< Return to Video

Blue Period - The Dichotomy between Talent and Hard Work

  • 0:06 - 0:09
    Blue Period: ความแตกต่างระหว่าง
    พรสวรรค์และการทำงานหนัก
  • 0:09 - 0:12
    ... พรสวรรค์คืออะไร?
  • 0:12 - 0:15
    การเรียกคนที่มีพรสวรรค์แท้จริงแล้ว
    มีความว่าอย่างไร?
  • 0:15 - 0:21
    คำจำกัดความอย่างเป็นทางการของพรสวรรค์คือ
    บุคคลที่มี "ความถนัดหรือทักษะตามธรรมชาติ"
  • 0:21 - 0:24
    หลายคนถือว่าสิ่งนี้เป็นการมีของขวัญ
  • 0:24 - 0:27
    ทักษะที่หาได้ โดยไม่ใช่ทุกคนสามารถ
    พัฒนาได้หรือได้มา
  • 0:27 - 0:30
    แต่เป็นความสามารถตามธรรมชาติ
    ที่บางคนเกิดมาพร้อม
  • 0:30 - 0:35
    อย่างไรก็ตาม สำหรับหลาย ๆ คน
    พรสวรรค์เป็นคำที่เต็มไปด้วยความหมายแฝง
  • 0:35 - 0:40
    ของการดูถูกการทำงานหนัก
    เพื่อให้บรรลุทักษะความสามารถที่สูงดังกล่าว
  • 0:40 - 0:44
    เช่นเดียวกับตัวละครหลักใน
    Blue Period ของ Tsubasa Yamaguchi
  • 0:44 - 0:49
    ผู้คนชมความคิดสร้างสรรค์ โดยถือว่าการทำงาน
    หนักของพวกเขามาจากพรสววรรค์เพียงอย่างเดียว
  • 0:49 - 0:52
    และไม่เคยเอ่ยถึงเวลาหรือความพยายามเลย
  • 0:52 - 0:55
    จำเป็นเพื่อให้บรรลุความสำเร็จที่พวกเขาอยู่
  • 0:55 - 0:59
    เพื่อความเป็นธรรมต่อคนส่วนใหญ่
    จะทำเช่นนี้โดยไม่รู้ตัว
  • 0:59 - 1:03
    พวกเขามักไม่พูดด้วย
    ความอาฆาตพยาบาทหรือดูถูก -
  • 1:03 - 1:06
    เป็นวิธีของตนเองในการพยายาม
    ชมงานที่สร้างสรรค์
  • 1:06 - 1:08
    ซึ่งโดยไม่รู้ตัวหรือไม่นั้น
  • 1:08 - 1:11
    คำว่า 'พรสวรรค์'
    สามารถนำมาซึ่งความเข้าใจผิดหลายอย่าง
  • 1:11 - 1:15
    และในกรณีของ Blue Period โดยเฉพาะต่อศิลปิน
  • 1:15 - 1:17
    ด้วยความเข้าใจผิดทั่วไปนี้
  • 1:17 - 1:21
    ความขัดแย้งทางศิลปะ
    ของพรสวรรค์กับการทำงานหนัก
  • 1:21 - 1:23
    ที่ Tsubasa Yamaguchi ใช้โอกาส
  • 1:23 - 1:28
    ในการแสดงความเสียสละและความยากลำบาก
    ที่ศิลปินต้องเอาชนะ
  • 1:28 - 1:32
    พร้อม ๆ กับการทำงานหนัก
    ที่เรียบง่ายหรือถูกละเลย
  • 1:32 - 1:33
    เพียงแค่ 'การมี พรสวรรค์'
  • 1:33 - 1:37
    และไม่มีอะไรสรุปสิ่งนี้ได้มากไปกว่า
    คำพูดของ Yamaguchi:
  • 1:37 - 1:41
    "ฉันต้องการสร้างการ์ตูน
    เกี่ยวกับการทำงานหนัก"
  • 1:41 - 1:45
    Blue Period ประสบความสำเร็จ
    ในการแสดงตัวอย่างหนึ่งของมุมมองศิลปะ
  • 1:45 - 1:48
    ที่เข้าใจผิด ในหน้าแรกเพียงอย่างเดียว
  • 1:48 - 1:51
    ซึ่งเป็นตัวอย่างภายในของความไม่รู้
  • 1:51 - 1:55
    และหน้านี้ที่มีวลีที่ศิลปินทุกคนคุ้นเคย:
  • 1:55 - 1:58
    "ภาพวาดของ Picasso มีดีอย่างไร*" และ
  • 1:58 - 2:01
    “ดูเหมือนสิ่งที่ฉันวาดได้”
  • 2:01 - 2:03
    วลีเหล่านี้มักถูกกล่าวโดย
  • 2:03 - 2:06
    ผู้ที่ไม่เคยหยิบพู่กันขึ้นมาในชีวิต
  • 2:06 - 2:09
    หรือไม่เคยพยายามวาดตัวเองเลย
  • 2:09 - 2:13
    สำหรับ Yatora คือการดูถูกงานศิลปะ
    ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสมเพชไร้เหตุผล
  • 2:13 - 2:16
