< Return to Video

Airbus A380 Take-off Time

  • 0:01 - 0:06
    และนี้เป็นรูปภาพของ เครื่องบิน แอร์บัส A380
  • 0:06 - 0:07
    และผมอยากรู้จังเลยว่า
  • 0:07 - 0:11
    นานเท่าไหร่ที่เครื่องบินใช้ในการยกตัวจากทางวิ่งจนบินขึ้นได้
  • 0:11 - 0:18
    และเราจะมามองกันที่ความเร็วในการยกตัวขึ้น
  • 0:18 - 0:24
    และเราจะให้ความเร็วของเครื่องบินเท่ากับ 280 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • 0:24 - 0:25
    และเราจะเขียนความเร็วไปทางนี้ ตรงนี้
  • 0:25 - 0:27
    เราต้องกำหนดทิศทางทุกครั้งที่คำนวณให้ดี
  • 0:27 - 0:29
    ไม่ใช่เพียงแค่ขนาดเท่านั้น
  • 0:29 - 0:32
    และนี้ทิศทางของเครื่องไปในทางเดียงกับทางวิ่ง
  • 0:32 - 0:35
    โดยกำหนดให้ทิศทางนี้เป็นบวก
  • 0:35 - 0:37
    ทีนี้เรามาดูกันที่ความเร่ง
  • 0:37 - 0:40
    เราจะสมมติว่ามันมีทิศทางความเร่งไปทางนี้
  • 0:40 - 0:43
    และทิศทางความเร่งนี้ไปในทางราบทางเดียวกับทางวิ่ง
  • 0:43 - 0:45
    และกำหนดค่าให้มัน
  • 0:45 - 0:47
    ลองกำหนดน้อยหน่อยละกัน
  • 0:47 - 0:48
    เพราะว่ามันจะได้เป็นค่าความเร่งที่คงที่ที่ไม่ยากนัก
  • 0:48 - 0:50
    ความเร่งคงที่
  • 0:50 - 0:50
    แต่เราจะบอกว่า
  • 0:50 - 0:52
    จากเหตุการณ์ที่นักบินบอกว่า
  • 0:52 - 0:54
    "เราทำการขึ้นได้แล้ว"
  • 0:54 - 0:56
    มันจะมีความเร่งที่คงที่
  • 0:56 - 1:00
    เครื่องยนต์จะให้คาความเร่งที่ที่คงที่ออกมา
  • 1:00 - 1:10
    เรากำหนดให้เป็น 1.0 ไมล์/วินาที
  • 1:10 - 1:11
    หลังจากนั้นอีก 1 วินาที
  • 1:11 - 1:14
    มันจะเร็วขึ้นขึ้นอีก 1 ไมล์/วินาที
  • 1:14 - 1:15
    มากขึ้นกว่าที่ผ่านมาเรื่อยๆ
  • 1:15 - 1:16
    และเมื่อเริ่มวินาทีที่ 2
  • 1:16 - 1:18
    ผมจะเขียนตรงนี้ล่ะกัน
  • 1:18 - 1:27
    1 ไมล์/วินาที
  • 1:27 - 1:29
    ซึ่งเราจะเขียนอย่างนี้ก็ได้
  • 1:29 - 1:31
    1 ไมล์/วินาที^2
  • 1:31 - 1:33
    ผมหาที่เขียนหน่อย
  • 1:33 - 1:35
    ผมจะเขียนอย่างนี้
  • 1:35 - 1:36
    ทีนี้เรามาลองคำนวณกัน
  • 1:36 - 1:37
    สิ่งแรกเลยที่เราต้องทำ
  • 1:37 - 1:39
    ในการหาคำตอบ
  • 1:39 - 1:47
    ว่า เวลาในการยกตัวของเครื่องบินเป็นเท่าไหร่
  • 1:47 - 1:50
    ซึ่งคำถามนี้เราจะลองมาหาคำตอบกัน
  • 1:50 - 1:51
    ซึ่งคำถามนี้เราจะลองมาหาคำตอบกัน
  • 1:51 - 1:53
    สิ่งแรกเราต้องเขียนหน่วยให้ถูก
  • 1:53 - 1:54
    สิ่งแรกเราต้องเขียนหน่วยให้ถูก
