< Return to Video

Statistics: Sample Variance

  • 0:00 - 0:01
    -
  • 0:01 - 0:03
    วิดีโออันนี้เป็นวิดีโอที่พิเศษสุด
  • 0:03 - 0:05
    ด้วยเหตุผลหลายอย่าง
  • 0:05 - 0:10
    อย่างแรก, ผมจะแนะนำให้คุณรู้จักความแปรปรวนของตัวอย่าง,
  • 0:10 - 0:12
    ซึ่งเป็นเรื่องที่น่สนใจ
  • 0:12 - 0:15
    และผมพายามจะบันทึกวิดีโอนี้เป็นแบบ HD
  • 0:15 - 0:16
    หวังว่าคุณจะเห็นได้ใหญ่ขึ้นและชัดขึ้น
  • 0:16 - 0:17
    กว่าที่เคย
  • 0:17 - 0:19
    แต่เราจะดุว่ามันเป็นอย่างไร
  • 0:19 - 0:22
    นี่เป็นการทดลองนิดหน่อย, ทนกับผมหน่อยนะ
  • 0:22 - 0:25
    แต่, ก่อนที่เราจะพูดถึงความแปรปรวนของตัวอย่างล
  • 0:25 - 0:28
    ผมคิดว่ามันดีต่อการเรียน ถ้าเราจะทบทวนความแปรปรวน
  • 0:28 - 0:29
    ของประชากรกันก่อน
  • 0:29 - 0:32
    แล้วเราถึงเปรียบเทียบสูตรของมันได้
  • 0:32 - 0:35
    ความแปรปรวนของประชากร -- นี่คือตัวอักษร
  • 0:35 - 0:36
    กรีกซิกม่า
  • 0:36 - 0:37
    ซิกม่าเล็ก กำลังสอง
  • 0:37 - 0:38
    นั่นหมายถึงความแปรปรวน
  • 0:38 - 0:41
    ผมรู้ว่ามันแปลกๆ ที่ตัวแปร
  • 0:41 - 0:42
    มีกำลังสองติดมาอยู่แล้ว
  • 0:42 - 0:43
    คุณได้กำลังสองตัวแปรนี้
  • 0:43 - 0:44
    นี่คือตัวแปร
  • 0:44 - 0:46
    ซิกม่ากำลังสอง หมายถึงความแปรปรวน
  • 0:46 - 0:47
    ที่จริง, ขอผมเขียนลงไปนะ
  • 0:47 - 0:48
    นั่นเท่ากับความแปรปรวน
  • 0:48 - 0:52
    -
  • 0:52 - 0:55
    และนั่นเท่ากับ -- คุณหาจุดข้อมูลแต่ละจุดมา -- แล้ว
  • 0:55 - 0:59
    เราจะเรียกมันว่า x ห้อย i
  • 0:59 - 1:02
    คุณเอาจุดข้อมูลแต่จุดมา หาว่ามันห่างจาก
  • 1:02 - 1:09
    ค่าเฉลี่ยประชากรเท่าไหร่, คุณกำลังสองมัน, แล้วคุณก็
  • 1:09 - 1:11
    หาค่าเฉลี่ยของทั้งหมดนั้น
  • 1:11 - 1:13
    แล้วคุณหาค่าเฉลี่ย, คุณบวกทุกอย่างเข้าด้วยกัน
  • 1:13 - 1:14
    คุณก็ไปจาก i เท่ากับ 1
  • 1:14 - 1:18
    จากจุดนั้น, ไปจนถึงจุดที่ n
  • 1:18 - 1:20
    แล้ว, เวลาเฉลี่ย, คุณบวกมันจนหมด
  • 1:20 - 1:22
    แล้วหารด้วย n
  • 1:22 - 1:26
    ความแปรปรวนก็คือค่าเฉลี่ยของกำลังสองของระยะห่าง
  • 1:26 - 1:27
    แต่ละจุดเหล่านี้ ไปยังค่าเฉลี่ย
  • 1:27 - 1:30
    เพื่อให้คุณได้สัญชาตญาณอีกที, มันบอกว่า
  • 1:30 - 1:33
    โดยเฉลี่ยแล้ว, แต่ละจุด
  • 1:33 - 1:34
    หาจากตรงกลางแค่ไหน
  • 1:34 - 1:36
    นั่นคือวิธีคิดถึงความแปรปรวนที่ดีที่สุด
  • 1:36 - 1:38
    ทีนี้ ถ้าเกิดเรามี -- นี่
  • 1:38 - 1:39
    สำหรับประชากร, จริงไหม?
