-
-
ยินดีต้อนรับสู่หัวข้อกฎยกกำลังระดับหนึ่งครับ
-
ลองเริ่มด้วยโจทย์สักข้อ
-
ถ้าผมถามคุณว่า 2 -- เส้นนี่มันอ้วน
-
กว่าที่ผมอยากได้ไปหน่อย
แต่ปล่อยมันไป จะได้ไม่
-
แปลก -- 2 ยกกำลังสาม คูณ -- คูณนี่คือ
-
การบอกว่าคูณอีกวิธี --
ถ้าผมถามคุณว่า 2 ยกกำลังสาม
-
คูณ 2 ยกกำลังห้าเป็นเท่าไหร่
คุณจะหาคำตอบอย่างไร?
-
ที่จริง ขอผมเปลี่ยนเป็นเส้นบางกว่านี้
ดีกว่าเพราะมันดูแย่
-
2 ยกกำลังสามคูณ 2 ยกกำลังห้า
-
มีวิธีหนึ่งที่ผมว่าคุณรู้
-
คือคุณหาได้ว่า 2 ยกกำลังสามได้ 8 และ
-
2 ยกกำลังห้านั่นได้ 32
-
แล้วคุณก็คูณพวกมันเข้า
-
8 คูณ 32 ได้ 240 บวก ได้ 256 จริงไหม?
-
คุณทำแบบนั้นได้
-
มันสมเหตุสมผลเพราะการหา 2
-
ยกกำลัง 3 กับ 2 ยกกำลังห้านั้นไม่ยาก
-
แต่ถ้าเลขเหล่านี้ใหญ่กว่านี้มาก วิธีนี้อาจ
-
ยากขึ้นหน่อย
-
ดังนั้นผมจะใช้แสดงการใช้
กฎเลขยกกำลัง คุณจะได้
-
คูณเลขยกกำลัง หรือจำนวนที่ยกกำลังโดย
-
ไม่ต้องคิดเลขเยอะ หรือคุณ
-
สามารถจัดการตัวเลขมากกว่าที่คุณทำได้
-
ด้วยทักษะเลขธรรมดามากนัก
-
เอาล่ะ ลองคิดกันว่า 2 กำลังสามคูณ
-
2 กำลังห้าหมายถึงอะไร
-
2 ยกกำลังสามคือ 2 คูณ 2 คูณ 2 จริงไหม?
-
และเราคูณมันเข้ากับ 2 กำลังห้า
-
และนั่นคือ 2 คูณ 2 คูณ 2
คูณ 2 คูณ 2
-
แล้วเราได้อะไร?
-
เรามี 2 คูณ 2 คูณ 2 คูณ2 คูณ 2 คูณ
-
2 คูณ 2 คูณ 2
-
จริงๆ แล้วเรากำลังคูณ 2 กี่ครั้ง?
-
หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด
-
มันเหมือนกับ 2 ยกกำลังแปด
-
น่าสนใจ
-
3 บวก 5 เท่ากับ 8
-
และมันดูมีเหตุผลเพราะ 2 ยกกำลัง 3
คือ 2 คูณ
-
ตัวเองสามครั้ง, คูณกำลังห้าคือ 2 คูณ
-
ตัวเองห้าครั้ง เราก็เลยคูณ 2
-
เราจะคูณ 2 แปดครั้ง
-
ผมหวังว่าผมคงทำให้คุณงงสำเร็จแล้ว
-
ลองทำอีกอันดีกว่า
-
-
ถ้าผมบอกว่า 7 กำลังสองคูณ 7 กำลังสี่
-
นั่นคือ 4
-
นั่นเท่ากับ 7 คูณ 7 ใช่ มันคือ 7 กำลังสอง
-
คูณ ตรงนี้ลองคิด 7 กำลังสี่
-
7 คูณ7 คูณ 7 คูณ 7
-
ทีนี้ เรากำลังคูณ 7 กับตัวเองหกครั้ง
-
มันจึงเท่ากับ 7 กำลังหก
-
โดยทั่วไป เมื่อใดก็ตามที่ผมคูณเลขยกกำลัง
-
ฐานเดียวกัน นี่คือประเด็นสำคัญ
ผมสามารถบวกเลขชี้กำลังได้
-
7 ยกกำลังหนึ่งร้อย คูณ 7 ยกกำลังห้าสิบ
-
และสังเกตว่านี่คือตัวอย่าง
-
มันยากมากหากเราไม่มีคอมพิวเตอร์คำนวณ
-
ว่า 7 ยกกำลังหนึ่งร้อยเป็นเท่าใด
-
เช่นเดียวกัน การหาค่า 7 ยกกำลังห้าสิบ
นั้นยากมากหาก
-
ไม่มีคอมพิวเตอร์
-
แต่เราบอกได้ว่านี่เท่ากับ 7 ยกกำลัง 100 บวก 50
-
ซึ่งเท่ากับ 7 ยกกำลัง 150
-
ทีนี้ผมอยากเตือนคุณสักหน่อยว่า ดูให้ชัดว่า
-
คุณกำลังคูณอยู่
-
เพราะถ้าผมมี 7 ยกกำลัง 100
บวก 7 ยกกำลัง 50
-
ผมจะทำอะไรได้น้อยมาก
-
ผมจัดรูปจำนวนนี้ไม่ได้
-
แต่ผมจะให้คุณดูอยู่ดี
-
ถ้าผมมี 2 ยกกำลัง 8 คูณ 2 กำลัง 20
เรารู้ว่าเรา
-
บวกเลขชี้กำลังของพวกมันได้
-
คุณจะได้ 2 กำลัง 28 จริงไหม?
