< Return to Video

Glycolysis

  • 0:00 - 0:03
    เรารู้แล้วว่าการหายใจระดับเซลล์สามารถ
  • 0:03 - 0:06
    แบ่งได้เป็น 3 ระยะ
  • 0:06 - 0:11
    แบ่งได้เป็น 3 ระยะ
  • 0:11 - 0:17
    กระบวนการแรกคือ ไกลโคไลซิส เป็นกระบวนการสลาย
  • 0:17 - 0:18
    กลูโคส
  • 0:18 - 0:24
    กลูโคส
  • 0:24 - 0:28
    และปฏิกิริยานี้สามารถเกิดขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องมีออกซิเจน
  • 0:28 - 0:32
    ถ้าไม่ใช้ออกซิเจนก็จะเข้าสู่กระบวนการหมัก
  • 0:32 - 0:35
    ผมจะอธิบายเรื่องนั้นอีกทีครับ
  • 0:35 - 0:37
    คร่าวๆ คือ กระบวนการหมักที่เกิดขึ้นในคน
  • 0:37 - 0:39
    จะสร้างกรดแลคติค
  • 0:39 - 0:41
    ส่วนในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นอาจจะ
  • 0:41 - 0:43
    สร้างแอลกอฮอร์หรือเอทานอล
  • 0:43 - 0:46
    ถ้าในปฏิกริยาใช้ออกซิเจน ส่วนใหญ่ร่างกายเรา
  • 0:46 - 0:49
    ใช้ปฏิกริยานี้ ถ้ามี
  • 0:49 - 0:51
    ออกซิเจน ก็จะเข้าสู่
  • 0:51 - 0:54
    กระบวนการ Kreb's cycle
  • 0:54 - 0:59
    หรือบางครั้งเรียกว่า Citric acid cycle เพราะมันเกี่ยวกับ
  • 0:59 - 1:00
    กรดซิตริก
  • 1:00 - 1:03
    สารอย่างเดียวกับที่มีในส้ม มะนาว
  • 1:03 - 1:06
    จากนั้น เราจะไปที่กระบวนการ
  • 1:06 - 1:07
    กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
  • 1:07 - 1:10
    Electron transport chain
  • 1:10 - 1:13
    ตามที่เรียนมาจากวิดีโอม้วนแรกเรื่องการหายใจระดับเซลล์
  • 1:13 - 1:16
    ว่า ATP จำนวนมหาศาลสร้างจาก
  • 1:16 - 1:16
    กระบวนการนี้
  • 1:16 - 1:19
    โดยที่ส่วนประกอบของปฏิกิริยานี้จะมาจาก
  • 1:19 - 1:20
    ส่วนข้างบนนี้ (ไกลโคไลซิส)
  • 1:20 - 1:23
    ในวีดีโอนี้ครับ เราจะสนใจที่
  • 1:23 - 1:25
    ไกลโคไลซิส
  • 1:25 - 1:28
    ไกลโคไลซิส
  • 1:28 - 1:31
    มันเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก
  • 1:31 - 1:33
    เพราะคุณอาจจะสับสนได้
  • 1:33 - 1:35
    ผมจะแสดงส่วนยากให้ดูเล็กน้อย
  • 1:35 - 1:35
    กระบวนการที่แท้จริง
  • 1:35 - 1:37
    มันอาจจะน่าเบื่อเล็กน้อย
  • 1:37 - 1:39
    แต่ที่ผมทำคือทำให้มันง่ายที่สุด เท่าที่เป็นไปได้
  • 1:39 - 1:40
    เท่าที่เป็นไปได้
  • 1:40 - 1:43
    หลังจากนี้ เราจะชม
  • 1:43 - 1:46
    ส่วนยากของกระบวนการไกลโคไลซิส
  • 1:46 - 1:47
    เพื่อให้เรารู้ถึงที่มามากขึ้น
  • 1:47 - 1:49
    ซึ่ง ไกลโคไลซิส หรือ การหายใจระดับเซลล์นั้น
  • 1:49 - 1:50
    เริ่มต้นด้วยกลูโคส
  • 1:50 - 1:53
    เริ่มต้นด้วยกลูโคส
  • 1:53 - 1:55
    ซึ่งสูตรทางโมเลกุลของกลูโคสก็คือ
  • 1:55 - 2:00
    C6H12O6