  • 1:39 - 1:42
    และเราบอกว่า ถ้าเราอยากหาความแปรปรวนของ
  • 1:42 - 1:45
    ความสูงของคนในประเทศนี้, มันยาก
  • 1:45 - 1:46
    ที่จะหาความแปรปรวนของประชากร
  • 1:46 - 1:49
    คุณต้องไป, วัดความสูง
  • 1:49 - 1:50
    ของทุกคน
  • 1:50 - 1:51
    250 ล้านคน
  • 1:51 - 1:55
    หรือถ้ามีประชากรซึ่งเราไม่มีทาง
  • 1:55 - 1:57
    หาข้อมูลได้ มาจาก
  • 1:57 - 1:58
    ตัวแปรสุ่ม
  • 1:58 - 1:59
    เราจะพูดถึงเรื่องนั้นทีหลัง
  • 1:59 - 2:03
    หลายครั้งคุณต้องประมาณค่าความแปรปรวนนี้
  • 2:03 - 2:05
    ด้วยการหาความแปรปรวนของตัวอย่างแทน
  • 2:05 - 2:07
    เหมือนกับที่คุณไม่มีทางหาค่าเฉลี่ยของประชากร
  • 2:07 - 2:10
    บางทีคุณอาจกะค่ามันด้วย
  • 2:10 - 2:11
    การหาค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง
  • 2:11 - 2:14
    และเราเรียนไปในวิดีโอที่แล้ว
  • 2:14 - 2:18
    ถ้านี่คือ -- ถ้านี่คือประชากรทั้งหมด
  • 2:18 - 2:20
    นั่นคือจุดข้อมูลเป็นล้าน, หรือแม้กระทั่งจุดข้อมูล
  • 2:20 - 2:22
    ในอนาคตที่คุณหาไม่ได้ เพราะมันเป็น
  • 2:22 - 2:23
    ตัวแปรสุ่ม
  • 2:23 - 2:24
    นี่คือประชากร
  • 2:24 - 2:27
    -
  • 2:27 - 2:32
    คุณอาจอยากประมาณค่าด้วยการดูที่กลุ่มตัวอย่าง
  • 2:32 - 2:35
    และนี่คือสถิติเชิงอนุมาน
  • 2:35 - 2:36
    เกี่ยวข้องเป็นส่วนใหญ่
  • 2:36 - 2:39
    คือการหาสถิติเชิงพรรณนาของกลุ่มตัวอย่าง
  • 2:39 - 2:41
    แล้วอนุมานไปถึงประชากร
  • 2:41 - 2:45
    ขอผมลองใช้ยานี้กับคน 100 คน แล้วถ้ามัน
  • 2:45 - 2:47
    ดูได้ผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ, ยานี้ก็ควร
  • 2:47 - 2:49
    ใช้ได้กับประชาการทั้งหมดด้วย
  • 2:49 - 2:50
    นั่นคือสิ่งที่มันหมายถึง
  • 2:50 - 2:52
    การเข้าใจแนวคิดเรื่องกลุ่มตัวอย่าง
  • 2:52 - 2:54
    เทียบกับประชากรเป็นสิ่งสำคัญ
  • 2:54 - 2:58
    การหาค่าทางสถิติของตัวอย่างได้,
  • 2:58 - 3:00
    ส่วนใหญ่แล้ว, สามารถใช้บรรยายประชากร หรือช่วย
  • 3:00 - 3:04
    ให้ประมาณค่า, เขาเรียกกันว่า, พารามิเตอร์ของประชากรได้
  • 3:04 - 3:07
    แล้วค่าเฉลี่ยของ -- ขอผมเขียนนิยามพวกนี้ใหม่นะ
  • 3:07 - 3:09
    ค่าเฉลี่ยของประชากรคืออะไร?