    มากกว่าการวิจารณ์หรือวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์
  • 2:16 - 2:19
    โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื่องจาก
    เขาขาดประสบการณ์ทางศิลปะ
  • 2:19 - 2:21
    และที่น่าสนใจคือ
  • 2:21 - 2:23
    เมื่อเขาเจอภาพวาดที่เขาชอบ
  • 2:23 - 2:27
    นั่นคือเมื่อเขาเห็นคุณค่าในทักษะของศิลปิน
  • 2:27 - 2:32
    แต่โปรดสังเกตว่า แม้ว่าเขาจะใช้เวลา
    ในการชมเชยงานของรุ่นพี่ Mori
  • 2:32 - 2:34
    คำวิเศษณ์ "T" ก็ปรากฏขึ้นอีกครั้ง
  • 2:34 - 2:38
    และ ไม่ ไม่ใช่ คำ "T" ที่คุณอาจนึกถึง
  • 2:38 - 2:41
    (พรสวรรค์! ฉันพูดถึงพรสวรรค์ ๆ)
  • 2:41 - 2:43
    Yatora พูดกับรุ่นพี่ Mori ว่า:
  • 2:43 - 2:45
    “ผมอิจฉาพรสรรค์ของรุ่นพี่ครับ”
  • 2:45 - 2:47
    และค่อนข้างถูกต้อง เธอตอบกลับมาว่า:
  • 2:47 - 2:49
    “ขอบคุณสำหรับคำชม แต่...
  • 2:49 - 2:53
    ฉันตั้งใจทำงานเพื่อศึกษาศิลปะ
    และวิธีการสร้างงานศิลปะ”
  • 2:53 - 2:58
    การเรียกสิ่งนี้ว่า 'พรสวรรค์'
    เหมือนกับว่าฉันไม่ได้พยายามอะไรเลยน่ะ ..”
  • 2:58 - 3:01
    บางคนอาจคิดว่าเธอพูดแรงแบบนี้
  • 3:01 - 3:05
    เนื่องจาก Yatora ไม่ได้หมายถึงความคิดเห็น
    ของเขาด้วยความหมายเชิงลบใด ๆ
  • 3:05 - 3:09
    อย่างไรก็ตาม สำหรับศิลปิน "คำชม"
  • 3:09 - 3:12
    คือคำพูดที่วนซ้ำแล้วซ้ำเล่า
    ตลอดชีวิตของศิลปิน
  • 3:12 - 3:17
    และนักสร้างสรรค์หลายคนรู้ดีว่า
    'การหึงหวงพรสวรรค์ของคุณ' หมายถึงอะไร:
  • 3:17 - 3:20
    ผมอิจฉาบางสิ่งที่มากับคุณอย่างเป็นธรรมชาติ
  • 3:20 - 3:22
    บางอย่างที่มาหาคุณได้ง่าย ๆ
  • 3:22 - 3:27
    และมักไม่พูดกันเกี่ยวกับสัปดาห์ เดือน ปี
  • 3:27 - 3:30
    หรือแม้กระทั่งทศวรรษที่ทรหด
  • 3:30 - 3:32
    ที่ศิลปินจำนวนมากทุ่มเทให้กับงานตัวเอง
  • 3:32 - 3:35
    สิ่งที่ Yatora ไม่รู้
    ในช่วงเริ่มต้นของมังงะ
  • 3:35 - 3:39
    คือการที่ผู้คนพัฒนาทักษะทางศิลปะ
    ในระดับต่าง ๆ
  • 3:39 - 3:42
    บางคนอาจใช้เวลาทั้งชีวิตเพื่อให้ได้
    ทักษะ 'สูง'
  • 3:42 - 3:45
    ในขณะที่มีการพบ "อัจฉริยะ" รุ่นเยาว์ทุกปี
  • 3:45 - 3:50
    ศิลปะสร้างสรรค์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ
    การเรียนรู้แบบคู่ขนาน
  • 3:50 - 3:54
    แม้แต่อัจฉริยะยังต้องเรียนรู้จากพื้นฐาน
    และสร้างทักษะของพวกเขาขึ้น -
  • 3:54 - 3:59
    แต่เป็นเวลาของการเติบโตทางศิลปะ
    ที่แตกต่างจากบุคคลสู่บุคคล
  • 3:59 - 4:03
    สรุป ความพยายามที่จะเป็นเพียงแค่
    "พรสวรรค์" ก็เช่นกัน
  • 4:03 - 4:07
    เป็นเรื่องที่ดี รุนแรง
    และดูถูกเวลาที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ไป
  • 4:07 - 4:09
    จึงเป็นเหตุคล้ายกับกรณีของรุ่นพี่ Mori
  • 4:09 - 4:12
    บางคนไม่เชื่อตัวเองว่ามีพรสวรรค์
  • 4:12 - 4:16
    เพราะแรงผลักดันและความหลงใหล
    ทำให้พวกเขามาอยู่ที่นี่
  • 4:16 - 4:18
    ไม่ใช่ของขวัญจากธรรมชาติ
    ที่โชคดีอย่างเหลือเชื่อ
  • 4:18 - 4:23
    และเพื่อพิสูจน์ว่านี่เป็นปัญหาทั่วไปที่