  • 2:00 - 2:02
    หลังจากนั้นผมสามารถวาดโครงสร้างโมเลกุลให้ได้
  • 2:02 - 2:02
    มันอาจจะใช้เวลาเล็กน้อย
  • 2:02 - 2:04
    แต่ผมขอเขียนเป็นโซ่ตรงละกัน
  • 2:04 - 2:07
    ซึ่งที่จริงมันอาจจะเป็นรูปทรงวงแหวนก็ได้
  • 2:07 - 2:13
    แต่เพื่อให้ง่าย ผมจะวาดคาร์บอน 6 อันเป็นเส้นเดียว
  • 2:13 - 2:16
    ซึ่งไกลโคไลซิสมีสองขั้นตอน
  • 2:16 - 2:17
    ที่เราควรรู้
  • 2:17 - 2:19
    ขั้นตอนแรก เป็นขั้นตอนการลงทุน
  • 2:19 - 2:23
    ซึ่งขั้นตอนการลงทุนจะใช้ 2 ATP
  • 2:23 - 2:30
    ซึ่งขั้นตอนการลงทุนจะใช้ 2 ATP
  • 2:30 - 2:32
    ซึ่งเป้าหมายของการหายใจระดับเซลล์คือ
  • 2:32 - 2:36
    การสร้าง ATP แต่ในขั้นตอนแรก
  • 2:36 - 2:37
    เราต้องใช้ ATP 2 อัน
  • 2:37 - 2:41
    ผมจะใช้ ATP 2 อันเพื่อแตกกลูโคสเป็น
  • 2:41 - 2:51
    โมเลกุลที่มี 3 คาร์บอน 2 โมเลกุล
  • 2:51 - 2:54
    และพวกมันก็มีกลุ่มฟอสเฟตเกาะอยู่ด้วย
  • 2:54 - 2:57
    ซึ่งกลุ่มฟอสเฟตเหล่านี้มาจาก ATP
  • 2:57 - 2:59
    เมื่อพวกมันมีกลุ่มฟอสเฟตเกาะอยู่
  • 2:59 - 3:02
    เราจะเรียกมันว่า
  • 3:02 - 3:03
    PGAL
  • 3:03 - 3:04
    แต่คุณไม่จำเป็นต้องจำตรงนี้
  • 3:04 - 3:12
    ซึ่งชื่อเต็มคือ phosphoglyceraldehyde
  • 3:12 - 3:13
    ซึ่งคำนี้สะกดยากมาก
  • 3:13 - 3:14
    ส่วนนี้ไม่จำเป็นต้องรู้
  • 3:14 - 3:16
    ที่คุณต้องรู้คือ
  • 3:16 - 3:18
    ในตอนแรกคุณใช้ ATP ไป 2 โมเลกุล
  • 3:18 - 3:20
    นี่คือเหตุผลว่าทำไมมันถึงมีชื่อว่าขั้นตอนการลงทุน
  • 3:20 - 3:29
    ซึ่งก็เหมือนกับในทางธุรกิจ เราต้องลงทุนก่อน
  • 3:29 - 3:34
    หลังจากนั้นโมเลกุล PGAL 2 โมเลกุล ก็จะไปสู่
  • 3:34 - 3:35
    ขั้นตอนของ payoff phase
  • 3:35 - 3:39
    ในขั้นตอน payoff phase นั้น โมเลกุลของ
  • 3:39 - 3:42
    PGAL จะถูกเปลี่ยนเป็น pyruvate
  • 3:42 - 3:45
    ซึ่งก็คือโมเลกุล 3-คาร์บอน แต่ถูกเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
  • 3:45 - 3:49
    ซึ่งขั้นตอนสู่การเป็น pyruvate
  • 3:49 - 3:53
    ผมจะวาด pyruvate เป็นสีน้ำเงิน
  • 3:53 - 3:55
    คุณควรจะรู้จักคำๆ นี้
  • 3:55 - 3:56
    ผมจะวาดโครงสร้างของมัน
  • 3:56 - 3:57
    Pyruvate
  • 3:57 - 4:00
    หรือบางครั้ง มันจะถูกเรียกว่า กรดไพรูวิค
  • 4:00 - 4:03
    ซึ่งมันคือสิ่งเดียวกัน
  • 4:03 - 4:06
    และมันคือผลที่ได้จากไกลโคไลซิส
  • 4:06 - 4:08
    ซึ่งในตอนแรก คุณเริ่มด้วยกลูโคส ในขั้นตอนการลงทุน
  • 4:08 - 4:10
    แล้วคุณก็ได้ PGAL
  • 4:10 - 4:13
    ซึ่งคือผลที่ได้จากการแตกกลูโคสออก
  • 4:13 - 4:14
    และแปะกลุ่มฟอสเฟตเข้าไป
  • 4:14 - 4:17