  • 3:09 - 3:10
    ผมจะใช้สีม่วงนะ
  • 3:10 - 3:12
    สีม่วงแทนประชากร
  • 3:12 - 3:14
    ค่าเฉลี่ยของประชากร
  • 3:14 - 3:20
    คุณแค่เอาจุดข้อมูลแต่ละตัวมาในประชากร, x i
  • 3:20 - 3:22
    คุณบวกมันเข้า
  • 3:22 - 3:24
    คุณเริ่มด้วยจุดข้อมูลอันแรก แล้วคุณก็ทำ
  • 3:24 - 3:26
    ไปจนถึงจุดข้อมูลที่ n
  • 3:26 - 3:27
    แล้วคุณหารด้วย n
  • 3:27 - 3:28
    คุณบวกพวกมันไปจนถึง n
  • 3:28 - 3:29
    นั่นคือค่าเฉลี่ย
  • 3:29 - 3:30
    แล้วคุณก็แทนมันลงในสูตรนี้
  • 3:30 - 3:33
    แล้วคุณก็หาได้ว่าแต่ละจุดไกลจากจุดศูนย์กลาง
  • 3:33 - 3:34
    จากค่าเฉลี่ยนั้นแค่ไหน
  • 3:34 - 3:36
    และคุณจะได้ความแปรปรวน
  • 3:36 - 3:40
    ทีนี้ เกิดอะไรขึ้นถ้าเราทำสำหรับตัวอย่างด้วย?
  • 3:40 - 3:43
    ทีนี้, ถ้าเราอยากประมาณค่าเฉลี่ยประชากร ด้วย
  • 3:43 - 3:47
    การคำนวณค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง, สิ่งที่ดีที่สุดที่ผม
  • 3:47 - 3:49
    คิดได้ -- นี่คือสูตรที่ประดิษฐ์ขึ้นมาทั้งนั้น
  • 3:49 - 3:51
    มีคนบอกว่า, เราจะหาค่าตัวอย่าง
  • 3:51 - 3:52
    ที่ดีที่สุดอย่างไร?
  • 3:52 - 3:55
    ทีนี้ สิ่งที่เราทำได้ ก็แค่หาค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง
  • 3:55 - 3:57
    และนั่นคือค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
  • 3:57 - 3:59
    และเราเรียนในวิดีโอแรก ว่าสัญลักษณ์ --
  • 3:59 - 4:00
    สูตรเกือบเหมือนกันเลย
  • 4:00 - 4:02
    แต่สัญลักษณ์ต่างกัน
  • 4:02 - 4:05
    แทนที่จะเขีน มิว, คุณเขียนว่า x มีขีดอยู่ข้างบน
  • 4:05 - 4:09
    ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง เท่ากับ -- เหมือนเดิม, คุณเอา
  • 4:09 - 4:12
    จุดข้อมูลตอนนี้ คือในกลุ่มตัวอย่าง, ไม่ใช่ประชากรทั้งหมด
  • 4:12 - 4:16
    คุณบวกพวกมันเข้า จากอันแรกไป
  • 4:16 - 4:17
    จนถึงตัวที่ n, จริงไหม?
  • 4:17 - 4:21
    เขาบอกว่า มันมีจุดข้อมูล n ตัวในกลุ่มตัวอย่าง
  • 4:21 - 4:23
    แล้วคุณหารมันด้วยจำนวนจุดข้อมูลที่คุณมี
  • 4:23 - 4:24
    ใช้ได้
  • 4:24 - 4:26
    นี่มีสูตรเหมือนกัน
  • 4:26 - 4:28
    วิธีที่ผมหาค่าเฉลี่ยขอประชากร, ผมบอกว่า, เอาล่ะ, ถ้า
  • 4:28 - 4:30
    ผมมีตัวอย่าง, ขอผมหาค่าเฉลี่ยแบบเดียวกัน
  • 4:30 - 4:33
    และมันอาจเป็นค่าประมาณที่ดีสำหรับค่าเฉลี่ย
  • 4:33 - 4:34
    ของประชากรด้วย
  • 4:34 - 4:36
    ทีนี้ มันน่าสนใจตอนเราพูดถึงความแปรปรวน
  • 4:36 - 4:39
    ปฏิกิริยาตามธรรมชาติคือว่า โอเค, ผมมีกลุ่มตัวอย่างนี้
  • 4:39 - 4:43
    ถ้าผมอยากหาค่าความแปรปรวนของประชากร, ทำไม
  • 4:43 - 4:45
    เราไม่ใช้สูตรเดียวกับที่เรา
  • 4:45 - 4:46
    ใช้กับตัวอย่างล่ะ?