  • 1:54 - 1:55
    ตรงนี้
  • 1:55 - 1:56
    เราทราบความเร่ง
  • 1:56 - 1:58
    ในหน่วยของ เมตร/วินาที
  • 1:58 - 1:59
    หรือ วินาที^2
  • 1:59 - 2:00
    ตรงนี้
  • 2:00 - 2:01
    เรามีความเร็วที่การยกตัวขึ้น
  • 2:01 - 2:04
    ในหน่วยของ กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • 2:04 - 2:05
    เราจะมาลองเปลี่ยนหน่วยก่อน
  • 2:05 - 2:07
    ให้เป็น หน่วย เมตร/วินาที
  • 2:07 - 2:08
    แล้วมันจะทำให้ง่ายขึ้น
  • 2:08 - 2:10
    เพื่อตอบคำถามนี้
  • 2:10 - 2:15
    เราทราบความเร็วว่ามี 280 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • 2:15 - 2:18
    เราจะเปลี่ยนหน่วยมันยังไงล่ะ
  • 2:18 - 2:22
    ขั้นแรกลองเปลี่ยนเป็นหน่วย กิโลเมตร/วินาที ก่อน
  • 2:22 - 2:24
    เราจะกำจัดหน่วยชั่วโมงออก
  • 2:24 - 2:25
    และทางที่ดี
  • 2:25 - 2:26
    ถ้ามีหน่วยเป็นชั่วโมง
  • 2:26 - 2:27
    ในตัวหาร
  • 2:27 - 2:28
    เราต้องให้หน่วยชั่วโมงเป็นตัวตั้ง
  • 2:28 - 2:32
    และเราต้องให้ "วินาที" เป็นตัวหาร
  • 2:32 - 2:35
    ผลลัพธ์เป็นเท่าไหร่ล่ะทีนี้
  • 2:35 - 2:36
    หรือเราจะใส่ไว้ตรงนี้
  • 2:36 - 2:37
    ชั่วโมง หรือ วินาที
  • 2:37 - 2:41
    1 ชั่วโมง = 3600 วินาที
  • 2:41 - 2:43
    60 วินาที = 1 นาที
  • 2:43 - 2:45
    60 นาที = 1 ชั่วโมง
  • 2:45 - 2:47
    1 ตรงนี้เป็นหน่วยที่ใหญ่
  • 2:47 - 2:50
    เท่ากับ 3600 ในหน่วยที่เล็ก
  • 2:50 - 2:52
    และเราคูณด้วยนี้
  • 2:52 - 2:54
    และแบบนี้
  • 2:54 - 2:55
    หน่วย ชั่วโมงจะถูกตัดออก
  • 2:55 - 2:57
    เราจะได้ 280 หาร 3600
  • 2:57 - 2:59
    กิโลเมตร/วินาที
  • 2:59 - 3:00
    เราจะลองคิดเลขอีกครั้งนะ
  • 3:00 - 3:03
    การเปลี่ยนจากหน่วย
  • 3:03 - 3:05
    กิโลเมตร เป็น เมตร
  • 3:05 - 3:06
    อีกครัั้ง
  • 3:06 - 3:09
    เรามีกิโลเมตรเป็นตัวตั้ง
  • 3:09 - 3:11
    เราต้องการให้กิโลเมตรเป็นตัวหาร
  • 3:11 - 3:12
    เพื่อกำจัดมัน
  • 3:12 - 3:14
    และเราต้องให้หน่วย เมตร เป็นตัวตั้ง
  • 3:14 - 3:16
    และนี้เป็นหน่วยเล็กกว่า
  • 3:16 - 3:19
    เมตร จะได้เป็น 1000 เมตร
  • 3:19 - 3:21
    ทุกๆ 1 กิโลเมตร
  • 3:21 - 3:22
    และคูณเสร็จ
  • 3:22 - 3:24
    จะได้ว่ากิโลเมตรถูกกำจัดออก
  • 3:24 - 3:25
    และที่เหลือนี้
  • 3:25 - 3:42
    280 เวลา 1000 ในทั้งหมด 3600
  • 3:42 - 3:44
    และหน่วยที่เหลือเป็น