    creative หลายคนต้องเผชิญ
  • 4:23 - 4:27
    ขอยกตัวอย่างคำพูดของรุ่นพี่ Mori
    ใน Blue Period
  • 4:27 - 4:31
    เมื่อเทียบกับบทสัมภาษณ์ที่บันทึกไว้กับ
    นักแสดงชื่อดัง Will Smith
  • 4:31 - 4:33
    “ฉันไม่มีพรสวรค์
  • 4:33 - 4:37
    ฉันแค่ใช้เวลาคิดเกี่ยวกับ
    ศิลปะมากกว่าคนอื่น”
  • 4:37 - 4:42
    ฉันไม่เคยมองตัวเองว่ามีพรสวรรค์จริง ๆ
  • 4:42 - 4:48
    ฉันมองว่าตัวเองมีความสามารถ
    สูงกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย
  • 4:48 - 4:57
    และจุดที่ฉันเก่งก็ไร้สาระและมีจรรยาบรรณ
    ในการทำงานที่น่าขยะแขยง”
  • 4:57 - 5:01
    และไม่น่าแปลกใจเลยที่ศิลปิน
    จะมีส่วนร่วมในแฮชแท็ก
  • 5:01 - 5:04
    ที่เกี่ยวข้องกับเวลาที่จำเป็น
    ในการพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่อง
  • 5:04 - 5:08
    ซึ่งบ่อยครั้งที่คนทั่วไปของคุณเชื่อว่า
    ศิลปินแค่กระพริบตา
  • 5:08 - 5:09
    และผลงานของพวกเขาก็ถูกสร้างขึ้น
  • 5:09 - 5:11
    แฮชแท็กเช่น #beforeandafter
  • 5:11 - 5:15
    #Sketch VS Final, #decadeofart, #artglowup
  • 5:15 - 5:18
    ต่อเนื่องกันในชุมชนศิลปะ
  • 5:18 - 5:21
    และแฮชแท็กเหล่านั้นไม่ได้เป็นเพียง
    เครื่องเตือนใจที่ดี
  • 5:21 - 5:23
    ให้ศิลปินเห็นถึงความก้าวหน้า
    ของพวกเขาเท่านั้น
  • 5:23 - 5:26
    แต่มีไว้เตือนใจคนดูที่ไม่ใช่ศิลปะ
  • 5:26 - 5:28
    ใช่ไหม!
  • 5:28 - 5:32
    อันที่จริงมันต้องใช้การฝึกฝน ความพยายาม
    และการฝึกฝนอย่างมาก
  • 5:32 - 5:34
    ไม่ต้องพูดถึงการเอาชนะความสงสัยในตนเอง
  • 5:34 - 5:39
    การวาดรูปไม่ออก และความท้าทายมากมาย
    เพื่อประสบความสำเร็จ
  • 5:39 - 5:42
    แนวคิดเรื่องพรสวรรค์นั้น
    เป็นเอกลักษณ์ที่มีอคติ
  • 5:42 - 5:44
    เชื่อว่าบางคนเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์
  • 5:44 - 5:45
    และในฐานะผู้ที่ไม่ยอมรับ
  • 5:45 - 5:49
    ฉันไม่ได้กำลังพูดว่าคนที่เชื่อในแนวคิด
    เรื่องพรสวรรค์นั้นผิด
  • 5:49 - 5:51
    หรือพรสวรรค์นั้นไม่ใช่สิ่งของ
  • 5:51 - 5:54
    ในทางกลับกัน สิ่งที่ฉันชอบเกี่ยวกับ
    เรื่องราวของ Tsubasa Yamaguchi
  • 5:54 - 5:57
    ก็คือเขาแสดงให้เห็นถึงอุดมการณ์ของพรสวรรค์
  • 5:57 - 6:00
    จากมุมมองของอัจฉริยะผู้กระทำผิด
    ที่เริ่มต้นเรื่องนี้
  • 6:00 - 6:03
    โดยให้คุณค่ากับงานศิลปะเป็นของขวัญ
    ตามอำเภอใจ
  • 6:03 - 6:06
    และผ่านการพัฒนาของเขาในฐานะบุคคล
  • 6:06 - 6:08
    ในฐานะนักเรียนที่ฉับไวและตรงไปตรงมา
  • 6:08 - 6:12
    ที่เริ่มสัมผัสกับความท้าทาย
    ในการเป็นศิลปินด้วยตัวเอง
  • 6:12 - 6:16
    ทำให้เขาได้เรียนรู้และ
    รู้สึกว่าการเป็นศิลปินอย่างแท้จริงคืออะไร
  • 6:16 - 6:17
    ไม่ใช่ของขวัญจากพระเจ้าทั้งหมด
  • 6:17 - 6:21
    แต่เป็นการเลือกอย่างต่อเนื่องในการปรับปรุง
    และท้าทายตนเอง
  • 6:21 - 6:25
    เพราะอย่างที่ Lynn Helding
    อธิบายไว้อย่างลงตัว
  • 6:25 - 6:29
    (ผู้จัดพิมพ์บทความวิชาการ
    Innate Talent: Myth or Reality)?
