< Return to Video

Graphing Logarithmic Functions

  • 0:01 - 0:05
    เราถูกสั่งให้วาดกราฟ y เท่ากับลอกฐาน 5 ของ x
  • 0:05 - 0:07
    และลองเตือนความจำหน่อยว่านี่หมายถึงอะไร,
  • 0:07 - 0:13
    นี่หมายความว่า y เท่ากับกำลังที่ผมต้องยกให้ 5 เพื่อให้ได้ x
  • 0:13 - 0:17
    หรือถ้าผมเขียนสมการลอการิทึมนี้ให้เป็นสมการเอกซ์โปเนนเชียล
  • 0:17 - 0:19
    5 คือฐานผม
  • 0:19 - 0:23
    y คือเลขชี้กำลังที่ผมต้องยก,
  • 0:23 - 0:28
    แล้ว x คือสิ่งที่ผมได้เมื่อผมจับ 5 ยกกำลัง y
  • 0:28 - 0:31
    ดังนั้นวิธีเขียนสมการนี้อีกวิธีก็คือ
  • 0:31 - 0:40
    5 ยกกำลัง y จะเท่ากับ x
  • 0:40 - 0:43
    นี่ก็เหมือนกัน
  • 0:43 - 0:48
    ตรงนี้ผมมี y เป็นฟังก์ชันของ x, ตรงนี้เรามี x เป็นฟังก์ชันของ y
  • 0:48 - 0:51
    แต่มันก็หมายความถึงสิ่งเดียวกัน:
  • 0:51 - 0:54
    "จับ 5 ยกกำลัง y ให้ได้ x"
  • 0:54 - 0:55
    แต่ตอนคุณเขียนเจ้านี่เป็นลอการิทึม, คุณกำลังบอกว่า:
  • 0:55 - 0:58
    "ฉันต้องจับ 5 ยกกำลังเท่าไหร่ถึงจะได้ x?
  • 0:58 - 0:59
    อ่อ, ฉันต้องยกกำลัง y"
  • 0:59 - 1:03
    ตรงนี้, ผมจับ 5 ยกกำลัง y แล้วได้อะไร? ผมจะได้ x
  • 1:03 - 1:05
    ทีนี้พักเรื่องนั้นไว้,
  • 1:05 - 1:07
    ลองมาสร้างตาราง
  • 1:07 - 1:09
    ที่เราใช้พลอตจุดต่างๆ ดีกว่า
  • 1:09 - 1:11
    แล้วเราสามารถลากเส้นเชื่อมจุดเพื่อดูว่าเส้นโค้งนี้เป็นอย่างไรได้
  • 1:11 - 1:14
    งั้นขอผมเลือกค่า x กับค่า y หน่อยนะ
  • 1:14 - 1:20
    โดยทั่วไปแล้วเราอยากเลือกตัวเลข
  • 1:20 - 1:23
    ที่ให้ค่าที่ออกมาสะอาดสวย
  • 1:23 - 1:26
    เลขที่ง่ายๆ สวยๆ สำหรับเราคือเลข
  • 1:26 - 1:27
    ที่เราไม่ต้องใช้เครื่องคิดเลข
  • 1:27 - 1:30
    และโดยทั่วไป, คุณอยากเลือกค่า x,
  • 1:30 - 1:35
    คุณจะอยากเลือกค่า x ที่กำลังที่คุณจับ 5 ยกกำลังค่านั้นให้ได้ x
  • 1:35 - 1:38
    เป็นเลขชี้กำลังง่ายๆ
  • 1:38 - 1:41
    หรือวิธีคิดอีกอย่างคือว่า, คุณแค่คิดหาค่า y ต่างๆ
  • 1:41 - 1:44
    ที่คุณอยากจับ 5 ยกกำลังค่านั้น
  • 1:44 - 1:46
    แล้วคุณจะได้ค่า x ออกมา
  • 1:46 - 1:52
    เราคิดแบบนี้เพื่อหาค่า x ออกมาก็ได้
  • 1:52 - 1:56
    แต่เราอยากพูดให้ชัดเวลาเราเขียนของแบบนี้
