< Return to Video

Equity vs. Debt

  • 0:00 - 0:01
  • 0:01 - 0:04
    ทุกอย่างที่เราพูดถึงเกี่ยวกับบริษัท
    สตาร์ทอัพถึงตอนนี้
  • 0:04 - 0:07
    การขายหุ้น อะไรพวกนี้ ได้ระดม
  • 0:07 - 0:08
    เงินจากหุ้นหรือส่วนได้เสีย (equity)
  • 0:08 - 0:10
    เราระดมเงินนอกตลาด --
    ตอนที่บริษัทยังไม่เข้าตลาด
  • 0:10 - 0:16
    เขาไปหา VC ไปหานักลงทุนเทวดา
    และคุณอาจ
  • 0:16 - 0:18
    ไปหาเพื่อนและครอบครัวเพื่อระดมเงิน
  • 0:18 - 0:20
    แล้วบริษัทก็เข้าตลาด แล้วระดมเงินจาก
  • 0:20 - 0:22
    ตลาดทั่วไป
  • 0:22 - 0:23
    แต่จริงๆ แล้วมีวิธีที่บริษัทสามารถ
  • 0:23 - 0:26
    ระดมเงินทุนได้สองวิธี
  • 0:26 - 0:29
    นี่คือสาเหตุที่รายการวิดีโอนี้เรียกว่า
    ตลาดเงินทุน หรือ
  • 0:29 - 0:32
    อีกชื่อหนึ่งคือ การระดมทุน
  • 0:32 - 0:35
    เงินทุน (Capital) ก็คือ -- วิธีคิดง่ายๆ
  • 0:35 - 0:38
    ก็คือคุณอยากระดมเงินสด
    ที่คุณอยากลงทุน
  • 0:38 - 0:40
    เพื่อทำให้ธุรกิจเติบโต หรือทำให้
  • 0:40 - 0:42
    ธุรกิจอยู่ได้ หรือเพื่อเริ่มธุรกิจ
  • 0:42 - 0:48
    ทุกอย่างที่เราพูดถึงในตอนนี้คือ
    ส่วนได้เสีย (equity) และนั่น
  • 0:48 - 0:51
    ก็คือการขายหุ้นในบริษัทของคุณ
    เพื่อระดมเงิน
  • 0:51 - 0:54
    นั่นคือตัวอย่างพวก VC ทั้งหลาย
  • 0:54 - 0:57
    นักลงทุนหุ้น -- เมื่อคุณขายหุ้น คุณ
  • 0:57 - 0:59
    จะขาย -- คุณทำให้คนคนนั้น
  • 0:59 - 1:02
    คนที่ซื้อหุ้น -- ส่วนได้เสียก็เหมือนกับ
  • 1:02 - 1:05
    หุ้น -- คุณทำให้คนที่ซื้อ
  • 1:05 - 1:07
    หุ้นเป็นเหมือนหุ้นส่วนของบริษัท
  • 1:07 - 1:10
    ถ้าบริษัท --
    สมมุติว่ามีสถานการณ์สองแบบ -- ถ้า
  • 1:10 - 1:12
    บริษัทล้มละลาย --
    และผมจะพูดถึงความหมาย
  • 1:12 - 1:16
    ของการล้มละลายอีกมาก -- แต่ถ้าบริษัท
  • 1:16 - 1:19
    ล้มละลาย ผู้ถือหุ้นจะไม่ได้อะไรเลย
  • 1:19 - 1:21
    พวกเขาจะได้ศูนย์
  • 1:21 - 1:26
    แต่ถ้าบริษัทได้กำไรมาก หุ้นจะ
  • 1:26 - 1:27
    ขึ้นไปมาก
  • 1:27 - 1:29
    มีคนเป็นหุ้นส่วนอยู่
  • 1:29 - 1:32
    ถ้านี่คือบริษัท สตาร์ทอัพที่เราพูดถึงไป
  • 1:32 - 1:34
    ถ้ามันกลายไปเป็น Amazon.com