  • 6:29 - 6:34
    “ในที่สุด คุณค่าของพรสวรรค์
    ในฐานะสิ่งที่สร้างก็ถูกเปิดเผยจนแทบไร้ค่า
  • 6:34 - 6:40
    ก็ต่อเมื่อ ไม่มีการฝึกที่จำเป็น
    เพื่อการเปิดเผยและความพยายามที่จะรักษามัน
  • 6:40 - 6:46
    พรสวรรค์ ถ้ามันมีอยู่จริง
    มันจะหายไป"
  • 6:49 - 6:52
    ตรงกันข้ามกับการแสดงความสามารถ
    ทางศิลปะของ Yatora
  • 6:52 - 6:57
    เขาเทียบได้กับสติปัญญาและผลการเรียนที่ดี
    ไม่ใช่จากการเป็น "อัจฉริยะ"
  • 6:57 - 6:58
    แต่เป็นคนขยัน ทำงานหนัก
  • 6:58 - 7:02
    โดยพื้นฐานแล้ว การแสดงกระบวนการคิดแบบตรง ๆ
  • 7:02 - 7:07
    เนื่องจากคำว่าอัจฉริยะสามารถมี
    ความหมายเชิงลบคล้ายกับพรสวรรค์
  • 7:07 - 7:11
    ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างทั้งสองคำ
    คือตำแหน่งของการใช้งาน
  • 7:11 - 7:14
    พรสวรรค์มักเกี่ยวข้องกับศิลปะ
  • 7:14 - 7:18
    ในขณะที่อัจฉริยะมักถูกใช้อย่างลึกซึ้ง
    ในสาขาวิชา S.T.E.M.
  • 7:18 - 7:23
    เหตุใดเขาจึงสามารถเข้าใจความถูกต้อง
    ของการทำงานหนักต่อวิชา S.T.E.M ได้
  • 7:23 - 7:25
    แต่ไม่ใช่วิชาที่สร้างสรรค์?
  • 7:25 - 7:27
    การที่เขาถูกเรียกว่าอัจฉริยะ
  • 7:27 - 7:31
    ไม่ได้แตกต่างไปจากรุ่นพี่ Mori
    ที่มองว่ามีพรสวรรค์มากนัก
  • 7:31 - 7:35
    เพราะไม่ต้องการให้ความพยายามอย่างหนัก
    ของพวกเขาถูกมองข้ามว่า
  • 7:35 - 7:38
    เป็นของขวัญจากธรรมชาติ
    สาเหตุของความศักดิ์สิทธิ์ ของ Yatora
  • 7:38 - 7:42
    คือการขาดประสบการณ์ในด้านศิลปะของเขาเอง
  • 7:42 - 7:47
    ในขั้นต้น Yatora ไม่มีความรู้โดยตรง
    เกี่ยวกับการวาดภาพหรือการลงสี
  • 7:47 - 7:48
    และด้วยความคิดเห็นของเขา:
  • 7:48 - 7:53
    “วิชาเลือกเป็นประเภทของชั้นเรียน
    ที่คุณจะได้เกรดที่ดี แม้คุณจะไม่เก่งก็ตาม”
  • 7:53 - 7:58
    เราสามารถแยกแยะได้ว่า ทำไมเขาถึงเชื่อว่า
    ศิลปะเป็นคนขี้เกียจและคนเกียจคร้าน
  • 7:58 - 8:03
    เพราะเขาไม่เคยประสบกับชั้นเรียน
    ที่ไม่มีคำตอบที่ถูกหรือผิดอย่างชัดเจน
  • 8:03 - 8:06
    ไม่เหมือนกับคลาส S.T.E.M อื่น ๆ
    ที่เขาเชี่ยวชาญ
  • 8:06 - 8:10
    ศิลปะเป็นเรื่อง ของการแสดงออกมากพอ ๆ
    กับที่เป็นทฤษฎี
  • 8:10 - 8:13
    มีองค์ประกอบในศิลปะที่สอนไม่ได้
  • 8:13 - 8:18
    แต่มีประสบการณ์ผ่านการเปิดกว้าง
    และความเต็มใจ ที่จะมองโลกเหนือสื่งอื่น
  • 8:18 - 8:21
    สิ่งที่เหมือน Yatora สัมผัสเป็นครั้งแรก
  • 8:21 - 8:25
    เมื่อเขาเปรียบเทียบชิบูย่าในช่วงเช้าตรู่
    กับโลกสีฟ้าที่มีมนต์ขลัง
  • 8:25 - 8:29
    แนวคิดที่มีเพียงเขาเท่านั้นที่มองเห็น
    แต่ในไม่ช้าก็เต็มใจที่จะแบ่งปัน
  • 8:29 - 8:34
    ผ่านงานศิลปะของเขา และสิ่งนี้เองที่
    จุดประกายความสนใจในงานศิลปะให้กับ Yatora
  • 8:34 - 8:39
    ดำลึกไปในเรื่องที่ไม่รู้จัก,
    สิ่งที่เขาไม่คุ้นเคย
  • 8:39 - 8:43
    ชั้นเรียนที่ไม่มีข้อเขียนและข้อกาในใบสอบ
    แต่มีประสาทสัมผัสนำทาง