  • 1:56 - 2:00
    ตัวแปรอิสระคือ x และตัวแปรตามคือ y
  • 2:00 - 2:09
    เราอาจดูที่ตรงนี้แล้วเลือกค่า x สวยๆ ที่ทำให้ค่า y ง่ายๆ
  • 2:09 - 2:13
    แล้วเกิดอะไรขึ้น, ตรงนี้ ผมจะเติมค่า y ลงไปก่อน
  • 2:13 - 2:15
    เพื่อเราจะได้ค่า x ที่สวยๆ สะอาดๆ
  • 2:15 - 2:20
    งั้นสมมุติว่าเราจะจับ 5 ยกกำลัง -- ผมจะเลือกสีใหม่นะ --
  • 2:20 - 2:26
    ยกกำลังลบ 2 -- ขอผมใช้อีกสีนึงนะ --
  • 2:26 - 2:33
    ลบ 1, 0, 1 แล้วผมจะทำต่ออีก, แล้วก็ 2
  • 2:33 - 2:37
    ผมจะพูดอีกทีนะ, นี่ไม่ใช่วิธีแบบเดิมๆ
  • 2:37 - 2:39
    เพราะผมเติมค่าตัวแปรตามก่อน,
  • 2:39 - 2:41
    แต่วิธีที่เราเขียนตรงนี้,...
  • 2:41 - 2:46
    การหาว่าตัวแปรอิสระคืออะไรในฟังก์ชันตรีโกณมิติมันง่ายกว่า
  • 2:46 - 2:50
    แล้วค่า x ใดที่เท่ากับ y ของลบ 2?
  • 2:50 - 2:55
    ค่า x ต้องเป็นเท่าไหร่สำหรับ y เท่ากับ -2?
  • 2:55 - 2:59
    ทีนี้, 5 ยกกำลังลบ 2 จะเท่ากับ x
  • 2:59 - 3:07
    ดังนั้น 5 ยกกำลังลบ 2, คือ 1 ส่วน 25, เราเลยได้ 1/25
  • 3:07 - 3:09
    วิธีคิดอีกอย่าง, ถ้าเรากลับไปอันก่อน,
  • 3:09 - 3:13
    ถ้าเราบอกว่า log, ฐาน 5 ของ 1/25
  • 3:13 - 3:16
    ผมต้องจับ 5 ยกกำลังเท่าไหร่ถึงจะได้ 1/25?
  • 3:16 - 3:19
    ตรงนี้, ผมต้องยกกำลังลบ 2
  • 3:19 - 3:23
    หรือคุณอาจบอกว่า 5 ยกกำลังลบ 2 เท่ากับ 1/125
  • 3:23 - 3:27
    มันหมายความเหมือนกัน
  • 3:27 - 3:29
    ทีนี้, ลองทำอีกอันหนึ่ง
  • 3:29 - 3:32
    เกิดอะไรขึ้นเมื่อผมจับ 5 ยกกำลังลบ 1?
  • 3:32 - 3:37
    ทีนี้ล ผมได้ 1 ส่วน 5 สำหรับอันเดิมตรงนั้น,
  • 3:37 - 3:44
    เราแค่บอกว่า ลอกฐาน 5 ของ 1/5, คุณต้องระวังหน่อย
  • 3:44 - 3:48
    อันนี้หมายความว่า "ผมต้องจับ 5 ยกกำลังเท่าไหร่ถึงจะได้ 1/5?"
  • 3:48 - 3:51
    ทีนี้, ผมต้องจับมันยกกำลังลบ 1
  • 3:51 - 3:56
    ตรงนี้, เกิดอะไรขึ้นถ้าผมจับ 5 ยกกำลัง 0? ผมได้ 1
  • 3:56 - 4:02
    และความสัมพันธ์นี้หมายความเหมือนกัน, ว่า ลอก, ฐาน 5, ของ 1,
  • 4:02 - 4:05
    ผมต้องจับ 5 ยกกำลังเท่าไหร่ถึงจะได้ 1?
  • 4:05 - 4:09
    ตรงนี้, ผมต้องยกกำลังมันด้วย 0
  • 4:09 - 4:13
    ลองกันต่อ... เกิดอะไรขึ้นถ้าผมจับ 5 ยกกำลัง 1?