    และกลายเป็นบริษัท
  • 1:34 - 1:36
    พันล้าน ทุกคนก็จะไปได้ดี
  • 1:36 - 1:39
    ทุกคนจะได้ส่วนแบ่งของกำไรนั้น
  • 1:39 - 1:41
    แต่มันมีวิธีระดมเงินอีกวิธี และนี่
  • 1:41 - 1:43
    น่าจะเป็นสิ่งที่คนคุ้นเคยมากกว่า
  • 1:43 - 1:45
    ในระดับครัวเรือน
  • 1:45 - 1:47
    ผมหมายความว่า ในระดับครัวเรือน
    คุณไม่เคยระดมหุ้น
  • 1:47 - 1:50
    คุณไม่เคยบอกว่า รู้ไหม --
    คุณทำได้ แต่คุณจะ
  • 1:50 - 1:52
    ไม่ไปบอกว่า เฮ้ ฉันต้องซื้อบ้าน
    ทำไมฉันถึงไม่
  • 1:52 - 1:56
    ไปหาเพื่อนรวยๆ แล้วเสนอขาย 10% ของ
  • 1:56 - 1:59
    บ้านให้เขา แล้วเขาจะเป็น
    หุ้นส่วนของบ้านฉัน
  • 1:59 - 2:02
    มันเกิดขึ้นได้ แต่มันมักไม่เกิดขึ้น
  • 2:02 - 2:04
    เวลาคุณทำอะไรส่วนตัว คุณมักจะ
  • 2:04 - 2:06
    ระดมเงินผ่านหนี้
  • 2:06 - 2:10
  • 2:10 - 2:11
    และมันน่าสนใจ
  • 2:11 - 2:15
    สิ่งที่ดีเกี่ยวกับหนี้คือว่า -- ลองคิดถึงมัน
  • 2:15 - 2:18
    จากมุมมองของคนที่ให้คุณ
  • 2:18 - 2:20
    ยืมเงิน
  • 2:20 - 2:22
    หนี้ก็คือการยืมเงิน
  • 2:22 - 2:27
  • 2:27 - 2:29
    ผมคิดว่าพวกคุณทุกคนรู้ว่า
    การยืมเงินคืออะไร
  • 2:29 - 2:33
    ผมไปหาเพื่อนรวยๆ แล้วผมบอกว่า เฮ้
    ฉันขอยืม $1 แล้ว
  • 2:33 - 2:35
    ฉันจะจ่ายคืน $1.25 ในหนึ่งปีได้ไหม?
  • 2:35 - 2:36
    และเขาก็บอกว่า โอเค ได้เลย
  • 2:36 - 2:38
    แต่ผมกำลังสัญญาว่า ผมจะจ่ายเงิน
  • 2:38 - 2:40
    คืนในอนาคต
  • 2:40 - 2:42
    ถ้าผมขายหุ้น ผมไม่ได้สัญญาอะไรเลย
  • 2:42 - 2:45
    ผมบอกว่า เฮ้ ฉันมีธุรกิจเจ๋งๆ
    ทำไมเธอไม่ให้
  • 2:45 - 2:48
    เงินฉัน $1 แล้วฉันจะให้ 20% ของบริษัท
  • 2:48 - 2:51
    ถ้าธุรกิจของฉันออกมาดี
    เธอจะได้ 20% ของ
  • 2:51 - 2:52
    กำไรจากธุรกิจของฉัน
  • 2:52 - 2:54
    ถ้าบริษัทฉันออกมาแย่
    เธอก็รับความเสี่ยงไป
  • 2:54 - 2:55
    เธอไม่ได้อะไร ฉันก็ไม่ได้อะไร
  • 2:55 - 2:59
    หนี้บอกว่า
    ไม่ว่าธุรกิจของผมจะเป็นอย่างไร
  • 2:59 - 3:05
    ถ้ามันออกมาดีมาก สิ่งที่คุณจะได้
    ก็มีแต่ดอกเบี้ย
  • 3:05 - 3:06
    นั่นคือกรณีที่ออกมาดี
  • 3:06 - 3:08
    ผลตอบแทนมันจำกัด จริงไหม?