  • 8:43 - 8:49
    และตรรกะที่ตามมาในภายหลัง อย่างไรก็ตาม
    แม้จะมีแรงผลักดันที่ได้รับการปรับปรุงใหม่
  • 8:49 - 8:52
    แนวความคิดอื่น ๆ ที่ Yatora
    มีต่อสายงานศิลปะ
  • 8:52 - 8:56
    ก็เพิ่มความซับซ้อนอีกระดับ
    ให้กับตัวละครของเขา
  • 8:56 - 9:01
    Yatora อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่ยากจน
    ความเป็นไปได้ที่จะเข้าเรียนในโรงเรียนเอกชน
  • 9:01 - 9:06
    ยากขึ้น เนื่องจากการเตือนของแม่
    เกี่ยวกับสถานะทางการเงินของพวกเขา
  • 9:06 - 9:10
    จึงทำให้ Yatora เติบโตขึ้นมาพร้อมกับ
    จรรยาบรรณในการทำงาน
  • 9:10 - 9:13
    เขาไปโรงเรียนด้วยกระบวนการของเด็ก
    ที่ใจแคบด้วยอุดมคติของวัยผู้ใหญ่
  • 9:13 - 9:16
    ที่เป็นทุกข์จากความเพ้อฝันในวัยผู้ใหญ่
  • 9:16 - 9:19
    โดยคิดว่าวิชาใด
    จะนำไปสู่ความมั่นคงในการทำงานที่สูงขึ้น
  • 9:19 - 9:21
    หรือมีอัตราการจ้างงานที่สูงขึ้น
  • 9:21 - 9:26
    ฐานะทางการเงินของครอบครัว
    มีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวทางศิลปะของเขา
  • 9:26 - 9:29
    โดยเชื่อว่างานวิจิตรศิลป์
    จะไม่ทำให้คุณมีงานทำ
  • 9:29 - 9:31
    ตรงข้ามกับวิชา S.T.E.M. ที่เขาศึกษา
    จากการเรียนของเขา
  • 9:31 - 9:37
    Yatora ไม่หยุดคิด ที่จะเลือกตัวเลือก
    ที่สนุกสำหรับเขา
  • 9:37 - 9:40
    แต่จะเป็นประโยชน์กับเขาในด้านการเงิน
    ในภายหลัง
  • 9:40 - 9:46
    นั่นคือเหตุผลที่เขาก้มหน้าก้มตามองศิลปะ
    เขาต่อสู้ในสงครามระหว่างการทำให้แม่ผิดหวัง
  • 9:46 - 9:50
    กับการไล่ตามความปรารถนาใหม่
    ที่เขาไม่เคยสัมผัสมาก่อน
  • 9:50 - 9:53
    และนี่เป็นปัญหาทั่วไป
    ที่ศิลปินหลายคนต้องเผชิญ
  • 9:53 - 9:57
    มีความอัปยศเพิ่มเติม
    ที่ศิลปะเป็นการเสียเวลา
  • 9:57 - 9:59
    และงานรอบด้านศิลปะก็มีความสำเร็จน้อยกว่า
  • 9:59 - 10:04
    ตรงข้ามกับการฝึกอบรมเพื่อเป็น
    แพทย์หรือทนายความ ฯลฯ
  • 10:04 - 10:08
    แต่ด้วยความมุ่งมั่นของเขาที่แน่วแน่หลังจาก
    รู้สึกถึงความปรารถนาอย่างแรงกล้า
  • 10:08 - 10:13
    และเสี่ยงที่จะไล่ตามงานศิลปะ Yatora
    กลับพบกับความเข้าใจผิด
  • 10:13 - 10:17
    เกี่ยวกับศิลปะอีกประการหนึ่ง
    ซึ่งมันยากและแข่งขันได้อย่างไม่น่าเชื่อ
  • 10:17 - 10:23
    เป็นที่ยอมรับในมหาวิทยาลัยศิลปะ
    ไม่ต้องพูดถึงราคาแพงอย่างไม่น่าเชื่อ
  • 10:23 - 10:28
    และความประหลาดใจของ Yatora ที่ความรู้นี้
    กลับมาสู่แนวคิดอุปาทานที่ว่า
  • 10:28 - 10:32
    ศิลปะเป็นเรื่องง่าย แต่ในความเป็นจริง
    สถิติที่แสดงอัตราการยอมรับต่ำ
  • 10:32 - 10:35
    สำหรับโรงเรียนศิลปะพิสูจน์ว่าเป็นอย่างอื่น
  • 10:35 - 10:38
    อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่า
    ทุกอย่างจะเลวร้ายและเศร้าหมอง
  • 10:38 - 10:42
    แม้ว่าจะมีความท้าทายเหล่านี้
    รายล้อมอยู่ทั่วทุกมุมของ Yatora
  • 10:42 - 10:45
