เล่นดนตรีมีประโยชน์ต่อสมองคุณอย่างไร - อนิตา คอลลินส์ (Anita Collins)
-
0:14 - 0:17คุณรู้ไหมว่า
ทุกครั้งที่นักดนตรีหยิบเครื่องดนตรีขึ้นมา -
0:17 - 0:20มันมีดอกไม้ไฟปะทุขึ้นไปทั่วสมองของพวกเขา
-
0:20 - 0:23ภายนอก พวกเขาอาจดูสงบและมีสมาธิ
-
0:23 - 0:27อ่านดนตรี และทำการเคลื่อนไหวสำคัญต่างๆ
ที่แม่นยำ และผ่านการฝึกฝนมาแล้ว -
0:27 - 0:30แต่ภายในสมองของพวกเขา
งานเลี้ยงกำลังเกิดขึ้นอยู่ -
0:30 - 0:31เรารู้ได้อย่างไรกัน
-
0:31 - 0:33ในสองสามศตวรรษที่ผ่านมา
-
0:33 - 0:36นักประสาทวิทยาได้ทำการค้นพบที่ยิ่งใหญ่
-
0:36 - 0:40ในการทำความเข้าใจ ว่าสมองทำงานอย่างไร
โดยติดตามมันแบบทันสถานการณ์จริง (real-time) -
0:40 - 0:43ด้วยอุปกรณ์เช่น FMRi และ PET สแกนเนอร์
-
0:43 - 0:46เมื่อคนถูกติดเข้ากับเครื่องพวกนั้น
-
0:46 - 0:49งานอย่างการอ่าน หรือทำโจทย์คณิตศาสตร์
-
0:49 - 0:51ซึ่งแต่ละงานมีความเกี่ยวโยงกับบริเวณของสมอง
-
0:51 - 0:53ที่กิจกรรมสามารถถูกสำรวจได้
-
0:53 - 0:56แต่เมื่อนักวิจัยได้ให้ผู้เข้าร่วมฟังเพลง
-
0:56 - 0:58พวกเขาเห็นพลุ
-
0:58 - 1:01หลายบริเวณในสมองของพวกเขา
ถูกจุดให้สว่างในทันที -
1:01 - 1:03ที่พวกเขาทำการวิเคราะห์เสียง
-
1:03 - 1:06แยกมันออกเพื่อเข้าใจส่วนประกอบ
อย่างทำนองและจังหวะ -
1:06 - 1:10และจากนั้นนำมันทั้งหมดกลับมาด้วยกัน
เป็นประสบการณ์ทางดนตรีที่รวมกันเป็นหนึ่ง -
1:10 - 1:13และสมองของพวกเราทำงานพวกนี้
ในเวลาเสี้ยววินาที -
1:13 - 1:18ระหว่างที่เราได้ยินดนตรีครั้งแรก
และเมื่อเท้าของเราเริ่มจะย่ำไปตามจังหวะ -
1:18 - 1:20แต่เมื่อนักวิทยาศาสตร์
เปลี่ยนจากการสำรวจสมอง -
1:20 - 1:23ของผู้ฟังเพลงเป็นสมองของนักดนตรี
-
1:23 - 1:26พลุเล็กๆ บ้านๆ
ก็กลายเป็นพลุงานฉลอง -
1:26 - 1:29มันกลายเป็นว่า
ระหว่างที่การฟังดนตรีทำให้สมอง -
1:29 - 1:31เริ่มทำกิจกรรมบางอย่างที่ค่อนข้างน่าสนใจ
-
1:31 - 1:36การเล่นดนตรีเท่ากับการออกกำลังกายทั้งตัว
สำหรับสมอง -
1:36 - 1:39นักประสาทวิทยา
เห็นสมองหลายบริเวณสว่างขึ้น -
1:39 - 1:42ทำการจัดการข้อมูลต่างๆ พร้อมๆ กัน
-
1:42 - 1:46ด้วยความปราณีต เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกัน
และด้วยลำดับอันรวดเร็วเหลือเชื่อ -
1:46 - 1:50แต่อะไรในการสร้างเสียงดนตรี
ที่ทำให้สมองสว่างไสว -
1:50 - 1:55งานวิจัยยังค่อนข้างจะใหม่
แต่นักประสาทวิทยาค่อนข้างจะมีแนวคิดที่ดี -
1:55 - 1:59การเล่นเครื่องดนตรี
ทำให้บริเวณต่างๆ ในสมองทำงานพร้อมกัน -
1:59 - 2:03โดยเฉพาะสมองชั้นนอกเกี่ยวกับ
การมองเห็น การฟัง และการเคลื่อนไหว -
2:03 - 2:08และเช่นเดียวกับการออกกำลังกายอื่นๆ
วินัย โครงสร้างการฝึกฝนการเล่นดนตรี -
2:08 - 2:12ทำให้การทำงานของสมองนั้นแข็งแรง
และสามารถทำให้เรา -
2:12 - 2:14ใช้ความแข็งแกร่งนั้นกับกิจกรรมอื่นได้
-
2:14 - 2:17ความแตกต่างที่ชัดเจนที่สุดระหว่าง
การฟังดนตรีและการเล่น -
2:17 - 2:20คืออย่างที่สอง ต้องการ
การเคลื่อนไหวที่ละเอียดอ่อน -
2:20 - 2:23ซี่งถูกควบคุมในสมองทั้งสองข้าง
-
2:23 - 2:26มันยังรวมเอาหลักทางภาษาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ -
2:26 - 2:28ซึ่งพัฒนามากกว่า
ในสมองฝั่งซ้าย -
2:28 - 2:32กับความใหม่และเรื่องราวสร้างสรรค์
ที่สมองซีกขวาทำได้อย่างมีประสิทธิภพา -
2:32 - 2:34ดังเหตุผลเหล่านี้
การเล่นดนตรีได้ถูกพบว่า -
2:34 - 2:39เพิ่มปริมาณและกิจกรรมของส่วน
คอร์ปัส คัลโลซัม ของสมอง -
2:39 - 2:41สะพานระหว่างสมองทั้งสองข้าง
-
2:41 - 2:46ยอมให้ข้อความผ่านข้ามสมองเร็วกว่า