  • 3:08 - 3:11
    ถ้าผมยืมเงินที่อัตราดอกเบี้ย 9% คนคนนั้น
  • 3:11 - 3:12
    จะได้แค่ 9%
  • 3:12 - 3:17
    ถึงแม้ว่าบริษัทของผมจะกลายเป็นกูเกิ้ล
    หรือไมโครซอฟต์หรือ
  • 3:17 - 3:19
    อะไรใหญ่ๆ ต่อไป คนคนนั้นจะ
  • 3:19 - 3:20
    ได้แค่ 9% ของเงินที่ให้ยืม
  • 3:20 - 3:23
    ในขณะที่คนคนนี้อาจได้เงินเป็นร้อยเท่า
  • 3:23 - 3:25
    เพราะเขากล้าพนัน
  • 3:25 - 3:28
    อย่างไรก็ตาม ความเสียหายจะน้อยกว่า
  • 3:28 - 3:30
    ความเสียหายก็จำกัด
  • 3:30 - 3:33
    เพราะเขาจะได้เงินคืน
  • 3:33 - 3:36
    -- คุณก็รู้ มันมีตารางจ่ายคืนอยู่
  • 3:36 - 3:39
    และเขาจะได้เงินคืนก่อน
  • 3:39 - 3:41
    ผู้ถือหุ้น -- สมมุติว่าในกรณีที่
  • 3:41 - 3:43
    บริษัทมีปัญหา -- และเราจะทำ
  • 3:43 - 3:47
    รายการวิดีโอเรื่องการล้มละลาย
    -- คนที่ให้บริษัท
  • 3:47 - 3:50
    ยืมเงินจะเห็นเงินคืนก่อนผู้ถือหุ้น
  • 3:50 - 3:51
    จะเห็นอะไรก็ตาม
  • 3:51 - 3:54
    แล้วทั้งหมดนี้ปรากฏในงบดุลอย่างไร?
  • 3:54 - 3:57
    สมมุติว่าเรามีบริษัทมหาชน
  • 3:57 - 4:00
    ถ้าคุณสงสัยว่า CFO ของบริษัททำอะไร
    นี่ก็คือ
  • 4:00 - 4:02
    การตัดสินใจหลักที่เขาต้องทำ
  • 4:02 - 4:05
    เราจะระดมเงินไหม --
    เราจะระดมอย่างไรถ้าเราต้องการเงิน
  • 4:05 - 4:08
    เราจะระดมเงินจากตลาดหุ้นหรือจาก
  • 4:08 - 4:09
    ตลาดหนี้?
  • 4:09 - 4:12
    ลองตั้งบริษัทขึ้นมาอีกครั้งกัน
  • 4:12 - 4:15
    สมมุติว่านั่นคือ current assets
  • 4:15 - 4:18
    ไม่ใช่ current -- ผมไม่อยากใช้คำนั้น
    มันเป็นคำเฉพาะ
  • 4:18 - 4:20
    สินทรัพย์ที่มีตอนนี้
  • 4:20 - 4:21
    Current assets มีความหมายอื่น
    และเราจะพูดถึงมัน
  • 4:21 - 4:23
    ในอนาคต
  • 4:23 - 4:25
    แต่สมมุติว่า นั่นคือสินทรัพย์ของบริษัท
  • 4:25 - 4:30
  • 4:30 - 4:31
    คุณรู้ว่ามันอาจเป็นเงินสดตรงนี้
  • 4:31 - 4:34
  • 4:34 - 4:35
    เราจะลงรายละเอียดต่อไป
  • 4:35 - 4:38
    เราจะดูงบดุลบริษัทจริงๆ และ
  • 4:38 - 4:40
    เข้าใจความหมายของคำทั้งหมดในงบดุล
  • 4:40 - 4:42
    แต่นั่นคือสินทรัพย์ของเราในตอนนี้
  • 4:42 - 4:44
    และสมมุติว่าตอนนี้
    เงินทั้งหมดที่ระดมมาถึงตอนนี้
  • 4:44 - 4:47
    เป็นส่วนได้เสีย
  • 4:47 - 4:48
    และสมมุติว่ามันเป็นบริษัท
    ที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์
  • 4:48 - 4:50
    มันไม่จำเป็นต้องอยู่
  • 4:50 - 5:00
    สมมุติว่านั่นคือส่วนได้เสียทั้งหมด
    และสมมุติว่ามันมี
  • 5:00 - 5:01
    ไม่รู้สิ 10 ล้านหุ้นแล้วกัน
  • 5:01 - 5:05
  • 5:05 - 5:06
    สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างเมื่อบริษัท
  • 5:06 - 5:09
    เข้าตลาด -- นึกดู ทุกครั้งเวลาบริษัท
    ยังไม่เข้าตลาด และ
  • 5:09 - 5:11
    นักลงทุน นักลงทุนหุ้น เขา
  • 5:11 - 5:13
    ต้องมานั่งและต่อรองว่าหุ้นนี้
  • 5:13 - 5:15
    มีค่าเท่าไหร่?