  • 4:46 - 4:49
    ผมก็บอกได้ว่า -- นี่คือความแปรปรวนตัวอย่าง
  • 4:49 - 4:55
    เขาใช้สูตร s กำลังสอง
  • 4:55 - 4:58
    ซิกม่าก็เหมือนกับตัวอักษรกรีกของ s
  • 4:58 - 5:00
    ตอนนี้เวลาเราคิดกลุ่มตัวอย่าง, เรา
  • 5:00 - 5:01
    แค่เขียน s ลงไป
  • 5:01 - 5:02
    นี่ก็คือความแปรปรวนของตัวอย่าง
  • 5:02 - 5:03
    ขอผมเขียนมันลงไปนะ
  • 5:03 - 5:04
    ความแปรปรวนของตัวอย่าง
  • 5:04 - 5:12
    -
  • 5:12 - 5:16
    นี่คือ -- เราก็อาจบอกว่า, นี่อาจเป็นวิธีที่ดีในการ
  • 5:16 - 5:17
    หาความแปรปรวนตัวอย่าง คือทำแบบนี้
  • 5:17 - 5:24
    ลองหาระยะห่างของแต่ละจุดในตัวอย่าง
  • 5:24 - 5:27
    หาว่ามันห่างจากค่าเฉลี่ยตัวอย่างแค่ไหน
  • 5:27 - 5:29
    ตรงนี้ เราใช้ค่าเฉลี่ยประชากร, แต่ตอนนี้เราจะใช้
  • 5:29 - 5:31
    ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง เพราะนั่นคือสิ่งที่เรามี
  • 5:31 - 5:33
    เราไม่รู้ว่าค่าเฉลี่ยประชากรเป็นเท่าไหร่
  • 5:33 - 5:36
    หากไม่ดูประชากรทั้งหมด
  • 5:36 - 5:36
    ยกกำลังมัน
  • 5:36 - 5:38
    นั่นทำให้มันเป็นบวก และมันมีสมบัติอื่น
  • 5:38 - 5:40
    ซึ่งเราจะพูดถึงต่อไป
  • 5:40 - 5:43
    แล้วถ้าเราหาค่าเฉลี่ยของระยะกำลังสองพวกนี้
  • 5:43 - 5:45
    แล้วคุณก็หาค่ามันจาก -- คุณรวมพวกมันเข้า
  • 5:45 - 5:47
    มันมีอยู่ n ตัวให้รวม, จริงไหม?
  • 5:47 - 5:48
    n เล็ก
  • 5:48 - 5:52
    แล้วคุณก็หารมันด้วยตัว n เล็ก
  • 5:52 - 5:53
    และคุณบอกว่า, นี่เป็นค่าประมาณที่ดี
  • 5:53 - 5:56
    ไม่ว่าความแปรปรวนนี้เป็นอะไร, มันน่าจะเป็นค่าประมาณที่ดี
  • 5:56 - 5:57
    สำหรับประชากรทั้งหมด
  • 5:57 - 6:01
    ที่จริง นี่คือสิ่งที่บางคนมักหมายถึง เวลาเขา
  • 6:01 - 6:02
    พูดถึงความแปรปรวนของตัวอย่าง
  • 6:02 - 6:05
    และบางครั้ง มันมักหมายถึงอันนี้
  • 6:05 - 6:08
    เขาจะเขียน n เล็กตรงนี้
  • 6:08 - 6:10
    และสาเหตุที่เขาทำอย่างนั้น เพราะเราหารด้วย n
  • 6:10 - 6:12
    แล้วคุณบอกว่า, ซาล มันมีปัญหาอะไรเหรอ?
