< Return to Video

Arc measure

  • 0:00 - 0:02
    สิ่งที่ผมอยากพูดถึงในวิดีโอนี้คือ
  • 0:02 - 0:05
    แนวคิดเรื่องการวัดส่วนโค้ง
  • 0:05 - 0:07
    เวลาเราคิดถึงวงกลม
  • 0:07 - 0:09
    อย่างที่เราจะเห็น บางครั้งเวลาคุณ
  • 0:09 - 0:10
    เห็นอะไรอย่างเช่นการวัดส่วนโค้ง
  • 0:10 - 0:12
    คุณอาจคิดว่ามันเป็นความยาวของส่วนโค้ง
  • 0:12 - 0:15
    แต่ความยาวส่วนโค้งที่จริง
    แล้วเป็นแนวคิดอีกอย่าง
  • 0:15 - 0:17
    เราจะเปรียบเทียบสองอย่างนี้กัน
  • 0:17 - 0:20
    ความยาวส่วนโค้ง arc length
    กับค่าวัดส่วนโค้ง arc measure
  • 0:20 - 0:23
    ค่าวัดส่วนโค้ง มันก็คือ
  • 0:23 - 0:25
    คำหรูหราที่ใช้บอกว่า
  • 0:25 - 0:27
    ถ้าผมมีวงกลมตรงนี้
  • 0:27 - 0:30
    นี่คือวงกลมที่ผมวาดได้ดีที่สุดแล้ว
  • 0:30 - 0:33
    ผมมีวงกลมตรงนี้
  • 0:33 - 0:37
    จุดศูนย์กลางของวงกลม ลองเรียกจุดนั้นว่า O
  • 0:37 - 0:40
    ขอผมใส่จุดอื่นตรงนี้
  • 0:40 - 0:44
    สมมุติว่านี่คือจุด A
  • 0:44 - 0:47
    สมมุติว่านี่คือจุด B
  • 0:47 - 0:51
    และสมมุติว่านี่คือจุด C ตรงนี้
  • 0:51 - 0:53
    และสมมุติว่าผมมี
  • 0:53 - 0:57
    สมมุติว่าผมมีมุมตรงกลาง ตรงนี้
  • 0:57 - 0:59
    เพราะมันรวมจุดศูนย์กลางของวงกลม
  • 0:59 - 1:02
    มุมที่จุดศูนย์กลาง มุม AOB
  • 1:02 - 1:07
    สมมุติว่ามันวัดได้ 120 องศา
  • 1:10 - 1:11
    และถ้ามีคนบอกว่า
  • 1:11 - 1:14
    ค่าวัดของส่วนโค้ง AB เป็นเท่าใด?
  • 1:15 - 1:16
    ขอผมเขียนลงไปนะ
  • 1:16 - 1:18
    ค่าวัด
  • 1:18 - 1:22
    ถ้ามีคนถามว่าค่าวัดของส่วนโค้ง
    AB เป็นเท่าใด
  • 1:22 - 1:24
    และเขาเขียนอย่างนี้
  • 1:24 - 1:27
    มันหมายถึงส่วนโค้ง AB ตรงนี้
  • 1:27 - 1:31
    มันเป็นส่วนโค้งอันเล็ก มันมีวิธีเชื่อม AB สองวิธี
  • 1:31 - 1:33
    คุณเชื่อมมันตรงนี้
  • 1:33 - 1:35
    นี่คือระยะสั้น
  • 1:35 - 1:37
    หรือคุณไปอีกทางหนึ่ง
  • 1:37 - 1:40
    ซึ่งก็คือส่วนโค้งอันใหญ่
  • 1:40 - 1:42
    ทีนี้ ถ้ามีคนพูดถึงส่วนโค้งใหญ่
  • 1:42 - 1:45
    เขาจะเรียกมันว่า ACB
  • 1:45 - 1:47
    เมื่อคุณมีอักษรแค่สองตัว
  • 1:47 - 1:49
    คุณถือว่ามันเป็นระยะที่สั้นที่สุด
    ระหว่างจุดสองจุด
  • 1:49 - 1:52
    คุณถือว่ามันเป็นเส้นโค้งสั้น
  • 1:52 - 1:53
    เวลาระบุส่วนโค้งใหญ่
  • 1:53 - 1:55
    คุณจะใส่ตัวอักษรที่สาม
  • 1:55 - 1:57
    ให้มันไปตามเส้นยาว
  • 1:57 - 2:01
    ค่าวัดของส่วนโค้ง AB บางครั้ง
  • 2:01 - 2:03
    คุณจะเห็นมันมีวงเล็บตรงนี้
  • 2:03 - 2:06
    ทั้งหมดนี้ นี่คือค่าวัด
  • 2:06 - 2:10
    ของมุมที่ศูนย์กลางที่ตัดกับส่วนโค้งนั้น
  • 2:10 - 2:13
    มุมที่ศูนย์กลางที่ตัดกับส่วนโค้งนั้น
  • 2:13 - 2:16
    วัดได้ 120 องศา
  • 2:16 - 2:20
    นี่ก็แค่ 120 องศา
  • 2:20 - 2:22
    ทีนี้ บางคนอาจถามว่า
  • 2:22 - 2:24
    แล้วส่วนโค้งใหญ่ล่ะ?
  • 2:24 - 2:25
    ลองเขียนมันดู
  • 2:25 - 2:27
    ถ้าเราพูดถึงส่วนโค้ง ACB
  • 2:27 - 2:29
    เราจะวนไปอีกทาง
  • 2:29 - 2:32
    นี่คือส่วนโค้งใหญ่
  • 2:32 - 2:37
    แล้วค่าวัดของมุม ACB เป็นเท่าใด
  • 2:37 - 2:39
    ย้ำอีกครั้ง เราใช้ตัวอักษรสามตัว