  • 5:15 - 5:16
    สินทรัพย์เหล่านี้มีค่าเท่าใด?
  • 5:16 - 5:18
    แต่สิ่งที่เจ๋งคือว่า เมื่อคุณมีบริษัทที่ซื้อขาย
  • 5:18 - 5:22
    ในตลาด หุ้นเหล่าน้ี้ซื้อขายในตลาด
    จริงไหม?
  • 5:22 - 5:24
    หุ้นเหล่านี้อยู่ใน สมมุติว่ามันอยู่ใน
  • 5:24 - 5:28
    New York Stock Exchange
  • 5:28 - 5:29
    ทุกวัน คุณไปที่ Yahoo!
  • 5:29 - 5:33
    Finance หรือเว็บไซต์อะไรก็ตาม
    คุณดูแผนภูมิได้
  • 5:33 - 5:35
    ขอผมวาดแผนภูมินะ
  • 5:35 - 5:36
    คุณวาดแผนภูมิได้
  • 5:36 - 5:42
  • 5:42 - 5:44
    และเราจะเห็นตารางหุ้นทั้งหมด ผมว่านะ
  • 5:44 - 5:46
    สมมุติว่านี่คือ อันนี้คือวันที่ IPO
  • 5:46 - 5:48
    หรืออาจเป็นจุดเริ่มต้นที่เราดู แล้ว
  • 5:48 - 5:52
    สมมุติว่าหุ้น IPO เพิ่มขึ้น แล้วทั้งตลาด
  • 5:52 - 5:52
    ก็ลงมาหน่อย
  • 5:52 - 5:55
    แต่หุ้น -- มันอาจอยู่ตรงนั้น จริงไหม?
  • 5:55 - 5:58
    แต่ ณ ขณะใดๆ แทบจะทุกวินาที
  • 5:58 - 6:01
    มันมีราคาที่คนซื้อขายหุ้นนั้น และมัน
  • 6:01 - 6:04
    อาจไม่ใช่ราคาที่ดีที่สุด
    แต่มันเป็นราคาค่าหนึ่ง
  • 6:04 - 6:06
    และเราจะคุยกันว่าทำไมมันถึงเกิดขึ้น
    เพราะคุณอาจ
  • 6:06 - 6:09
    มี 10 ล้านหุ้น แล้วถ้า 100 หุ้น
  • 6:09 - 6:12
    ถูกซื้อขายทุกวินาที
    หรือสมมุติว่ามีหุ้นแค่ 100 หุ้น
  • 6:12 - 6:14
    ถูกซื้อขายในวันนั้น
    มันเป็นราคาที่มีความหมายหรือเปล่า?
  • 6:14 - 6:16
    เพราะมันไม่ใช่เปอร์เซ็นต์มากมาย
  • 6:16 - 6:17
    ของหุ้นทั้งหมด
  • 6:17 - 6:20
    แต่ช่างเถอะ เราจะพูดถึงว่าปริมาณ (volume)
    หมายถึงอะไร
  • 6:20 - 6:23
    เทียบกับ total float อะไรพวกนั้น
  • 6:23 - 6:26
    แต่สมมุติว่า ณ วินาทีนั้น หุ้นบริษัท
  • 6:26 - 6:29
    ซื้อขายที่ $15 ต่อหุ้น
  • 6:29 - 6:33
    นี่คือ $15 ใช่ ณ วินาทีนี้
  • 6:33 - 6:34
    มันเป็นอย่างนี้ตอนนี้
  • 6:34 - 6:37
    ซื้อขายที่ $15 ต่อหุ้น และคุณดูใน
  • 6:37 - 6:39
    Bloomberg terminal หรืออื่นๆ ได้
  • 6:39 - 6:41
    ที่สุดแล้วตลาดจะให้
  • 6:41 - 6:43
    มูลค่าแก่บริษัทนี้
  • 6:43 - 6:46
    ตลาดกำลังบอกว่า ตลาดยินดีซื้อขาย
  • 6:46 - 6:47
    หุ้นที่ราคา $15
  • 6:47 - 6:50
    มีคนยินดีซื้อและคนขายที่ราคา
  • 6:50 - 6:51
    $15 ต่อหุ้นพอดี
  • 6:51 - 6:54
    นั่นหมายความว่าตลาด ณ ขณะนั้น
    ประเมินค่าบริษัทนี้
  • 6:54 - 6:58
    ที่ $15 ต่อหุ้นคูณ 10 ล้านหุ้น
  • 6:58 - 7:05
    $15 ต่อหุ้นคูณ 10 ล้านหุ้น -- ไม่ต้อง
  • 7:05 - 7:06
    ใส่ดอลล่าร์ก็ได้
  • 7:06 - 7:09
  • 7:09 - 7:13
    ตลาดจึงกำหนดค่า 15 คูณ 10 ได้ 150
  • 7:13 - 7:18
    $150 ล้าน market cap
  • 7:18 - 7:23
    คือมูลค่าหลักทรัพย์ตามตลาดของบริษัท
  • 7:23 - 7:25
    แล้วคุณก็ดู ผมว่า มันอยู่ใน
  • 7:25 - 7:27
    แท็บข้อมูลสถิติหลักของ Yahoo!