  • 6:12 - 6:14
    และปัญหา -- ผมจะบอกถึงสัญชาตญาณให้ฟัง เพราะนี่
  • 6:14 - 6:16
    เป็นบางสิ่งที่ผมเคยสงสัยในใจ
  • 6:16 - 6:19
    และผมยังคงมีปัญหากับ
  • 6:19 - 6:22
    สัญชาตญาณเบื้องหลังเรื่องนี้อยู่
  • 6:22 - 6:25
    ผมมีสัญชาตญาณอยู่, แต่เราต้องพิสูจน์
  • 6:25 - 6:27
    ด้วยตัวองว่ามันเป็นอย่างนั้นจริง
  • 6:27 - 6:28
    แต่ลองคิดดู
  • 6:28 - 6:30
    ถ้าผมมีเลขหลายๆ ตัว, และผมจะวาด
  • 6:30 - 6:33
    เส้นจำนวนตรงนี้
  • 6:33 - 6:36
    ถ้าผมวาดเส้นจำนวนตรงนี้ -- สมมุติคุณรู้ว่า --
  • 6:36 - 6:39
    สมมุติว่าผมมีเลขหลายๆ ตัวในประชากร
  • 6:39 - 6:42
    สมมุติว่า -- ผมจะสุ่มใส่เลข
  • 6:42 - 6:44
    ลงไปเป็นประชากรนะ
  • 6:44 - 6:46
    อันที่อยู่ทางขวา มากกว่าอัน
  • 6:46 - 6:46
    ที่อยู่ทางซ้าย
  • 6:46 - 6:49
    -
  • 6:49 - 6:53
    แล้วถ้าผมเลือกกลุ่มตัวอย่างจากมัน, บางทีผมเลือก --
  • 6:53 - 6:55
    ตัวอย่าง, มันเป็นไปอย่างสุ่ม
  • 6:55 - 6:56
    ที่จริงคุณอยากเลือกตัวอย่างแบบสุ่ม
  • 6:56 - 6:57
    คุณไม่อยากเลือกให้มันเบี้ยวไป
  • 6:57 - 7:03
    บางทีผมเลือกอันนี้, อันนี้, อันนี้,
  • 7:03 - 7:05
    แล้วก็อันนั้น, ดีไหม?
  • 7:05 - 7:07
    แล้วถ้าเราหาค่าเฉลี่ยและเลขนั้น,
  • 7:07 - 7:08
    เลขนั้น, เลขนั้น, เลขนั้น
  • 7:08 - 7:09
    มันจะอยู่ตรงกลางสักที่
  • 7:09 - 7:11
    มันอาจจะอยู่แถวโน้น
  • 7:11 - 7:13
    แล้วถ้าเราหาความแปรปรวนตัวอย่าง โดยใช้
  • 7:13 - 7:17
    สูตรนี้, ผมก็บอกว่า โอเค ระยะนี่กำลังสอง บวกระยะนี่
  • 7:17 - 7:21
    กำลังสอง บวกระยะนี่กำลังสอง บวก
  • 7:21 - 7:24
    ระยะนั่นกำลังสอง แล้วเฉลี่ยทุกอย่างออกมา
  • 7:24 - 7:25
    แล้วผมจะได้เลขนี้มา
  • 7:25 - 7:28
    แล้วมันอาจเป็นค่าประมาณที่ดี
  • 7:28 - 7:30
    สำหรับความแปรปรวนของประชากรทั้งหมดนี้
  • 7:30 - 7:32
    ค่าเฉลี่ยของประชากรก็จะ
  • 7:32 - 7:33
    -- ไม่รู้สิ
  • 7:33 - 7:35
    มันอาจอยู่ใกล้อันนี้
  • 7:35 - 7:37
    ถ้าเราเอาข้อมูลทุกจุดมาแล้วเฉลี่ยมัน,
  • 7:37 - 7:39
    มันอาจอยู่ตรงนี้สักที่
  • 7:39 - 7:41
    แล้วถ้าคุณหาความแปรปรวน, มันอาจอยู่
  • 7:41 - 7:44
    ใกล้กับค่าเฉลี่ยของเส้นพวกนี้มาก, จริงไหม?
  • 7:44 - 7:47
    ระยะทางของความแปรปรวนตัวอย่างทั้งหมด, จริงไหม?
  • 7:47 - 7:47
    ใช้ได้
  • 7:47 - 7:48
    แล้วคุณบอกว่า, เฮ้ ซาล
  • 7:48 - 7:50
    นี่ก็ดูดีแล้วนี่
  • 7:50 - 7:52
    แต่มันมีปัญหาอยู่นิดหน่อย
  • 7:52 - 7:55
    ถ้าเกิด -- มันมีโอกาสที่ แทนที่จะ
  • 7:55 - 7:57
    เลือกตัวเลขที่กระจายตัวดีอย่างนี้
  • 7:57 - 8:01
    เป็นตัวอย่าง, ถ้าเกิดผมเลือกได้เลขนี้, เลขนี้
  • 8:01 - 8:04
    แล้วก็เลขนั้น เป็นกลุ่ม -- สมมุติว่าเลขนั้นด้วย
  • 8:04 - 8:05
    เป็นกลุ่มตัวอย่างของผมล่ะ?