    การตัดสินใจของเขาถือเป็นที่สิ้นสุด
    ในการต้องการสมัครเข้าเรียน
  • 10:45 - 10:49
    ที่มหาวิทยาลัยศิลปะแห่งโตเกียว
    และฉันชอบที่เขายอมเสี่ยง
  • 10:49 - 10:53
    แม้ว่ามันจะหมายถึงการท้าทายหลักการ
    ที่เขาสร้างขึ้นรอบตัวเขาเองก็ตาม
  • 10:53 - 10:57
    อันที่จริง Tsubasa Yamaguchi
    เองจบการศึกษาจากTUA
  • 10:57 - 11:02
    (ประสบการณ์ของเธอเองเป็นประโยชน์
    ในการสร้างเรื่องราวที่สมจริงมากขึ้น)
  • 11:02 - 11:06
    แต่ Shirahama Kamome,
    ที่ฉันพูดถึงในวิดีโอ Witch Hat Atelier
  • 11:06 - 11:11
    ก็จบการศึกษาจากแผนกออกแบบของ TUA ด้วย
    ความสำเร็จของนักเขียนการ์ตูน
  • 11:11 - 11:15
    ที่น่ารักสองคนนี้เป็นเครื่องพิสูจน์ว่า
    โรงเรียนสอนศิลปะสามารถนำคุณไปสู่
  • 11:15 - 11:23
    เส้นทางอาชีพที่สร้างสรรค์
    และประสบความสำเร็จได้อย่างไร แม้จะมี
  • 11:23 - 11:30
    หลักฐานที่บ่งชี้ว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศ
    แบ่งปันความละเลยต่อศิลปะในภาพรวม
  • 11:30 - 11:35
    ซึ่งไม่ต้องสงสัยเลยว่า มีอิทธิพลต่อ
    การตีความของผู้คนในด้านนั้นมากกว่า
  • 11:35 - 11:39
    ในปี 2015 คณะมนุษยศาสตร์จำนวนมาก
    หรือแม้แต่คณะสังคมศาสตร์
  • 11:39 - 11:45
    ในญี่ปุ่นปิดให้บริการพื้นที่ที่ตอบสนอง
    ความต้องการของสังคมได้ดีขึ้น
  • 11:45 - 11:50
    และเพื่อเชื่อมโยงหลักฐานเพิ่มเติมของรัฐบาล
    ญี่ปุ่น ความประมาทเลินเล่อต่อศิลปะ
  • 11:50 - 11:53
    เมื่อถูกถามในระหว่างการสัมภาษณ์:
    “คุณคาดหวังความท้าทายอะไร
  • 11:53 - 11:57
    ในการเรียนรู้ศิลปศาสตร์ของญี่ปุ่น
    ในระดับต่อไป” Kanayama Tsutomu
  • 11:57 - 12:01
    ศาสตราจารย์ที่ Ritsumeikan University
  • 12:01 - 12:03
    เรียกอีกชื่อว่า
    (วิทยาลัยศิลปะยอดนิยมในประเทศญี่ปุ่น)
  • 12:03 - 12:11
    ดำเนินการตอบด้วยความเป็นจริงที่รุนแรง "
    ก้าวแรกคือเปลี่ยนวิถีสังคมไปเป็นศิลปศาสตร์
  • 12:11 - 12:17
    ฉันหวังว่าจะยกเลิกความคิดที่ว่าศิลปศาสตร์
    เป็นรูปแบบของ "การศึกษาทั่วไป"
  • 12:17 - 12:22
    ที่จะให้นักเรียน ก่อนย้ายไปเรียน
    ในสาขาวิชาที่ "สูง" เช่น กฎหมาย
  • 12:22 - 12:27
    เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ หรือวรรณกรรม"
    เช่นการมองหรือคิดอะไรตื้น ๆ ของศิลปะ
  • 12:27 - 12:30
    ดังกล่าวเป็นเพียงเหตุผลหนึ่งที่ผู้คนเช่น
    Yatora ใน Blue Period
  • 12:30 - 12:34
    มีการรับรู้ที่ถูกโค่นล้มว่าศิลปะ
    ควรเป็นงานอดิเรก
  • 12:34 - 12:37
    และเฉพาะผู้ที่มีพรสวรรค์ด้านศิลปะเท่านั้น
  • 12:37 - 12:40
    ที่มีแนวโน้มจะพัฒนาสิ่งเหล่านั้น
    ทักษะในการประกอบอาชีพ
  • 12:40 - 12:47
    ไม่ต้องพูดถึง การพิสูจน์ว่าผู้คนมองว่า
    ศิลปะนั้นขี้เกียจและน้อยกว่าวิชา S.T.E.M
  • 12:47 - 12:50
    อย่างไรก็ตาม ตามที่ได้กล่าวไปแล้วในวิดีโอ
  • 12:50 - 12:55
    ศิลปะต้องการความรู้และการแก้ไข
    มากกว่าที่บางคนเชื่อว่าจะมี