  • 7:27 - 7:29
    Finance คุณจะเห็นมูลค่าหลักทรัพย์
    ตามตลาดของบริษัท
  • 7:29 - 7:33
    มันก็แค่จำนวนหุ้นคูณ
  • 7:33 - 7:35
    ราคาหุ้น
  • 7:35 - 7:37
    นี่คือสิ่งที่ตลาดคิดว่า
  • 7:37 - 7:38
    หุ้นมีค่าเท่าใด
  • 7:38 - 7:41
    ตลาดกำลังบอกว่าส่วนนี้ตรงนี้
  • 7:41 - 7:44
    มีค่า $150 ล้าน
  • 7:44 - 7:47
    และเนื่องจากส่วนนี้มีขนาดเท่ากับสินทรัพย์
  • 7:47 - 7:49
    เราไม่มีอย่างอื่นทางขวา ตลาด
  • 7:49 - 7:52
    จึงบอกว่าสินทรัพย์ตอนนี้มีค่า
  • 7:52 - 7:54
    $150 ล้าน
  • 7:54 - 7:55
    และสองตัวนี้ไม่จำเป็นต้องเท่ากันเสมอไป
  • 7:55 - 7:58
    เราจะเห็นในวิดีโอต่อๆ ไป เมื่อคุณเริ่มระดม
  • 7:58 - 8:01
    หนี้ คุณต้องคำนวณเพิ่มว่า
  • 8:01 - 8:04
    มูลค่าสินทรัพย์หรือ -- ผมจะใส่คำใหม่ตรงนี้
  • 8:04 - 8:06
    มูลค่าสุทธิของกิจการ (enterprise value)
    เป็นเท่าใด
  • 8:06 - 8:10
    มูลค่าสุทธิของกิจการก็คือมูลค่าสินทรัพย์
  • 8:10 - 8:13
    ลบเงินสดส่วนเกิน
  • 8:13 - 8:15
    เงินสดที่บริษัทไม่ได้ดำเนินงานอะไร
  • 8:15 - 8:17
    และเราจะพูดถึงรายละเอียดอีกทีหลัง
  • 8:17 - 8:19
    แต่เราจะมองมันเป็นสินทรัพย์ไปก่อน
  • 8:19 - 8:22
    ถ้าผมเป็น CFO ของบริษัทนี้
    และสมมุติว่เราอยาก
  • 8:22 - 8:26
    ระดมเงินอีก ไม่รู้สิ $15 ล้าน
  • 8:26 - 8:28
    ผมมีตัวเลือก 2 อย่าง
  • 8:28 - 8:32
    ผมบอกได้ว่า โอเค
    บริษัทซื้อขายอยู่ที่ $15 ต่อหุ้น
  • 8:32 - 8:36
    ผมต้องระดมเงิน $15 ล้าน ผมก็ออก
  • 8:36 - 8:38
    อีกล้านหุ้นได้
  • 8:38 - 8:40
    มันจะไม่ใช่การเสนอขายหุ้น
    ในตลาดครั้งแรก เพราะผม
  • 8:40 - 8:41
    อยู่ในตลาดแล้ว
  • 8:41 - 8:43
    มันจะเป็นการเสนอขายต่อ
    (follow-on offering) หรือบางครั้ง
  • 8:43 - 8:45
    เรียกว่าการเสนอขายทุติยภูมิ
    (secondary offering)
  • 8:45 - 8:47
    ถึงแม้คำว่าทุติยภูมิจะมีความหมายสองแง่
  • 8:47 - 8:51
    มันอาจเป็นการเสนอขายต่อ โดยผมออก
  • 8:51 - 8:53
    ผมไปที่บอร์ดบริหาร แล้วเราตกลงสร้างหุ้น
  • 8:53 - 8:56
    อีกล้านหุ้น แล้วขายหุ้นในตลาด และ
  • 8:56 - 8:59
    หวังว่าจะมีคนซื้อที่ $15 ต่อหุ้น
    หรือน้อยกว่า
  • 8:59 - 9:01
    นิดหน่อยเพราะเราทำให้มีหุ้น
  • 9:01 - 9:02