-
ถ้าเกิดผมมี 2 กำลัง 8 บวก 2 กำลัง 8 ล่ะ?
-
นี่เป็นคำถามลวงนิดหน่อย
-
ผมเพิ่งบอกไปว่าถ้าเราบวก เราจะ
-
ทำอะไรไม่ได้
-
เราจัดรูปมันไม่ได้
-
แต่มันมีกลเม็ดนิดหน่อยตรงนี้ เพราะเรา
-
มี 2 กำลัง 8 สองตัว จริงไหม?
-
มี 2 กำลัง 8 คูณ 1, 2 กำลัง 8 คูณ 2
-
นี่จึงเท่ากบ 2 คูณ 2 กำลัง 8 จริงไหม?
-
2 คูณ 2 กำลัง 8
-
นั่นคือ 2 กำลัง 8 บวกตัวเอง
-
และ 2 กำลัง 8 มันก็เหมือนกับ 2
-
กำลัง 1 คูณ 2 กำลัง 8
-
และ 2 กำลัง 1 คูณ 2 กำลัง 8
ตามกฎที่เราเพิ่ง
-
ทำไปเท่ากับ 2 กำลัง 9
-
ผมได้ยกตัวอย่างให้คุณดูไป
-
กฎนี้ใช้ได้กับเลขชี้กำลังลบด้วย
-
ถ้าผมบอกว่า 5 ยกกำลังลบ 100
คูณ 3 ยกกำลัง
-
อย่าง 100 -- ข้อโทษที คูณ 5 --
นี่ต้องเป็น 5
-
ผมไม่รู้ว่าสมองผมเป็นอะไร
-
5 ยกกำลังลบ 100 คูณ 5 ยกกำลัง 102 มันจะ
-
เท่ากับ 5 กำลังสอง จริงไหม?
-
ผมก็แค่คิดลบ 100 บวก 102
-
นี่คือ 5
-
ขอโทษทีที่สมองผมพัง
-
แน่นอน มันเท่ากับ 25
-
และนี่คือกฎเลขยกกำลังข้อแรก
-
ตอนนี้ผมจะแสดงกฎอีกข้อ และมัน
-
มีที่มาเดียวกัน
-
ถ้าผมถามคุณว่า 2 กำลัง 9
ส่วน 2 กำลัง 10 เท่ากับอะไร
-
มันอาจดูน่าสับสนหน่อย
-
แต่ที่จริงแล้ว มันก็คือกฎเดียวกัน เพราะ
-
เราเขียนมันอีกอย่างได้ว่าอะไร?
-
เรารู้ว่านี่ก็เหมือนกับ 2 กำลัง 9
-
ส่วน 1 ส่วน 2 กำลัง 10 จริงไหม?
-
แล้วเรารู้ว่า 1 ส่วน 2 กำลัง 10
-
ตรงนี้คุณเขียนค่านี้ใหม่ได้เป็น
2 กำลัง 9 คูณ 2 กำลัง
-
ลบ 10 จริงไหม?