    และโมเลกุลนี้จะเข้าสู่
  • 4:17 - 4:18
    payoff phase
  • 4:18 - 4:22
    ซึ่งคุณจะได้ไพรูเวท 2 โมเลกุลจาก
  • 4:22 - 4:25
    กลูโคสทุกโมเลกุลที่คุณเริ่มไว้ด้วย
  • 4:25 - 4:28
    ซึ่งคุณอาจจะสงสัยว่า นี่ Sal มันมี payoff phase ด้วยนะ
  • 4:28 - 4:30
    แล้ว payoff คืออะไร
  • 4:30 - 4:36
    อืม.. จาก payoff
  • 4:36 - 4:37
    ขั้น payoff phase
  • 4:37 - 4:39
    นี่คือ payoff phase
  • 4:41 - 4:43
    และ...ขอโทษนะครับที่พื้นหลังเป็นสีขาว
  • 4:43 - 4:45
    จริงๆแล้วที่กระดานเป็นแบบนี้เพราะผม
  • 4:45 - 4:48
    นำข้อมูลมาจากวิกิพีเดีย ของเขามัน
  • 4:48 - 4:50
    เป็นสีขาว พี้นหลังที่เห็นจึงเป็นแบบนี้
  • 4:50 - 4:51
    ในวิดีโอ
  • 4:51 - 4:54
    แต่ยังไงผมก็ชอบพื้นหลังสีดำ
  • 4:54 - 4:55
    มากกว่า
  • 4:55 - 4:58
    ตรงนี้เป็น payoff phase
  • 4:58 - 5:01
    ได้มาจาก Phosphoglyceraldehyde
  • 5:01 - 5:05
    ซึ่งกลายเป็น กรดไพรูวิค จะได้ 2 สิ่งออกมา
  • 5:05 - 5:07
    ผมว่า มันออกมา 3 สิ่ง
  • 5:07 - 5:12
    เราสลาย PGALเป็น
  • 5:12 - 5:13
    ไพรูเวต จะมี 2 ATP ออกมาด้วย
  • 5:13 - 5:16
    2 ATP
  • 5:16 - 5:18
    ผมจะได้ 2 ATP
  • 5:18 - 5:20
    และ 2 ATP จากอีกโมเลกุล
  • 5:20 - 5:22
    และจากการสลายนั้นจะได้ NADH ด้วย
  • 5:22 - 5:28
    NADH
  • 5:28 - 5:30
    ใช้สีเข้มกว่านี้เขียนดีกว่า
  • 5:30 - 5:31
    NADH
  • 5:37 - 5:40
    แน่นอนว่า มันไม่ได้สร้างโมเลกุลทั้งหมด
  • 5:40 - 5:41
    จากความว่างเปล่า
  • 5:41 - 5:43
    ที่สำคัญคือ การสร้างNADH ใช้
  • 5:43 - 5:48
    NAD+ ดังนั้นตั้งจึงต้นที่ NAD+
  • 5:48 - 5:51
    แล้วรีดิวส์
  • 5:51 - 5:53
    ด้วยการเพิ่ม H
  • 5:53 - 5:55
    จำได้นะ! ที่ไปเรียน 2 ครั้งที่แล้ว เธอ
  • 5:55 - 5:58
    ได้ดูการรีดักชันของ H
  • 5:58 - 6:01
    ดังนั้นจะได้ว่า NAD+ ถูกรีดิวส์เป็น NADH
  • 6:01 - 6:05
    ต่อไป NADH จะใช้ในกระบวนการ
  • 6:05 - 6:08
    Electron transport chain ที่ใช้สร้าง ATP
  • 6:08 - 6:13
    และทั้งหมดนี้ที่เราได้รู้คือกระบวนการของ
  • 6:13 - 6:16
    Glycolysis ที่มีสารตั้งต้น
  • 6:16 - 6:18
    คือกลูโคส
  • 6:18 - 6:21
    กลูโคส
  • 6:21 - 6:25
    และคุณจะใช้ NAD+
  • 6:25 - 6:28
    NAD+
  • 6:28 - 6:30
    ความจริง ทุกโมลของกลูโคส
  • 6:30 - 6:34
    ใช้ NAD+ 2 โมเลกุล
  • 6:34 - 6:35
    กับ ATP 2 โมเลกุล
  • 6:38 - 6:41
    ตอนนี้ผมกำลังเขียนสารตั้งต้น
  • 6:41 - 6:42
    ที่ใช้
  • 6:42 - 6:45
    และเธอต้องใช้--- เอ่อ
  • 6:45 - 6:47
    ในตอนแรกพวกนี้เป็น ADP ก่อนจะเปลี่ยนเป็น ATP ครับ
  • 6:47 - 6:52
