต้น้ำ
  • 0:20 - 0:21
    ที่อยู่ใต้น้ำ
    ที่เปี่ยมเอกลักษณ์
  • 0:21 - 0:23
    เรื่องที่ฉันจะเล่าให้พวกคุณฟังคือ
  • 0:23 - 0:25
    ปลาวาฬส่งเสียงได้โดย
  • 0:25 - 0:28
    การผายลมออกมา จากหน้าของมัน
  • 0:28 - 0:30
    มันผายลมที่ว่านี้
  • 0:30 - 0:32
    ด้วยรูบนหัว เป็นการหายใจเอาอากาศออก
  • 0:32 - 0:34
    แต่มันยังใช้อากาศทำอย่างอื่นอีก
  • 0:34 - 0:35
    มันใช้สร้างเสียง
  • 0:35 - 0:37
    ซึ่งฉันกำลังจะพูดถึง
  • 0:37 - 0:38
    มีอีกหลายวิธีที่วาฬใช้อากาศ
  • 0:38 - 0:40
    เช่นการป้องกันไม่ให้อากาศเข้าเส้นเลือด
  • 0:40 - 0:42
    จะได้ไม่เกิดฟองอากาศ
  • 0:42 - 0:43
    เหมือนกับที่เกิดขึ้นกับนักดำน้ำ
  • 0:43 - 0:46
    ที่ขณะดำน้ำ แล้วเกิดอาการเมาความกดอากาศ
  • 0:46 - 0:48
    แต่ที่ฉันอยากจะเล่า คือเรื่องที่ว่า
  • 0:48 - 0:50
    สัตว์พวกนี้ทำเสียงผายลมอย่างไร
  • 0:50 - 0:52
    เราต้องเข้าใจก่อนว่า
  • 0:52 - 0:54
    การดูปลาวาฬนั้นยากเพียงใด
  • 0:54 - 0:57
    เพราะมันอาศัยอยู่ใต้น้ำ และมันก็ใหญ่มากๆ
  • 0:57 - 0:58
    มันจึงเป็นสัตว์ที่ยากแก่การศึกษา
  • 0:58 - 1:01
    แค่ในภาพนี้ คุณเห็นสัตว์ที่อยู่ตรงกลางนั้นไหม
  • 1:01 - 1:04
    มันคือลูกปลาวาฬ และขนาดของมันก็เท่ากับรถบัสแล้ว
  • 1:04 - 1:06
    เมื่อศึกษาปลาวาฬ คุณต้องเริ่มจาก
  • 1:06 - 1:07
    ด้านบนของหัวมัน เพราะที่นั้น
  • 1:07 - 1:09
    มีจมูกมันอยู่
  • 1:09 - 1:10
    มันคล้ายๆ กับ เครื่องดำน้ำในตัว
  • 1:10 - 1:12
    มันใช้จมูกนี้หายใจ เพราะมันคือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
  • 1:12 - 1:14
    และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะหายใจด้วยอากาศ
  • 1:14 - 1:16
    จมูกของพวกมัน จะเปิดปิดได้
  • 1:16 - 1:18
    เหมือนมีมือหนีบอยู่ที่รูเลย
  • 1:18 - 1:19
    จะเห็นรูมันเปิดอยู่ ตรงภาพล่างสุด
  • 1:19 - 1:21
    ตรงที่ลูกศรสีแดงชี้ค่ะ
  • 1:21 - 1:23
    แต่ไม่ใช่ปลาวาฬทุกตัวนะ ที่มีจมูกสองรู
  • 1:23 - 1:26
    ปลาวาฬหลายชนิด รวมถึงปลาโลมาประเภทต่าง ๆ
  • 1:26 - 1:28
    ปลาโลมาขนาดใหญ่ และ ขนาดเล็ก
  • 1:28 - 1:30
    มีรูจมูกเพียงรูเดียว อยู่ข้างบนสุดของหัว
  • 1:30 - 1:32
    มันจะเปิด และปิดรูจมูก
  • 1:32 - 1:35
    โดยใช้ส่วนที่เสมือน ริมฝีปากบน
  • 1:35 - 1:39
    แล้วเผยอมันขึ้นไปปิดจมูก แบบนี้
  • 1:39 - 1:41
    นี่คือวิธีการที่มันเปิดและปิดจมูก