-
ที่ผมทำคือผมเอา 1 ส่วน 2 กำลัง 10 มา
แล้วผมพลิกมัน
-
และให้เลขชี้กำลังเป็นลบ
-
ผมว่าคุณรู้แล้วจากเรื่องเลขยกกำลัง
-
ระดับสอง
-
และตอนนี้ เราก็แค่บวกเลขชี้กำลัง
-
9 บวกลบ 10 เท่ากับ 2 ยกกำลังลบ 1 หรือเรา
-
บอกว่ามันเท่ากับ 1/2 จริงไหม?
-
มันมีสิ่งที่น่าสนใจตรงนี้
-
เมื่อใดก็ตามที่มีเลขยกกำลังข้างล่าง
คุณใส่มัน
-
ในตัวเศษแบบที่เราทำตรงนี้
แต่เปลี่ยนมันเป็นลบ
-
นั่นทำให้เราได้กฎเลขยกกำลังข้อสอง
การเขียนรูปอย่างง่าย
-
คือเราบอกได้ว่าค่านี้เท่ากับ
2 กำลัง 9 ลบ 10
-
ซึ่งเท่ากับ 2 กำลังลบ 1
-
ลองทำปัญหาแบบนั้นอีกข้อ
-
ถ้าผมบอกว่า 10 กำลัง 200 ส่วน 10 กำลัง 50
-
นั่นเท่ากับ 10 กำลัง 200 ลบ 150
ซึ่งเท่ากับ 150
-
เช่นเดียวกัน ถ้าผมมี 7 กำลังสี่สิบส่วน 7 กำลัง
-
ลบห้า มันจะเท่ากับ 7 ยกกำลัง
-
40 ลบลบ 5
-
มันก็จะเท่ากับ 7 กำลังสี่สิบห้า
-
ทีนี้ผมอยากให้คุณคิดดู
ว่ามันสมเหตุสมผลหรือไม่?
-
ตรงนี้ เราเขียนสมการนี้ใหม่ได้เป็น 7 กำลัง
-
สี่สิบคูณ 7 กำลังห้า จริงไหม?
-
เราเอา 1 ส่วน 7 กำลังลบ 5 นี้มาแล้วเปลี่ยน
-
เป็น 7 กำลังห้า และนั่นก็คือ 7
-
กำลังสี่สิบห้า
-
กฎเลขยกกำลังข้สอง
ที่ผมเพิ่งสอนคุณไปนั้น
-
ไม่ต่างจากข้อแรก
-
ถ้าเลขยกกำลังอยู่ในตัวส่วน แน่นอน
-
มันต้องมีฐานเดียวกัน และคุณกำลังหารอยู่
คุณก็ลบ
-
มันจากเลขชี้กำลังในตัวเศษ
-
ถ้าทั้งคู่เป็นตัวเศษ อย่างในกรณีนี้
-
7 กำลังสี่สิบบวก 7 กำลังห้า --
ที่จริงมันไม่มี
-
ตัวเศษแล้ว แต่พวกมันคูณกัน
-
และแน่นอน คุณต้องมีฐานเดียวกัน
-
แล้วคุณก็บวกเลขชี้กำลัง
-
ผมจะยกตัวอย่างอีกอันหนึ่ง และ
-
มันเป็นคำถามลวงนิดหน่อย
-
2 กำลัง 9 คูณ 4 กำลัง 100 เป็นเท่าใด?
-
ที่จริง ผมไม่ควรสอนเรื่องนี้ให้คุณ
-
คุณต้องรอผมสอนกฎข้อต่อไปก่อน
-
แต่ผมจะบอกคำใบ้ให้
-
นี่เหมือนกับ 2 กำลัง 9
คูณ 2 กำลังสองแล้วกำลัง 100
-
และกฎที่ผมจะสอนคุณตอนนี้คือ
เมื่อคุณมี
-
อะไรสักอย่างยกกำลัง แล้ว
จำนวนนั้นยกกำลัง
-
อีก คุณจะคูณเลขชี้กำลังเข้าด้วยกัน
-
นี่ก็จะเป็น 2 กำลัง 9 คูณ 2 กำลัง 200
-
และด้วยกฎข้อแรกที่เราเรียน มันจะ
-
เป็น 2 กำลัง 209
-
ในบทเรียนหน้า ผมจะสอนเรื่องนี้
-
โดยละเอียด
-
ผมว่าผมทำให้คุณงงแล้ว
-
แต่ดูวิดีโอหน้า แล้วจากนั้น
-
ผมว่าคุณคงพร้อมจะทำเรื่อง
กฎเลขยกกำลังระดับหนึ่งแล้ว
-
ขอให้สนุกนะ
-