    ADP อีก 4 โมเลกุล
  • 6:52 - 6:57
    แล้ว สิ้นสุดกระบวนการ Glycolysis
  • 6:57 - 6:58
    ที่ผมเขียนตรงส่วนนี้
  • 6:58 - 7:01
    ผม...ขอโทษนะครับ ตรงนี้เป็น ADP
  • 7:01 - 7:05
    ADP
  • 7:05 - 7:09
    แก้เป็น
  • 7:09 - 7:11
    4 ADPs
  • 7:11 - 7:12
    จากนั้น เธอก็ใช้
  • 7:12 - 7:16
    หมู่ฟอสเฟต 4 หมู่
  • 7:16 - 7:19
    หมู่ฟอสเฟต 4 หมู่ บางครั้งจะเขียนฟอสเฟต
  • 7:19 - 7:19
    แบบนั้นก็ได้
  • 7:19 - 7:20
    แต่ผมเลือกแบบนี้ละกัน
  • 7:20 - 7:22
    ฟอสเฟต 4 หมู่
  • 7:26 - 7:31
    หลังจากสิ้นสุดปฏิกริยา Glycolysis จะได้ไพรูเวต 2
  • 7:31 - 7:38
    จะได้ไพรูเวต 2 โมเลกุล NADH อีก 2 โมเลกุล
  • 7:41 - 7:43
    โดย NAD จะถูกรีดิวส์
  • 7:43 - 7:45
    มันรับ H
  • 7:45 - 7:46
    RIG
  • 7:46 - 7:47
    OIL RIG
  • 7:47 - 7:49
    Reduction คือการรับอิเล็กตรอน
  • 7:49 - 7:50
    ในทางชีววิทยาเราถือว่า
  • 7:50 - 7:51
    มันเป็นการรับ H
  • 7:51 - 7:53
    เพราะ H มี Electronegativity ต่ำ
  • 7:53 - 7:54
    H จึงเสียอิเล็กตรอน
  • 7:54 - 7:56
    ก็คือ รับอิเล็กตรอนจากมันนั่นเอง
  • 7:56 - 8:02
    ดังนั้น 2 NADH 2 ATP ใช้ใน
  • 8:02 - 8:03
    investment phase
  • 8:03 - 8:04
    ที่ผมเขียนแยกกันไว้
  • 8:04 - 8:06
    และ 2 โมเลกุลนี้ถูกใช้ใน Investment phase
  • 8:06 - 8:08
    แล้วกลายเป็น
  • 8:08 - 8:11
    ADP 2 โมเลกุล
  • 8:11 - 8:14
    แล้วเจ้าตัวนี้
  • 8:14 - 8:15
    เปลี่ยนเป็น ATP
  • 8:15 - 8:19
    จะได้ 4 ATP
  • 8:19 - 8:21
    ผมคิดว่าเราไม่ได้ใช้ 4 ตัว
  • 8:21 - 8:23
    เราใช้แค่ฟอสเฟส 2 ตัว
  • 8:23 - 8:25
    เพราะมันใช้แค่ 2 ตัว
  • 8:25 - 8:27
    จากนั้น เราจะใช้อีก 2 ตัว เพื่อ
  • 8:27 - 8:29
    ให้ตรงนั้นมี 4 ตัว
  • 8:29 - 8:31
    แต่รวมๆแล้ว เธอจะใช้ กลูโคส ตั้งต้น
  • 8:31 - 8:33
    ได้ ไพรูเวต 2 โมเลกุล เป็นผลิตภัณฑ์
  • 8:33 - 8:35
    จ่าย ATP 2 โมเลกุล
  • 8:35 - 8:37
    ได้ 4 ATP กลับมา
  • 8:37 - 8:40
    ดังนั้น จะได้ a net of 2 ATP
  • 8:40 - 8:41
    ให้ผมเขียนสรุปตรงนั้น สรุปว่า
  • 8:41 - 8:46
    ผลพลอยได้จาก Glycolysis คือ 2 ATP
  • 8:46 - 8:51
    กับ 2 NADH จากนั้นจะเอา 2 อย่างนี้ไปใช้ใน
  • 8:51 - 8:55
    electron transport chain เพื่อ ผลิต 3 ATP
  • 8:55 - 8:59
    ตอนนี้เธอได้ NADH แล้วก็จะได้ 2 ไพรูเวต
  • 8:59 - 9:03
    เอาไปเปลี่ยนเป็น acetyl-CoA ที่จะเป็น
  • 9:03 - 9:05
    วัตถุดิบของ Kreb's cycle
  • 9:05 - 9:11
    ทั้งหมดนี้เป็นสารที่ได้จาก Glycolysis
  • 9:11 - 9:13
    ตอนนี้เราได้ภาพรวมแล้ว เราไปดู
  • 9:13 - 9:14