  • 1:41 - 1:43
    ดังนั้น เมื่อมันส่งเสียง
  • 1:43 - 1:45
    ก็เหมือนมันเป่าปากพรืดๆ
  • 1:45 - 1:48
    เหมือนกับ (เสียงปาก) คล้ายเสียงผายลม ใช่ไหมคะ
  • 1:48 - 1:50
    ที่นิวยอร์คเราเรียกมันว่า หรือที่เขาเรียกกันว่า
    เสียงเชียร์แบบคนบรองซ์ (Bronx Cheer)
  • 1:50 - 1:52
    มันทำเสียงพวกนี้
  • 1:52 - 1:54
    โดยใช้ริมฝีปาก ขนาดหนาใหญ่
  • 1:54 - 1:56
    แบบที่เห็นจากภาพนี้
  • 1:56 - 1:59
    ซึ่งเป็นภาพผ่าครึ่งของหัวปลาโลมา
  • 1:59 - 2:01
    ริมฝีปาก คือก้อนหนาใหญ่สีเหลืองในวงกลมค่ะ
  • 2:01 - 2:05
    มันจะขยับก้อนนี้ กลับไปกลับมาตรงเหนือจมูก
  • 2:05 - 2:06
    ทำให้จมูกมันสั่น
  • 2:06 - 2:08
    เหมือนตอนที่คุณปล่อยลมออกจากลูกโป่ง
  • 2:08 - 2:10
    แล้วเกิดเสียงสั่นแปลกๆ
  • 2:10 - 2:12
    เสียงที่ว่านั่น ดังแบบนี้ค่ะ
  • 2:12 - 2:13
    (เสียงปลาโลมา)
  • 2:13 - 2:14
    ได้ยินไหมคะ มันจะทำอีกครั้ง
  • 2:14 - 2:16
    เมื่อมันมองกล้องค่ะ
  • 2:16 - 2:17
    [เสียงปลาโลมา]
  • 2:17 - 2:19
    ฟังเหมือน มันผายลมในน้ำเลย
  • 2:19 - 2:21
    สิ่งที่เจ้าโลมาทำ จริงๆ แล้ว
  • 2:21 - 2:24
    คือการใช้เสียงบอกตำแหน่ง (echolocation)
    ซึ่งมันจะทำเป็นชุด ๆ
  • 2:24 - 2:27
    คล้ายกับที่ ค้างคาวใช้โซน่าร์ (sonar)
  • 2:27 - 2:29
    คือ ค้างค้าวใช้เรดาร์ แต่เมื่ออยู่ในน้ำ
  • 2:29 - 2:31
    เราจะเรียก โซน่าร์ สัตว์พวกนี้ใช้โซน่าร์
  • 2:31 - 2:34
    เพื่อให้เห็นโลกของมัน โดยใช้เสียง
  • 2:34 - 2:35
    เราจะเข้าใจการทำงานของมันได้
  • 2:35 - 2:37
    โดยนึกภาพว่า เรากำลังมองดู
  • 2:37 - 2:39
    ลำโพงขยายเสียง ในชุดเครื่องเสียง
  • 2:39 - 2:42
    ปลาวาฬที่มีฟันเล็กๆ
    คือลำโพงเสียงความถี่สูง (tweeters)
  • 2:42 - 2:43
    เสียงนั้นก็มาจากจมูกเล็ก ๆ
  • 2:43 - 2:45
    ที่เคลื่อนไหวกลับไปกลับมา
  • 2:45 - 2:47
    และถูกส่งออกมาจากหน้าผากของมัน
  • 2:47 - 2:48
    แต่พอไปดูที่เจ้าปลาวาฬตัวโต
  • 2:48 - 2:50
    มันจะเหมือน ลำโพงเสียงความถี่ต่ำ (Woofer)
  • 2:50 - 2:52
    เป็นลำโพงตัวใหญ่ที่อยู่ในชุดเครื่องเสียง
  • 2:52 - 2:55
    สิ่งที่เกิดขึ้นคือ เสียงของพวกมันออกมาจากลำคอ
  • 2:55 - 2:57
    ดังนั้น ถ้าคุณพยายามเลียนเสียงปลาวาฬ
  • 2:57 - 2:58
    มาลองทำกันเลย
  • 2:58 - 3:01
    เอาล่ะ พร้อมกัน "อาห์"
  • 3:01 - 3:03
    เอาล่ะ เอามือของคุณจับที่ลำคอ
  • 3:03 - 3:06