  • 12:55 - 12:57
    การเรียนรู้เทคนิค การนำไปใช้
  • 12:57 - 13:02
    และการพยายามปรับให้เข้ากับสไตล์ของคุณเอง
    อาจต้องใช้เวลาและฝึกฝนอย่างมาก
  • 13:02 - 13:03
    และนั่นเป็นเพียงเทคนิคเดียวเท่านั้น
  • 13:03 - 13:07
    เทคนิคเหล่านี้จะต้องนำไปใช้
    กับสื่อทุกประเภท:
  • 13:07 - 13:12
    ไม่ว่าจะเป็นสีน้ำ ผ้ากอช ดินสอ ชอล์ค
    การสร้างแบบจำลองดินเหนียว
  • 13:12 - 13:14
    หรือแม้กระทั่งการใช้แนวทางดิจิทัล
  • 13:14 - 13:18
    ศิลปินสามารถฝึกฝนและเชี่ยวชาญการใช้สีน้ำ
  • 13:18 - 13:20
    แต่ถ้าพวกเขาต้องการลองวาดภาพสีน้ำมัน
  • 13:20 - 13:23
    อาจจะต้องปรับทักษะชุดใหม่ทั้งหมดอีกครั้ง
  • 13:23 - 13:24
    เพราะสืแต่ละชนิด
  • 13:24 - 13:28
    ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ความแตกต่าง
    ในการแห้งตัวของสี
  • 13:28 - 13:29
    ในการผสมสี
  • 13:29 - 13:31
    หรือแม้แต่วิธีการถืออุปกรณ์ชิ้นใหม่
  • 13:31 - 13:34
    ล้วนเป็นทักษะที่ยากจะเชี่ยวชาญ
  • 13:34 - 13:35
    เมื่อ Blue Period สัมผัส
  • 13:35 - 13:39
    แม้แต่เทคนิคเดียวก็สามารถมีกฎ
    หรือหลายประเภทได้
  • 13:39 - 13:43
    และคุณสามารถเห็นสิ่งนี้ได้โดย
    การสุ่มเลือกมังงะ
  • 13:43 - 13:46
    มาดูตัวอย่างเทคนิคการแรเงาแบบต่าง ๆ
  • 13:46 - 13:48
    ตัวอย่างเช่น การแรเส้นเงาและ/หรือ
    การวาดภาพสองชั้น
  • 13:48 - 13:51
    เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
    ในการแสดงคอนทราสต์
  • 13:51 - 13:55
    ยิ่งการแรเส้นเงาอยู่ใกล้มากเท่าใด
    พื้นที่ของภาพก็จะยิ่งมืดลงเท่านั้น
  • 13:55 - 13:58
    ยิ่งแรเงาห่างกันเส้นก็ยิ่งเบา
  • 13:58 - 13:59
    นอกจากนี้ยังสามารถทำให้ซับซ้อนมากขึ้นได้
  • 13:59 - 14:03
    ขึ้นอยู่กับหลายทิศทางของการแรเส้นเงา
    ที่ศิลปินอาจเพิ่มด้วย
  • 14:03 - 14:08
    เนื่องจากวิธีนี้จะช่วยให้สไตล์หยาบขึ้นได้
    ไม่ไกลจากการแรเงามากนัก
  • 14:08 - 14:10
    คือการใช้เส้นคู่ขนานเพื่อถ่ายทอดเงา
  • 14:10 - 14:13
    และทิศทางของวัสดุอาจมีรูปร่าง
  • 14:13 - 14:17
    Shirahama Kamome ใช้เทคนิคนี้
    อย่างต่อเนื่องในการทำงานของเธอ
  • 14:17 - 14:20
    และเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้ทุกคนรู้จัก
  • 14:20 - 14:23
    อีกตัวอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยม
    คือการใช้สกรีนโทน
  • 14:23 - 14:27
    ซึ่งมีรูปแบบสกรีนโทนที่หลากหลาย
  • 14:27 - 14:30
    แต่ตัวเลือกที่นิยมคือหน้าจอที่มีลวดลายประ
  • 14:30 - 14:32
    ซึ่งเหมือนกันกับลายจุด
  • 14:32 - 14:35
    Pointillism เป็นเทคนิคที่คล้ายกับ
    การแรเส้นเงา
  • 14:35 - 14:39
    ยิ่งจุดใกล้มากเท่าไหร่ พื้นที่นั้นก็จะ
    ยิ่งมืดมากขึ้นเท่านั้น และในทางกลับกัน
  • 14:39 - 14:43
    หากเราเปรียบเทียบสิ่งนี้กับ
    การใช้สีสกรีนโทนบล็อกใน Aposimz
  • 14:43 - 14:46