    กลไกของมันกันเถอะ
  • 9:14 - 9:16
    ภาพดูค่อนข้างซับซ้อนกว่า
  • 9:16 - 9:19
    แต่มันก็แนวเดียวกันกับที่เรียนไปแล้ว
  • 9:19 - 9:22
    คือ เริ่มที่ กลูโคสที่มี
  • 9:22 - 9:24
    รูปร่างเป็น 6 ลูกโซ่
  • 9:24 - 9:26
    ต่อเป็นวง วงแหวน
  • 9:26 - 9:30
    (นับ C)
  • 9:30 - 9:33
    เขียนในแบบนี้ก็ได้
  • 9:33 - 9:34
    ทำให้ดูง่ายขึ้น
  • 9:34 - 9:36
    C6H12O6 เข้าทำปฏิกริยา
  • 9:36 - 9:37
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:37 - 9:39
    ผมจะเน้นสีไว้
  • 9:39 - 9:42
    ผมจะใช้สีส้มเน้นตรง ที่ใช้ ATP
  • 9:42 - 9:44
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:44 - 9:46
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:46 - 9:48
    และ อย่างที่บอก สารที่ได้ในแต่ละขั้น
  • 9:48 - 9:49
    จะมีชื่อที่ต่างกันนิดหน่อย
  • 9:49 - 9:50
    แต่สารที่อยู่ตรงนี้คือ
  • 9:50 - 9:52
    phosphoglyceraldehyde
  • 9:52 - 9:54
    หรือเรียกว่า glyceraldehyde 3-phosphate
  • 9:54 - 9:57
    มันก็คือโมเลกุลเดียวกัน
  • 9:57 - 10:00
    อย่างที่เห็นในรูปที่ผมวาดก่อนหน้านี้
  • 10:00 - 10:03
    เรามี 1..2..3 คาร์บอน
  • 10:06 - 10:08
    ที่มีฟอสเฟสอยู่ด้วย
  • 10:08 - 10:10
    จริงๆแล้วฟอสเฟสสร้างพันธะกับออกซิเจน
  • 10:10 - 10:12
    แต่ผมอยากเข้าใจง่าย
  • 10:12 - 10:14
    จึงวาดหมู่ฟอสเฟสแบบนี้
  • 10:14 - 10:16
    ที่เขียนให้ดูแล้วนี่ไง
  • 10:16 - 10:19
    phosphoglyceraldehyde ตรงนี้มี
  • 10:19 - 10:21
    โครงสร้างจริงคือ แบบนี้
  • 10:21 - 10:24
    ผมคิดว่าบางครั้งเธอดูโครงสร้างแล้วอาจจะทำให้
  • 10:24 - 10:25
    ลืมภาพรวมของ
  • 13:27 - 13:30
    ครับ ผมก็หวังว่าวีดีโอนี้ช่วยคุณได้
Title:
Glycolysis
Description:

ไกลโคไลซิส เป็นกระบวนการหายใจระดับเซลล์อันดับแรก จะเปลี่ยนโมเลกุลอาหารที่เล็กที่สุดคือ กลูโคส ให้เป็นสารที่เล็กลงเรื่อยๆ มีหลายขั้นตอนเลยทีเดียว แต่ละขั้นตอนก็จะได้ผลพลอยได้ต่างๆเพื่อไปใช้ต่อ เช่น ไปสร้างพลังงาน
เรียนกันเลย! ขอให้สนุก :D

more » « less
Video Language:
English
Duration:
13:30
Retired user edited Thai subtitles for Glycolysis
Retired user edited Thai subtitles for Glycolysis
PinkCassiaFlora29 edited Thai subtitles for Glycolysis
PinkCassiaFlora29 edited Thai subtitles for Glycolysis
PinkCassiaFlora29 edited Thai subtitles for Glycolysis
chaichontat edited Thai subtitles for Glycolysis
chaichontat edited Thai subtitles for Glycolysis
chaichontat edited Thai subtitles for Glycolysis
Show all

Thai subtitles

Incomplete

Revisions