    บนลูกกระเดือก คุณรู้สึกว่ามันสั่นใช่ไหมคะ
  • 3:06 - 3:08
    ซึ่งเปลืองพลังงานเปล่าค่ะ
  • 3:08 - 3:10
    เพราะคุณไม่ได้สื่อสารกับคนอื่นด้วยวิธีนี้
  • 3:10 - 3:12
    ต้องเปล่งออกทางปาก
  • 3:12 - 3:13
    แต่ถ้าไปอ้าปากใต้น้ำ
  • 3:13 - 3:14
    ไม่มีใครได้ยินเสียงคุณหรอก
  • 3:14 - 3:18
    คุณต้องใช้พลังงานนี้ ขยายเป็นเสียงส่งผ่านน้ำออกไป
  • 3:18 - 3:19
    และนั่นก็คือสิ่งที่ปลาวาฬทำ
  • 3:19 - 3:21
    และเมื่อคุณได้ยินเสียงมัน
  • 3:21 - 3:22
    [เสียงปลาวาฬ]
  • 3:22 - 3:25
    ฟังสิ เหมือนกับเสียงตอนปล่อยลมออกจากลูกโป่งเลย
  • 3:25 - 3:27
    พวกมันทำเสียงแหลมๆ แบบนี้
  • 3:27 - 3:28
    แล้วก็ยังมีเสียงแบบนี้
  • 3:28 - 3:31
    [เสียงปลาวาฬ]
  • 3:31 - 3:33
    เหมือนกับเสียงผายลมเลย ใช่ไหมคะ
  • 3:33 - 3:36
    เหมือนมีถุงเลียนเสียงตดใบใหญ่ยักษ์
    อยู่ในลำคอมันเลย
  • 3:36 - 3:38
    แล้วรู้ได้ไงล่ะ ว่ามันทำเสียงด้วยวิธีนี้จริงๆ
  • 3:38 - 3:41
    เราศึกษา จากพวกปลาวาฬที่มาเกยตื้นนั่นเอง
  • 3:41 - 3:43
    สัตว์พวกนี้ มาเกยตื้นตายบนชายหาด
  • 3:43 - 3:45
    ถ้าเป็นพวกปลาวาฬตัวเล็ก ๆ
    เช่น ปลาโลมาต่าง ๆ จึงง่ายกว่า
  • 3:45 - 3:47
    เพราะเราสามารถนำมันกลับไปที่ห้องแลปได้
  • 3:47 - 3:50
    แต่กับพวกปลาวาฬตัวโต
    เราต้องนำห้องแลปไปหามัน
  • 3:50 - 3:51
    แบบในภาพนี้ค่ะ
  • 3:51 - 3:54
    นั่นคือฉันเอง คนสวมหมวกสีแดงตรงกลาง
  • 3:54 - 3:56
    ฉันไม่ใช่คนตัวสูงมากนัก
  • 3:56 - 3:58
    จะเห็นได้ว่า
    ปลาวาฬมันตัวใหญ่ขนาดไหนเมื่อเทียบกับฉัน
  • 3:58 - 4:00
    เจ้าปลาวาฬตัวนี้ยาว 55 ฟุต
    และเครื่องมือผ่าตัดของฉัน
  • 4:00 - 4:02
    ก็คือเครื่องมือเล็ก ๆ ที่อยู่ข้าง ๆ นี่
  • 4:02 - 4:04
    มันดูเหมือน ไม้ตีฮอกกี้
  • 4:04 - 4:06
    ที่ตรงปลายมีใบมีด
  • 4:06 - 4:09
    การผ่าตัดปลาวาฬ มีขั้นตอนที่ยุ่งยากมาก
  • 4:09 - 4:11
    คุณต้องเข้าไปยืนอยู่ ในชิ้นงานของคุณ
  • 4:11 - 4:13
    เหมือนกับ เขตก่อสร้างขนาดมหึมาที่เต็มไปด้วยเลือด
  • 4:13 - 4:15
    คุณต้องใส่หมวกที่แข็งมาก
  • 4:15 - 4:17
    ต้องทำงานกับเครื่องมือหนักอึ้ง
  • 4:17 - 4:18
    ในกรณีนี้ อย่างที่บอก
  • 4:18 - 4:21
    นั่นเป็นเพียง
    กล่องเสียงของปลาวาฬสีน้ำเงิน แค่กล่องเสียงค่ะ
  • 4:21 - 4:23
    แล้วตัวฉันก็สูงแค่ห้าฟุต จะเห็นได้ว่า
  • 4:23 - 4:25
    แค่กล่องเสียง ก็ตั้ง 12 ฟุตแล้ว
  • 4:25 - 4:26