  • 8:05 - 8:08
    ทีนี้ ไม่ว่ากลุ่มตัวอย่างคุณเป็นอะไร ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง
  • 8:08 - 8:10
    จะอยู่ตรงกลางของมัน, จริงไหม?
  • 8:10 - 8:13
    ในกรณีนี้, ค่าเฉลี่ยตัวอย่างอาจอยู่ตรงนี้
  • 8:13 - 8:15
    แล้วตัวเลขทั้งหมดนี้, คุณอาจบอกว่า โอเค เลขนี้
  • 8:15 - 8:18
    ไม่ไกลจากเลขนั้น, แต่เลขนั้นไม่ไกลนัก, แล้ว
  • 8:18 - 8:19
    เลขนั้นก็ไม่ไกลเกินไป
  • 8:19 - 8:22
    ค่าความแปรปรวนตัวอย่าง, เมื่อคุณหาแบบนี้, มันจะ
  • 8:22 - 8:24
    ออกมาต่ำไปหน่อย
  • 8:24 - 8:27
    เพราะตัวเลขพวกนี้, พวกมัน -- พวกมัน
  • 8:27 - 8:29
    ตามนิยามนี้, จะอยู่ใกล้ค่าเฉลี่ย
  • 8:29 - 8:30
    ของกันและกัน
  • 8:30 - 8:35
    แต่ในกรณนี้, ตัวอย่างของคุณเบี้ยว
  • 8:35 - 8:38
    ค่าเฉลี่ยของประชากรจริง อยู่ข้างนอกสักที่
  • 8:38 - 8:41
    ดังนั้นความแปรปรวนจริงของตัวอย่าง, ถ้าคุณรู้
  • 8:41 - 8:44
    ค่าเฉลี่ยจริง -- ผมรู้ว่านี่มันน่าสับสนหน่อย
  • 8:44 - 8:45
    ถ้าคุณรู้ค่าเฉลี่ย, คุณจะบอกว่า
  • 8:45 - 8:47
    โอ้ ว้าว
  • 8:47 - 8:48
    คุณหาระยะพวกนี้ได้, ซึ่ง
  • 8:48 - 8:51
    มีมากกว่านี้อีก
  • 8:51 - 8:54
    ประเด็นที่ผมบอกคือว่า, เวลาคุณเลือก
  • 8:54 - 8:58
    กลุ่มตัวอย่าง, มันมีโอกาสที่ค่าเฉลี่ยตัวอย่างของคุณ
  • 8:58 - 9:00
    มันใกล้กับค่าเฉลี่ยประชากร, จริงไหม?
  • 9:00 - 9:03
    บางทีค่าเฉลี่ยตัวอย่างอยู่ตรงนี้ และค่าเฉลี่ย
  • 9:03 - 9:03
    ประชากรอยู่ตรงนี้
  • 9:03 - 9:06
    แล้วสูตรนี้จะใช้ได้เหมือนกัน,
  • 9:06 - 9:08
    อย่างน้อยเมื่อรู้จุดข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง แล้วหา
  • 9:08 - 9:09
    ว่าความแปรปรวนเป็นเท่าไหร่
  • 9:09 - 9:14
    แต่มันมีโอกาสทีเดียว ที่ค่าเฉลี่ยตัวอย่างของคุณ -- ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง
  • 9:14 - 9:17
    จะอยู่ข้างในกลุ่มตัวอย่างเสมอ, จริงไหม?
  • 9:17 - 9:19
    มันจะอยู่ตรงศูนย์กลางของกลุ่มตัวอย่างเสมอ
  • 9:19 - 9:21
    แต่มันเป็นไปได้ที่ค่าเฉลี่ยประชากร
  • 9:21 - 9:23
    อยู่ข้างนอกกลุ่มตัวอย่าง
  • 9:23 - 9:25
    มันอาจเป็นว่า คุณเลือกอัน
  • 9:25 - 9:28
    ที่มันไม่มีค่าเฉลี่ยประชากรอยู่ข้างใน
  • 9:28 - 9:32
    แล้วความแปรปรวนตัวอย่าง ที่คำนวณแบบนี้ จะ
  • 9:32 - 9:35
    คาดเดาความแปรปรวนประชากรต่ำไป
  • 9:35 - 9:36
    , จริงไหม?