    ในตลาดเป็นจำนวนมาก
  • 9:02 - 9:05
    บางทีเขาอาจซื้อที่ราคา $15 ต่อหุ้น แล้วเรา
  • 9:05 - 9:09
    จะระดมเงินได้ $14 ล้าน
  • 9:09 - 9:10
    นั่นคือการเสนอขายต่อแบบหนึ่ง
  • 9:10 - 9:13
    เราจึงใช้ตลาดทั่วไปเพื่อ
  • 9:13 - 9:14
    ระดมเงินเพิ่มได้
  • 9:14 - 9:16
    เราไม่ต้องไปทำเรื่องทั้งหมดนี้
    -- ส่วนใหญ่แล้ว
  • 9:16 - 9:18
    เราไม่ต้องไปทำการประเมินค่าและ
  • 9:18 - 9:23
    ต่อรอง อะไรพวกนั้น
    จ้างธนาคารอะไรพวกนั้นอีก
  • 9:23 - 9:24
    ถึงแม้ว่าธนาคารจะยังคิดค่าธรรมเนียมอยู่
  • 9:24 - 9:27
    เรายังต้องจ้างธนาคารทำงานนี้
  • 9:27 - 9:28
    นั่นคือตัวเลือกหนึ่ง
  • 9:28 - 9:31
    หรืออีกวิธีคือเราเป็นธุรกิจที่มั่นคงแล้ว เรา
  • 9:31 - 9:32
    สร้างเงินสดได้ เราจ่ายดอกเบี้ยได้
  • 9:32 - 9:33
    ถ้าต้องการ
  • 9:33 - 9:34
    เราก็ไปยังธนาคารได้
  • 9:34 - 9:36
    และมันมีวิธีทำหลายวิธี
  • 9:36 - 9:38
    แต่ที่สุดแล้ว เราจะไปยืมเงิน
  • 9:38 - 9:39
    และสมมุติว่าเราทำอย่างนั้น
  • 9:39 - 9:42
    แทนที่จะทำอย่างนี้ --
    สมมุติว่าเราทำทั้งสองอย่าง
  • 9:42 - 9:44
    สมมุติว่าเราทำการเสนอขายต่อ
    อีก 1 ล้านหุ้น
  • 9:44 - 9:47
    ทำให้เราได้เงิน $14 ล้าน
  • 9:47 - 9:50
    และสมมุติว่าเราอยากได้อีก $2 ล้าน
    แต่คราวนี้
  • 9:50 - 9:52
    แทนที่จะขายหุ้น -- ตอนนี้เรา
  • 9:52 - 9:52
    มีหุ้นกี่หุ้นนะ?
  • 9:52 - 9:54
    เราขายไป 1 ล้าน เรามี 10 ล้าน ตอนนี้เรา
  • 9:54 - 9:58
    มี 11 ล้านหุ้น
  • 9:58 - 10:00
    สมมุติว่า รู้ไหม สมมุติว่า CFO ผมรู้สึกว่า
  • 10:00 - 10:02
    จำนวนหุ้นเราเพิ่มขึ้นมากเกิน
  • 10:02 - 10:06
    เราไม่อยากขายหุ้นที่ราคาต่ำเกินไป
  • 10:06 - 10:08
    และสมมุติว่าอัตราดอกเบี้ยต่ำมาก
  • 10:08 - 10:10
    เราจึงจะยืมเงินแทน
  • 10:10 - 10:13
    นั่นก็คือการระดมหนี้
  • 10:13 - 10:18
    สมมุติว่าเรายืมเงินอีก $3 ล้าน
    เพราะเราต้องการมัน
  • 10:18 - 10:23
    นี่จะเป็นหนี้ หนี้ $3 ล้านและ
  • 10:23 - 10:26
    เราจะได้เงินสดมา $3 ล้าน
  • 10:26 - 10:32
  • 10:32 - 10:37
    ตอนนี้สินทรัพย์ของเราคือทั้งหมดนี้
  • 10:37 - 10:40
    ทางซ้ายมือ
  • 10:40 - 10:42
    แล้วหนี้สินของเราตอนนี้เป็นเท่าใด?