    เรารู้ได้อย่างไรว่าเกิดอะไรขึ้น
  • 4:26 - 4:29
    เรารู้ โดยดูที่กล่องเสียง หรือเส้นเสียง
  • 4:29 - 4:29
    ดูข้างในของมัน
  • 4:29 - 4:32
    อันนี้จากลูกปลาวาฬ ขนาดจึงเล็กกว่า
  • 4:32 - 4:33
    ตรงส่วนที่เป็นตัวยู (U) อันเล็กๆ
  • 4:33 - 4:34
    ที่ขีดไว้เป็นเส้นสีน้ำเงินนั้น
  • 4:34 - 4:36
    นั่นคือส่วนที่เกิดการสั่น
  • 4:36 - 4:37
    มันเหมือนกับกล่องเสียงของมนุษย์
  • 4:37 - 4:39
    พอฉันเอามือสอดเข้าไป
  • 4:39 - 4:40
    ตรงที่แขนเสื้อสีฟ้า
  • 4:40 - 4:42
    คุณจะเห็นถุงอยู่ข้างใต้
  • 4:42 - 4:43
    นั่นคืออวัยวะที่ทำหน้าที่ตะโกน
    อวัยวะถุงเลียนเสียงตด
  • 4:43 - 4:45
    นั่นคือ ถุงอากาศ หรือ ลูกโป่ง
  • 4:45 - 4:47
    ดังนั้น นี่คือสิ่งที่สัตว์พวกนี้ทำ
  • 4:47 - 4:48
    และคุณจะเห็นจากภาพนี้
  • 4:48 - 4:50
    นี่คือลูกโป่งสีดำ ที่อยู่ในลำคอ
  • 4:50 - 4:52
    อวัยวะที่ทำหน้าที่ย่อยอาหาร ตรงที่เป็นสีฟ้า
  • 4:52 - 4:54
    อวัยวะที่ทำหน้าที่หายใจ ตรงที่เป็นสีฟ้าอ่อน
  • 4:54 - 4:55
    ตอนนี้ คุณมี สีฟ้าอ่อนกับสีฟ้าเข้ม
  • 4:55 - 4:57
    ตรงกลางด้านขวา จะเห็นถุงสีดำ
  • 4:57 - 5:00
    สัตว์พวกนี้ใช้ ถุงนั่นสำหรับเปล่งเสียง
  • 5:00 - 5:02
    มันทำให้ถุงนั่นสั่น และ ส่งเสียงออกมา
  • 5:02 - 5:04
    ฟันเล็ก ๆ ของปลาวาฬก็มีถุงลมด้วยเช่นกัน
  • 5:04 - 5:05
    และมันก็มีอยู่เต็มไปหมดข้างบนหัวของมัน
  • 5:05 - 5:07
    มันก็เหมือนกับ พวกมันมีหัวเป็นถุงลม
  • 5:07 - 5:09
    มันใช้สิ่งนี้ จับอากาศเท่าที่มันจะสามารถทำได้
  • 5:09 - 5:11
    เพื่อที่จะนำอากาศ
    ลงไปกับมันด้วยเมื่อมันดำลงไปในน้ำ
  • 5:11 - 5:13
    เพราะว่าเมื่อคุณดำน้ำ ความดันจะเพิ่มขึ้น
  • 5:13 - 5:16
    และนั่น มันจะลดจำนวนของอากาศที่คุณมี
  • 5:16 - 5:18
    แต่สิ่งที่สำคัญมาก ๆ
    คือการที่มีถุงนั่นมันทำให้พวกปลาวาฬ
  • 5:18 - 5:21
    สามารถนำอากาศที่ใช้ไปแล้วมาใช้อีกได้
  • 5:21 - 5:22
    เพราะ อากาศคือสิ่งที่มีค่า
  • 5:22 - 5:24
    คุณไม่จำเป็นต้องกลับไปที่ผิวน้ำ
  • 5:24 - 5:25
    เพื่อนำอากาศมาเพิ่ม
  • 5:25 - 5:27
    ดังนั้นเมื่อคุณเปล่งเสียงใต้น้ำ
  • 5:27 - 5:28
    ถ้าคุณเป็นปลาวาฬ
  • 5:28 - 5:29
    ลองมาเริ่มทำเสียงกัน
  • 5:29 - 5:30
    ลองทำเสียงนี้นะ อาาา
  • 5:30 - 5:32
    แต่ ปลาวาฬ จะปิดปากนะ ลองดู
  • 5:32 - 5:34
    (เสียงปาก)
  • 5:34 - 5:35
    คุณกำลังฮัมอยู่ ใช่ไหมคะ