  • 2:39 - 2:41
    เราจึงระบุส่วนโค้งใหญ่
  • 2:41 - 2:45
    มุมนี้ มุมที่ศูนย์กลางนี่ตรงนี้
  • 2:45 - 2:49
    วนรอบวงกลมทั้งรอบเท่ากับ 360 องศา
  • 2:49 - 2:53
    นี่จะเท่ากับ 360 ลบ 120
  • 2:53 - 2:55
    ที่เราไม่นับ
  • 2:55 - 2:57
    360 องศาลบ 120 จะเท่ากับ
  • 2:57 - 3:02
    240 องศา
  • 3:02 - 3:07
    ค่าวัดของมุมนี่ตรงนี้เท่ากับ 240 องศา
  • 3:07 - 3:12
    ค่าวัดของส่วนโค้งนี้
  • 3:12 - 3:14
    ผมต้องระวังไม่พูดคำว่าความยาวของส่วนโค้ง
  • 3:14 - 3:16
    ค่าวัดของส่วนโค้งนี้จะเท่ากับ
  • 3:16 - 3:18
    ขนาดของมุมที่ศูนย์กลาง
  • 3:18 - 3:22
    มันจะเท่ากับ 240 องศา
  • 3:24 - 3:27
    ค่าวัดส่วนโค้งเหล่านี้จะเท่ากัน
  • 3:27 - 3:30
    ไม่ว่าขนาดวงกลมเป็นเท่าใด
  • 3:30 - 3:31
    และนั่นคือสิ่งที่แตกต่าง
  • 3:31 - 3:34
    ระหว่างค่าวัดส่วนโค้งกับความยาวส่วนโค้ง
  • 3:34 - 3:37
    ผมมีวงกลมสองวง
  • 3:37 - 3:39
    วงกลมนี่ตรงนี้
  • 3:39 - 3:42
    กับวงกลมนั่นตรงนั้น
  • 3:42 - 3:46
    ตราบใดที่มุมที่ศูนย์กลางที่ตัดกับส่วนโค้ง
  • 3:46 - 3:48
    มีค่าวัดได้องศาเท่ากัน
  • 3:48 - 3:53
    สมมุติว่ามุมที่วัดได้เท่ากับ
  • 3:53 - 3:54
    พวกนี้คือมุมที่ศูนย์กลาง
  • 3:54 - 3:56
    เราสมมุติว่าจุดยอดของมุม
  • 3:56 - 3:57
    คือศูนย์กลางของวงกลม
  • 3:57 - 4:00
    ตราบใดที่สองมุมเท่ากัน
  • 4:00 - 4:02
    มุมศูนย์กลางสองมุมนี้มีค่าวัดได้เท่ากัน
  • 4:02 - 4:05
    แล้วค่าวัดส่วนโค้ง แล้วค่าวัดส่วนโค้ง
  • 4:05 - 4:07
    จะเท่ากัน
  • 4:07 - 4:10
    แต่แน่นอน ความยาวส่วนโค้ง
    สองเส้นนี้จะต่างกัน
  • 4:10 - 4:12
    ความยาวส่วนโค้งจะไม่ขึ้นอยู่
  • 4:12 - 4:15
    กับค่าวัดของมุมที่ศูนย์กลาง
  • 4:15 - 4:17
    ความยาวส่วนโค้งจะขึ้น
  • 4:17 - 4:20
    อยู่กับขนาดของวงกลมนั้น
  • 4:20 - 4:23
    ค่าวัดส่วนโค้งขึ้นอยู่กับ
  • 4:23 - 4:26
    แค่ค่ามุมที่ศูนย์กลาง
  • 4:26 - 4:29
    ที่ตัดกับส่วนโค้งนั้น
  • 4:29 - 4:33
    ค่าวัดส่วนโค้งของคุณมากที่สุด
    จะเป็น 360 องศา
  • 4:33 - 4:37
    ค่าวัดส่วนโค้งที่น้อยที่สุดจะเป็น 0 องศา
  • 4:37 - 4:40
    มันวัดเป็นองศา ไม่ใช่หน่วยความยาว
  • 4:40 - 4:43
    เหมือนกับความยาวส่วนโค้ง
  • 4:43 - 4:44
    ขอผมเขียนค่านี้ลงไปนะะ
  • 4:44 - 4:46
    มันขึ้นอยู่กับ --
  • 4:46 - 4:49
    นี่คือสิ่งที่ทำให้เกิดค่านี้
  • 4:49 - 4:54
    คือการวัดมุมที่ศูนย์กลาง มุมที่ศูนย์กลาง
  • 4:58 - 5:00
    ที่ตัดกับส่วนโค้ง
  • 5:01 - 5:06
    มันตัด ตัดส่วนโค้ง
  • 5:07 - 5:09
    เวลาคุณพูดถึงความยาวส่วนโค้ง
  • 5:09 - 5:11
    มันจะขึ้นอยู่กับมุม
  • 5:11 - 5:13
    และมันยังขึ้นอยู่กับ มันจะขึ้นอยู่กับ
  • 5:13 - 5:14
    ขนาดของมุมที่ศูนย์กลาง
  • 5:14 - 5:17
    กับขนาดของวงกลม
  • 5:17 - 5:19
    ขนาดของวงกลม
  • 5:19 - 5:22
    คุณกำลังพูดถึงความยาวตอนนี้
  • 5:22 - 5:23
    เวลาคุณพูดถึงความยาวส่วนโค้ง
  • 5:23 - 5:25
    ในขณะที่ตรงนี้ คุณกำลังพูดถึงการวัดเป็นองศา
Title:
Arc measure
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
05:27
Amara Bot edited Thai subtitles for Arc measure

Thai subtitles

Revisions