  • 9:36 - 9:38
    เพราะมันเลือกค่าเฉลี่ยที่ใกล้ตัวเอง
  • 9:38 - 9:40
    มากกว่าค่าเฉลี่ยประชากร
  • 9:40 - 9:43
    และถ้าคุณเข้าใจ, ที่จริง, แค่สัก 10%
  • 9:43 - 9:46
    ของอันนี้, คุณก็เป็นนักเรียนวิชาสิถิตระดับสูงแล้ว
  • 9:46 - 9:49
    แต่ผมบอกเรื่องพวกนี้ให้คุณ, หวังว่า
  • 9:49 - 9:54
    จะได้สัญชาตญาณเพื่อเข้าใจว่า อันนี้มักประเมินค่าต่ำไป
  • 9:54 - 9:57
    สูตรนี้มักกะค่าความแปรปรวนของ
  • 9:57 - 9:59
    ประชากรจริงต่ำไป
  • 9:59 - 10:01
    และมันมีสูตร, และที่จริงมีวิธีพิสูจน์
  • 10:01 - 10:05
    ที่รัดกุมกว่าที่ผมทำ, มันมีวิธีที่ดีกว่า
  • 10:05 - 10:08
    และเขาเรียกมันว่าค่าประมาณความแปรปรวน
  • 10:08 - 10:09
    ประชารที่ไม่เอนเอียง
  • 10:09 - 10:11
    หรือความแปรปรวนตัวอย่างแบบไม่เอนเอียง
  • 10:11 - 10:14
    บางครั้งเขาเขียนแทนด้วย s กำลังสองเหมือนเดิม
  • 10:14 - 10:19
    บางครั้งเขาเขียนด้วย s n ลบ 1 กำลังสอง
  • 10:19 - 10:21
    และผมจะแสดงให้ดูว่าทำไม
  • 10:21 - 10:22
    มันเกือบเหมือนเดิม
  • 10:22 - 10:25
    คุณเอาจุดข้อมูลแต่ละจุดมา, หาว่าพวกมัน
  • 10:25 - 10:28
    ใกล้จากค่าเฉลี่ยตัวอย่างแค่ไหน
  • 10:28 - 10:29
    คุณยกกำลังพวกมัน
  • 10:29 - 10:32
    แล้วคุณหาค่าเฉลี่ยของพวกนั้นกำลังสอง, ยกเว้น
  • 10:32 - 10:33
    อยู่อย่างเดียว
  • 10:33 - 10:36
    i เท่ากับ 1 ถึง i เท่ากับ n
  • 10:36 - 10:39
    แทนที่จะหารด้วย n, คุณหารด้วยเลข
  • 10:39 - 10:42
    ที่น้อยลงหน่อย
  • 10:42 - 10:44
    คุณหารด้วย n ลบ 1
  • 10:44 - 10:47
    แล้วเมื่อคุณหารด้วย n-1 แทนที่จะหารด้วย
  • 10:47 - 10:50
    n, คุณจะได้ค่าที่มากกว่านิดหน่อยตรงนี้
  • 10:50 - 10:51
    ปรากฏว่านี่คือ
  • 10:51 - 10:52
    ค่าประมาณที่ดีกว่า
  • 10:52 - 10:55
    และวันหนึ่ง ผมจะเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อพิสูจน์
  • 10:55 - 10:57
    อย่างน้อยด้วยการทดลอง ว่านี่
  • 10:57 - 11:02
    คือการประมาณควาามแปรปรวนของประชากรที่ดีกว่า
  • 11:02 - 11:03
    และคุณสามารถคำนวณมันแบบเดียวกันได้
  • 11:03 - 11:05
    คุณแค่หารด้วย n ลบ 1
  • 11:05 - 11:07
    วิธีคิดอีกอย่างคือว่า -- และที่จริง, ไม่
  • 11:07 - 11:08
    ผมหมดเวลาแล้ว
  • 11:08 - 11:10
    ผมปล่อยคุณไปก่อนนะ
  • 11:10 - 11:11
    แล้วในวิดีโอหน้าล เราจะมาคำนวณ
  • 11:11 - 11:13
    เพื่อให้คุณไม่รู้สึกล้นเกินไป
  • 11:13 - 11:13
    เนื่องจากแนวคิดพวกนี้
  • 11:13 - 11:15
    เพราะเราใช้แนวคิดที่เป็นนามธรรมอยู่
  • 11:15 - 11:17
    แล้วพบกันในวิดีโอหน้าครับ
  • 11:17 - 11:17
    -
Title:
Statistics: Sample Variance
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
11:18

Thai subtitles

Revisions