  • 5:35 - 5:36
    แต่ ปลาวาฬ ปิดรูจมูกไว้เอา ลองดู
  • 5:36 - 5:39
    (เสียงปาก)
  • 5:39 - 5:42
    เกิดอะไรขึ้น? คุณจะทำเสียงอะไรไม่ได้เลย
  • 5:42 - 5:44
    บางครั้งคุณปิดจมูก เพื่อลดระดับแรงดันทันทีที่ปิดจมูก
    เพราะคุณไปตรึงอากาศไว้ ทำให้ความดันคงที่
  • 5:44 - 5:46
    ส่วนปลาวาฬ ด้วยถุงลมพวกนี้
  • 5:46 - 5:49
    ทำให้พวกมันรักษาระบบความดันภายในเอาไว้ได้
  • 5:49 - 5:51
    ซึ่งหมายความว่า อากาศ ได้ถ่ายเทต่อเนื่อง
  • 5:51 - 5:52
    และถ้าคุณมีถุงใส่ไว้ที่ปลายจมูกของคุณ
  • 5:52 - 5:55
    คุณก็จะมีอากาศถ่ายเทต่องเนื่องได้เช่นกัน
  • 5:55 - 5:56
    ฉันหวังว่าคุณจะสนุกกับเรื่องราวที่ได้เล่าไป
  • 5:56 - 5:59
    นั่นคือสิ่งที่นักกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ
    ทำเป็นอาชีพเลี้ยงตัว
  • 5:59 - 6:01
    เราศึกษาโครงสร้างของสัตว์พวกนี้
  • 6:01 - 6:02
    พยายามเลียนแบบมัน
  • 6:02 - 6:04
    แล้วปรับใช้กับสถานการณ์ของมนุษย์
  • 6:04 - 6:07
    ซึ่งอาจทำให้เกิดวิทยาการใหม่ๆ ในการปกปักษ์รักษา
  • 6:07 - 6:09
    หรือแม้แต่การเยียวยารักษา
  • 6:09 - 6:12
    ให้ผู้คนที่เจ็บป่วย
    ด้วยการจำลองสถานการณ์แปลกประหลาด
  • 6:12 - 6:14
    หวังว่าทุกคนคงสนุก ขอบคุณค่ะ
Title:
วาฬหายใจ สื่อสาร และผายลมทางใบหน้าได้อย่างไร - จอย ไรเดนเบิร์ก (Joy Reidenberg)
Description:

ดูบทเรียนเต็มได้ที่: http://ed.ted.com/lessons/how-whales-breathe-communicate-and-fart-with-their-faces-joy-reidenberg

นักกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ จอย ไรเดนเบิร์ก ศึกษาโครงสร้างร่างกายของสัตว์ชนิดต่าง ๆ ด้วยความหวังว่า จะนำเอกลักษณ์ของสัตว์มาใช้กับมนุษย์ได้ และสัตว์ที่เธอชอบศึกษาก็คือวาฬ ใน TEDYouth Talk ไรเดนเบิร์กได้อธิบาย ว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดพิเศษนี้ ผายลมผ่านทางหน้าของมันเอง(เป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องecholocation) เพื่อที่จะส่งเสียงสื่อสัญญาณพิเศษ ผ่านไปทางน้ำ

โดย จอย ไรเดนเบิร์ก

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TED-Ed
Duration:
06:25
  • นักเปรียบเทียบสรีระสัตว์ -> นักกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ
    ทีนี้พวกคุณรู้แล้วว่ามันผายลม
    ด้วยรูด้านบน แล้วมันก็เป่าลมออกมาแบบนี้
    จมูกของพวกมัน สามารถเปิดและปิดได้จริง ๆ
    คุณต้องใช้พลังงานนี้

Thai subtitles

Revisions