  • 10:42 - 10:44
    ทีนี้ เราไม่มีหนี้สินมาก่อนเพราะ
  • 10:44 - 10:45
    ทุกอย่างที่เรามีเป็นส่วนได้เสีย
  • 10:45 - 10:45
    แต่ตอนนี้เรามีแล้ว
  • 10:45 - 10:49
    ตอนนี้เราติดเงินคนอื่น $3 ล้าน
  • 10:49 - 10:52
    และเราจะพูดถึงวิธีการยืมเงินแบบต่างๆ
  • 10:52 - 10:53
    ต่อไป
  • 10:53 - 10:55
    แต่มันก็คือ มันก็คือการกู้ธนาคาร
  • 10:55 - 10:58
    บริษัทอาจไปหา Bank of America
    แล้วบอกว่า เฮ้
  • 10:58 - 11:01
    เราเป็นบริษัทใหญ่ และเรามีเงินอยู่
    ทำไมคุณไม่
  • 11:01 - 11:02
    ให้เรายืมเงินสัก $3 ล้านล่ะ
  • 11:02 - 11:06
    บางทีอาจเป็น $3 ล้านอัตราดอกเบี้ยต่ำ
  • 11:06 - 11:09
    อาจเป็น 6% ต่อปี
  • 11:09 - 11:12
    และ Bank of America ก็ยินดีเพราะคุณมี --
  • 11:12 - 11:14
    เราจะพูดถึงอันดับเครดิต อะไรพวกนั้น -- แต่
  • 11:14 - 11:17
    เขาบอกว่า โอ้ คุณมีคะแนน
  • 11:17 - 11:18
    เครดิตบริษัทดี
  • 11:18 - 11:20
    เราจะให้คุณยืมด้วยอัตราดอกเบี้ยต่ำ
  • 11:20 - 11:23
    สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตคือว่า
    สินทรัพย์เหล่านี้
  • 11:23 - 11:25
    หวังว่าจะสร้างเงินสดขึ้นมา
  • 11:25 - 11:28
    และก่อนหน้าที่คนเหล่านี้จะเห็นมัน --
    ขอผมเขียน --
  • 11:28 - 11:31
    ก่อนผู้ถือหุ้นเหล่านี้ -- นี่คือผู้ถือหุ้น
  • 11:31 - 11:34
    ตอนนี้ -- ก่อนที่ผู้ถือหุ้นจะเห็นอะไร
  • 11:34 - 11:37
    คนเหล่านี้ต้องได้ดอกเบี้ยก่อน ผมจะแสดง
  • 11:37 - 11:39
    ให้เห็นบรรทัดต่อบรรทัดในงบกำไรขาดทุน
  • 11:39 - 11:43
    ทุกอย่างที่เราทำถึงตอนนี้เป็นแค่งบดุล
  • 11:43 - 11:45
    แต่สิ่งที่น่าสนใจกำลังเกิดขึ้นแล้ว
  • 11:45 - 11:48
    ทันใดนั้น สินทรัพย์ของคุณ
    ซึ่งก็คือด้านนี้ --
  • 11:48 - 11:51
    ผมรู้ว่าผมเขียนทับรูปเดิมอยู่นั่นแหละ
    -- สินทรัพย์ของคุณ
  • 11:51 - 11:54
    ตอนนี้ใหญ่กว่าส่วนได้เสีย
  • 11:54 - 11:56
    ผมคิดว่าตอนนี้ นี่เป็นเพียงการทบทวน
  • 11:56 - 12:03
    วิดีโอเรื่องงบดุล
    คุณเห็นว่าสินทรัพย์เท่ากับ
  • 12:03 - 12:09
    ส่วนได้เสีย ซึ่งก็คือตรงนี้ ส่วนได้เสียบวก
  • 12:09 - 12:10
    หนี้สินของคุณ
  • 12:10 - 12:13
    หนี้สินคุณตอนนี้อยู่ที่ $3 ล้าน
  • 12:13 - 12:15
    บวกหนี้สิน
  • 12:15 - 12:18
    ถ้าคุณอยากรู้ว่าสินทรัพย์มีค่าเท่าใด
    เนื่องจาก
  • 12:18 - 12:21
    สินทรัพย์เท่ากับส่วนได้เสีย
  • 12:21 - 12:25
    มูลค่าตลาดของส่วนได้เสียคุณเป็นเท่าใด?