  • 4:13 - 4:15
    ตรงนี้, ผมได้ 5
  • 4:15 - 4:20
    แล้วถ้าคุณดูตรงนี้, มันก็แค่บอกว่า, ผมต้องยกกำลัง 5 ด้วยอะไรถึงได้ 5?
  • 4:20 - 4:23
    ผมก็ต้องยกกำลังมันด้วย 1
  • 4:23 - 4:28
    แล้วสุดท้าย, ถ้าผมจับ 5 ยกกำลังสอง, ผมได้ 25
  • 4:28 - 4:32
    แล้วถ้าคุณดูจากมุมมองของลอการิทึม, คุณก็บอกว่า
  • 4:32 - 4:35
    ฉันต้องจับ 5 ยกกำลังเท่าไหร่ถึงจะได้ 25?
  • 4:35 - 4:38
    ทีนี้, ผมต้องยกกำลังมันด้วย 2
  • 4:38 - 4:43
    ดังนั้น, ผมเลยหาอินเวอร์สของฟังก์ชันลอการิทึม ผมเขียนมันฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล
  • 4:43 - 4:46
    ผมสลับตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม
  • 4:46 - 4:51
    ผมเลยเลือก, หรือหา, ค่า x ที่สวยๆ ซึ่งให้ค่า y สวยๆ เหมือนกัน
  • 4:51 - 4:53
    ทีนี้, พักเรื่องนั้นไว้, แต่ผมอยากเตือนคุณอย่างนึงว่า
  • 4:53 - 4:58
    ผมสามารถเลือกเลขสุ่มๆ มาตรงนี้ได้,
  • 4:58 - 5:01
    แต่ผมอาจได้เลขที่ไม่ค่อยสวยเท่าไหร่, ผมเลยต้องใช้เครื่องคิดเลข
  • 5:01 - 5:06
    สาเหตุเดียวที่ผมทำแบบนี้, ก็เพราะผมอยากได้ค่าสวยๆ ไว้พลอตด้วยมือ
  • 5:06 - 5:08
    งั้นลองวาดกราฟมันดูดีกว่า
  • 5:08 - 5:13
    ทีนี้ y มีค่าระหว่า -2 กับ 2,
  • 5:13 - 5:18
    ค่า x เริ่มจาก 1/25 ถึง 25
  • 5:18 - 5:21
    ลองวาดกราฟกันดู
  • 5:21 - 5:30
    นั่นก็คือแกน y, และนี่คือแกน x
  • 5:30 - 5:35
    ผมจะวาดมันแบบนั้น, นั่นคือแกน x ผมแล้วก็ y
  • 5:35 - 5:42
    เริ่มจากศูนย์แล้วคุณก็มี บวก 1, บวก 2,
  • 5:42 - 5:49
    แล้วก็มี -1, -2 แล้วก็แกน x เป็นบวก
  • 5:49 - 5:55
    ผมจะปล่อยให้คุณคิดว่าโดเมนตรงนี้นั้น, เราคิดกันได้ว่า
  • 5:55 - 6:03
    ฟังก์ชันลอการิทึมนิยามสำหรับค่า x ที่ไม่เป็นบวกได้หรือเปล่า?
  • 6:03 - 6:08
    มีเลขอะไรที่ผมจับ 5 ยกกำลังเลขนั้นแล้วผมได้ 0 บ้าง?