    มังงะที่ไม่ค่อยได้ใช้เทคนิคการแรเงา
  • 14:46 - 14:48
    เพื่อลดคอนทราสต์และรายละเอียด
  • 14:48 - 14:52
    เราได้รับประสบการณ์ภาพที่แตกต่าง
    ไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง
  • 14:52 - 14:58
    ฉันสามารถแสดงวิธีการแรเงาที่หลากหลาย
    จากเรื่องราวในมังงะต่าง ๆ ได้หลายวัน
  • 14:58 - 15:00
    และการแรเงาเป็นเพียงเทคนิคเดียว
  • 15:00 - 15:03
    เทคนิคที่อาจต้องใช้เวลาหลายปีกว่า
    จะสมบูรณ์แบบและเรียนรู้
  • 15:03 - 15:07
    เป็นเหตุผลสำคัญประการหนึ่ง
    ที่ฉันชอบอ่านมังงะ
  • 15:07 - 15:10
    ศิลปินแต่ละคนเติบโตขึ้นในสไตล์ของตัวเอง
  • 15:10 - 15:14
    บางคนถึงกับปรับตัวและปรับปรุง
    ตลอดการวาดซีรีส์
  • 15:14 - 15:18
    ในฐานะที่เป็นนักสร้างสรรค์
    การได้เห็นการทำงานหนักทั้งหมดบนกระดาษ
  • 15:18 - 15:22
    การได้เห็นเวลาทั้งหมดที่พวกเขาใช้ไป
    ในการพยายามพัฒนาทักษะให้สมบูรณ์แบบ
  • 15:22 - 15:25
    เป็นสิ่งที่น่ายินดีสำหรับฉัน
    และจะเป็นเช่นนั้นตลอดไป
  • 15:28 - 15:33
    ท้ายที่สุด นี่คือเหตุผลที่ Blue Period
    เป็นเรื่องราวสำคัญและมีข้อความสำคัญ
  • 15:33 - 15:37
    สำหรับเราผู้อ่าน
    เราเห็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายอย่างต่อเนื่อง
  • 15:37 - 15:41
    ปริมาณของหน้าที่สร้างมาอย่างดี
    ที่เราสามารถอ่านได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง
  • 15:41 - 15:45
    Blue Period คือจุดเริ่มต้น
    ของการเดินทางของศิลปินมากมาย
  • 15:45 - 15:48
    ความพยายามที่จำเป็น
    ในการไปถึงผลงานสุดท้ายนั้น
  • 15:48 - 15:51
    ความลำบาก ความห่วงใย ความท้าทาย
  • 15:51 - 15:56
    มันแสดงให้เราเห็นเด็กหนุ่มที่ในที่สุด
    ก็ค้นพบการเรียกร้องของเขาเอง
  • 15:56 - 15:59
    บางสิ่งที่เขาต้องการอุทิศตนเพื่อในที่สุด
  • 15:59 - 16:02
    และเพื่อฟื้นฟูความรู้สึกหลงใหลภายใน
  • 16:02 - 16:07
    เราเห็นเขาเรียนรู้จากความเข้าใจผิด
    ในอดีตของเขาและได้สัมผัสด้วยตัวเอง
  • 16:07 - 16:12
    เรียนรู้ความเจ็บปวดไม่หยุดหย่อน
    ของความก้าวหน้าและความมุ่งมั่นที่จะพัฒนา
  • 16:12 - 16:16
    เพราะมันเหมือนกับที่ Tsubasa Yamaguchi
    บรรยายตัวเอง:
  • 16:16 - 16:22
    “มันง่ายที่จะคิดว่าศิลปะคือโลกที่มีแต่
    "พรสวรรค์" เท่านั้นที่สามารถใช้ได้
  • 16:23 - 16:27
    ดังนั้นขอบคุณมากสำหรับผู้ที่ดูจนจบ
  • 16:27 - 16:33
    นี่เป็นวิดีโอที่ค่อนข้างส่วนตัวสำหรับฉัน
    เมื่อพิจารณาจากภูมิหลังและหัวข้อ
  • 16:33 - 16:37
    มีการอภิปรายมากมายในหัวข้อนี้
    ดังนั้นหากคุณมีอะไรจะแบ่งปัน
  • 16:37 - 16:40
    ไม่ว่าจะแสดงความคิดเห็นด้านล่าง
    หรือโต้ตอบกับฉันทางทวิตเตอร์
  • 16:40 - 16:42
    เพราะฉันอยู่ที่นั่นเสมอ
Title:
Blue Period - The Dichotomy between Talent and Hard Work
Description:

more » « less
Video Language:
English
Duration:
16:44

Thai subtitles

Revisions