  • 12:25 - 12:26
    เราหาไปแล้ว
  • 12:26 - 12:29
    เรามี 11 ล้านหุ้นตอนนี้
  • 12:29 - 12:33
    สมมุติว่าหุ้นตกลงมาเหลือ $10 ต่อหุ้น
  • 12:33 - 12:36
    ด้วยเหตุผลประหลาด
    หรือไม่ประหลาดก็ตาม
  • 12:36 - 12:40
    market cap จะเป็นเท่าใด? $10 ต่อหุ้น
    11 ล้านหุ้น เรา
  • 12:40 - 12:42
    มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามตลาด $110 ล้าน
  • 12:42 - 12:43
    เราคิดมูลค่าตามตลาด
  • 12:43 - 12:45
    และเราจะพูดถึงความแตกต่างระหว่าง
    มูลค่าตามตลาดกับตามบัญชี
  • 12:45 - 12:45
    ต่อไป
  • 12:45 - 12:47
    แต่นี่คือมูลค่าตลาดของส่วนได้เสีย
  • 12:47 - 12:49
    แล้วหนี้สินของคุณเป็นเท่าใด?
  • 12:49 - 12:55
    เรายืมเงินมา $3 ล้าน บวก 3 ล้าน
  • 12:55 - 12:58
    เราก็บอกได้ว่า รวมแล้วมูลค่าตามตลาดของ
  • 12:58 - 13:01
    สินทรัพย์ ตลาดคิดว่าทางซ้ายมือทั้งหมด
  • 13:01 - 13:07
    จะมีค่าเท่ากับมูลค่าของหุ้น
  • 13:07 - 13:10
    market cap ของบริษัท บวกปริมาณหนี้
  • 13:10 - 13:14
    ซึ่งเท่ากับ $113 ล้าน
  • 13:14 - 13:19
    มูลค่าของสินทรัพย์เหล่านี้
    จึงเท่ากับ $113 ล้าน
  • 13:19 - 13:21
    และมันก็เกือบเป็นมูลค่าสุทธิ
  • 13:21 - 13:22
    ของกิจการบริษัทแล้ว
  • 13:22 - 13:24
    สินทรัพย์ของบริษัทมีค่าเท่าใด?
  • 13:24 - 13:27
    เราจะพูดถึง -- มูลค่าสุทธิของกิจการ
    จริงๆ แตกต่างนิดหน่อย
  • 13:27 - 13:29
    เราจะพูดถึงในอนาคต
  • 13:29 - 13:32
    แต่มันก็คือวิธีที่คุณมองมูลค่า
  • 13:32 - 13:33
    ของบริษัท
  • 13:33 - 13:35
    หลายคนเวลาคิด
    มูลค่าหลักทรัพย์ตามตลาด
  • 13:35 - 13:37
    เขาบอกว่า โอ้ นั่นคือ
  • 13:37 - 13:37
    มูลค่าของบริษัท
  • 13:37 - 13:40
    แต่ไม่ใช่ นั่นคือมูลค่าของส่วนได้เสีย
  • 13:40 - 13:42
    มูลค่าหลักทรัพย์ตามหลักทรัพย์
    คือมูลค่าของส่วนได้เสีย
  • 13:42 - 13:44
    ถ้าคุณอยากรู้ว่าทั้งบริษัทมีมูลค่าเท่าใด
    คุณต้อง
  • 13:44 - 13:48
    นำ market cap มาแล้วบวกหนี้สิน
  • 13:48 - 13:51
    อีกวิธี -- ผมไม่อยากทำให้ซับซ้อนเกิน
  • 13:51 - 13:52
    เพราะผมเพิ่งรู้ตัวว่าผมหมดเวลาอีกแล้ว
  • 13:52 - 13:54
    แล้วพบกันใหม่ในวิดีโอหน้าครับ
Title:
Equity vs. Debt
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
13:55
Amara Bot edited Thai subtitles for Equity vs. Debt

Thai subtitles

Revisions