และผ่านเส้นทางที่หลากหลายกว่า -
2:46 - 2:49นั่นอาจทำให้นักดนตรีแก้ปัญหา
-
2:49 - 2:52ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์กว่า
ทั้งในทางวิชาการและทางสังคม -
2:52 - 2:56เพราะการสร้างเสียงดนตรียังคงเกี่ยวข้อง
กับทักษะและความเข้าใจ -
2:56 - 2:59สารและข้อความทางอารมณ์ของมัน
-
2:59 - 3:02นักดนตรีมักมีหน้าที่ทางการบริหาร
ในระดับที่สูงกว่า -
3:02 - 3:04ซี่งมันเป็นงานในจำพวกประสานงานเชื่อมต่อ
-
3:04 - 3:08ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน การวางนโยบาย
และการในความใส่ใจในรายละเอียด -
3:08 - 3:13และต้องการการวิเคราะห์อย่างฉับพลัน
-
3:13 - 3:17ความสามารถนี้ยังมีผลกระทบ
ต่อการทำงานของระบบความทรงจำของเรา -
3:17 - 3:20และแน่นอน นักดนตรีความสามารถ
ด้านความทรงจำที่ดี -
3:20 - 3:25การสร้าง จัดเก็บ และเรียกใช้ ความทรงจำ
เร็วกว่า และมีประสิทธิภาพกว่า -
3:25 - 3:29การศึกษาทำให้พบว่า
นักดนตรีใช้สมองที่เชื่อมโยงกันอย่างมากของพวกเขา -
3:29 - 3:32ให้ฉลากกับแต่ละความทรงจำ
-
3:32 - 3:37เช่นฉลากแนวคิด ฉลากอารมณ์
ฉลากเสียง และฉลากข้อความ -
3:37 - 3:40เหมือนกับอุปกรณ์ค้นหาชั้นดีทางอินเตอร์เน็ต
-
3:40 - 3:43แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่า
ประโยชน์นั้นเป็นเอกลักษณ์ของดนตรี -
3:43 - 3:45ไม่ได้เหมือนกันกับ กีฬา หรือการวาดภาพ
-
3:45 - 3:48หรือว่าคนที่เข้าถึงดนตรี
-
3:48 - 3:50ฉลาดกว่าคนอื่นตั้งแต่เริ่มแล้ว
-
3:50 - 3:53นักประสาทวิทยาได้ทำการสำรวจประเด็นนี้
แต่จนถึงตอนนี้ พวกเขาพบว่า -
3:53 - 3:57ลักษณะที่ศิลปินและนักกีฬา
หัดเล่นเครื่องดนตรีนั้น -
3:57 - 4:02ต่างไปจากกิจกรรมการเรียนอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ -
4:02 - 4:04และการศึกษาแบบสุ่มของผู้เข้าร่วม
-
4:04 - 4:09ผู้ซึ่งแสดงหน้าที่ความจำและการจัดการทางประสาท
ในระดับเดียวกันในตอนแรก -
4:09 - 4:13พบว่าผู้ที่เคยมีประสบการณ์เรียนดนตรี
-
4:13 - 4:17แสดงให้เห็นถึงการกระตุ้นในสมองบริเวณต่างๆ
เมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่นๆ -
4:17 - 4:20ในงานวิจัยเมื่อไม่นานมานี้เกี่ยวกับ
ประโยชน์ทางสมองของการเล่นดนตรี -
4:20 - 4:23ทำให้ความเข้าใจของเราต่อหน้าที่ของสมอง
พัฒนาไปอีกขึ้น -
4:23 - 4:26มันเปิดเผยจังหวะภายในและความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน
-
4:26 - 4:29ที่สร้างวงดนตรีคลาสสิกในสมองของเรา
- Title:
- เล่นดนตรีมีประโยชน์ต่อสมองคุณอย่างไร - อนิตา คอลลินส์ (Anita Collins)
- Speaker:
- Anita Collins
- Description:
-
ชมบทเรียนแบบเต็มได้ที่: http://ed.ted.com/lessons/how-playing-an-instrument-benefits-your-brain-anita-collins
เมื่อคุณฟังดนตรี หลายบริเวณของสมองของคุณเข้าไปเกี่ยวข้องและปฏิบัติงาน แต่เมื่อคุณเล่นเครื่องดนตรี กิจกรรมนั่นกาลายเป็นมากกว่าการบริหารร่างกายทั้งตัวสำหรับสมอง มันเกิดอะไรขึ้นกัน อนิตา คอลลินส์ อธิบายถึงพลุที่เกิดขึ้นในสมองของนักดนตรี เมื่อพวกเขาเล่นดนตรี และตรวจสอบผลทางบวกระยะยาวของการบริหารสมองนี้
- Video Language:
- English
- Team:
- closed TED
- Project:
- TED-Ed
- Duration:
- 04:45
Michelle Mehrtens edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut approved Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut accepted Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain | ||
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How playing an instrument benefits your brain |