  • 6:08 - 6:13
    ไม่มี คุณสามารถจับ 5 ยกกำลังลบอนันต์, เพื่อให้ได้เล็กน้อยสุดๆ
  • 6:13 - 6:15
    เข้าใกล้ 0, แต่คุณไม่มีทางได้พอดี
  • 6:15 - 6:18
    มันไม่มีเลขชี้กำลังได้ที่คุณจับ 5 ยกกำลังแล้วได้ 0
  • 6:18 - 6:22
    ดังนั้น x เป็น 0 ไม่ได้ มันไม่มีเลขชี้กำลังใดคุณจะจับ 5 ยกกำลัง
  • 6:22 - 6:26
    แล้วได้ค่าลบ ดังนั้น x ก็เป็นลบไม่ได้
  • 6:26 - 6:28
    ดังนั้นโดเมนของฟังก์ชันนี่ตรงนี้
  • 6:28 - 6:30
    และมันเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราทำ เพราะเราอยากคิดถึงสิ่งที่เราวาดกราฟ --
  • 6:30 - 6:33
    โดเมนตรงนี้คือ x ต้องมากกว่า 0
  • 6:33 - 6:36
    ขอผมเขียนลงไปนะ
  • 6:36 - 6:40
    โดเมนตรงนี้คือ x ต้องมากกว่า 0
  • 6:40 - 6:45
    เราเลยจะวาดกราฟของฟังก์ชันนี้บนแกน x เป็นบวก
  • 6:45 - 6:48
    พักเรื่องนั้นไว้, มาดู x มากสุดคือ 25,
  • 6:48 - 6:56
    งั้นขอผมเขียนใส่จุดพวกนี้ลงไปนะ, มันคือ 5, 10, 15, 20
  • 6:56 - 6:58
    และ 25
  • 6:58 - 6:59
    แล้วลองพลอตจุดพวกนี้ดู
  • 6:59 - 7:03
    ... นี่คือสีฟ้า และ x คือ 1.25 กับ y คือ -2
  • 7:03 - 7:06
    เมื่อ x เป็น 1/25, มันจะเข้าใกล้ตรงนี้, แล้ว y เท่ากับ 2
  • 7:06 - 7:09
    นั่นจะอยู่ตรงนั้น
  • 7:09 - 7:17
    ไม่ได้อยู่ตรงแกน y ทีเดียว, มันคือ 1/25 -- ของแกน y, แต่ก็ใกล้อยู่
  • 7:17 - 7:23
    แล้วเจ้านั่นตรงนั้นคือ 1/25 ลูกน้ำ -2 ตรงนั้น
  • 7:23 - 7:27
    แล้วเมื่อ x เป็น 1/5, ซึ่งออกไปทางขวาหน่อย
  • 7:27 - 7:30
    1/5 มี y= -2 อยู่ตรงนี้
  • 7:30 - 7:37
    นี่คือ 1/5, -1 แล้วเมื่อ x เป็น 1, y เป็น 0
  • 7:37 - 7:46
    แล้ว 1 อยู่ตรงนี้, นี่ก็คือจุด (1,0)
  • 7:46 - 7:51
    แล้วก็เมื่อ x เป็น 5, y เป็น 1
  • 7:51 - 7:57
    ผมเขียนไว้ตรงนี้, y เป็น 1
  • 7:57 - 7:59
    นั่นก็คือจุด (5,1)
  • 7:59 - 8:02
    แล้วสุดท้ายเมื่อ x เป็น 25, y เป็น 2
  • 8:02 - 8:13
    นี่ก็คือ (25,2) แล้วผมก็วาดกราฟของฟังก์ชันได้
  • 8:13 - 8:17
    ผมจะใช้สีชมพูนะ
  • 8:17 - 8:25
    ดังนั้นเมื่อ x น้อยมากๆๆๆ, y ไปหาลบอนันต์
  • 8:25 - 8:37
    แล้วเลขชี้กำลังใดที่คุณต้องจับ 5 ยกกำลังถึงจะได้ .0001
  • 8:37 - 8:39
    มันต้องเป็นเลขที่ติดลบมากๆ
  • 8:39 - 8:43
    เราเลยได้ค่าลบมากเมื่อเราเข้าใกล้ 0
  • 8:43 - 8:46
    แล้วมันก็เพิ่มขึ้นแบบนั้น
  • 8:46 - 8:51
    แล้วมันก็เริ่มโค้งแบบนั้น
  • 8:51 - 8:59
    และเจ้านี่ตรงนี้จะลงไปเรื่อยๆ ด้วยอัตราที่ชันขึ้นเรื่อยๆ
  • 8:59 - 9:05
    และมันจะไม่แตะแกน y
  • 9:05 - 6000:00
    มันจะเข้าใกล้แกน y มากขึ้น มากขึ้น แต่มันจะไม่แตะแกน
Title:
Graphing Logarithmic Functions
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
09:10

Thai subtitles

Revisions