  • 3:44 - 3:53
    เมตร/วินาที
  • 3:53 - 3:56
    ลองดูเครื่องคิดเลขนี้นะครับ รุ่น TI-85
  • 3:56 - 3:58
    และจะคำนวณดู
  • 3:58 - 4:01
    280*1000
  • 4:01 - 4:03
    ได้ 280,000
  • 4:03 - 4:07
    หารด้วย 3600
  • 4:07 - 4:11
    ได้ 77.7
  • 4:11 - 4:14
    และสังเกตเลขนัยสำคัญนะครับ
  • 4:14 - 4:15
    แต่ละอันลองสังเกต
  • 4:15 - 4:17
    ผมมี 1.0 ตรงนี้
  • 4:17 - 4:19
    ไม่แน่ใจเลยว่าเท่าไหร่
  • 4:19 - 4:20
    หลักสำคัญอยู่ที่ตรงนี้
  • 4:20 - 4:22
    เป็นที่สังเกต
  • 4:22 - 4:24
    มันเข้าใกล้ 10 กิโลเมตร
  • 4:24 - 4:27
    หรือ เป็น 280 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือไหม
  • 4:27 - 4:28
    เพื่อความแน่ใจ
  • 4:28 - 4:29
    ผมจะสมมติว่ามันปัดขึ้น
  • 4:29 - 4:30
    เข้าใกล้ 10 กิโลเมตร
  • 4:30 - 4:32
    เราจะมีสองหลักนัยสำคัญตรงนี้
  • 4:32 - 4:34
    ซึ่งควรมี 2 หลักนัยสำคัญ
  • 4:34 - 4:35
    ในคำตอบของเรา
  • 4:35 - 4:41
    เราจะได้เป็น 78 เมตร/วินาที
  • 4:42 - 4:49
    และนี้เป็น 78 เมตร/วินาที
  • 4:49 - 4:50
    ซึ่งเร็วขึ้นนิดหน่อย
  • 4:51 - 4:52
    สำหรับการยกตัวนี้
  • 4:52 - 4:54
    ทุกวินาที
  • 4:54 - 4:56
    มันจะได้ระยะทาง 78 เมตร
  • 4:57 - 5:00
    ประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวสนามฟุตบอล
  • 5:00 - 5:02
    ในทุกๆวินาที
  • 5:02 - 5:03
    แต่นี้ไม่ใช่ที่เราจะตอบ
  • 5:03 - 5:04
    เราจะหาเวลา
  • 5:04 - 5:06
    ที่จะใช้ในการ ยกตัวขึ้น
  • 5:06 - 5:08
    เราพึ่งจะคำนวณนี้ไป
  • 5:08 - 5:10
    ถ้าลองดูนี้
  • 5:10 - 5:13
    ความเร่ง 1 เมตร/วินาที
  • 5:13 - 5:14
    ซึ่งบอกเราว่า
  • 5:14 - 5:15
    หลังจากทุกๆวินาที
  • 5:15 - 5:17
    มันจะเร็วขึน 1 เมตร/วินาที
  • 5:17 - 5:20
    ดังนั้น ถ้าเราเริ่มที่ความเร็ว 0
  • 5:20 - 5:22
    จากนั้น 1 วินาที
  • 5:22 - 5:23
    มันจะเร็วได้ 1 เมตร/วินาที
  • 5:23 - 5:24
    หลังจากวินาทีที่ 2
  • 5:24 - 5:25
    มันจะเร็วขึ้นเป็น 2 เมตร/วินาที
  • 5:25 - 5:26
    หลังจากวินาทีที่ 3
  • 5:26 - 5:27
    มันจะเร็วขึ้นเป็น 3 เมตร/วินาที
  • 5:28 - 5:31
    แต่นานเท่าไหร่ล่ะที่จะได้ 78 เมตร/วินาที
  • 5:31 - 5:33
    มันก็ใช้เวลาเป็น 78 วินาที
  • 5:33 - 5:38
    ประมาณ 78 วินาทีที่เครื่องจะยกตัวได้
  • 5:38 - 5:41
    ซึ่งก็คือ 1 นาที 18 วินาที
  • 5:41 - 5:42
    และเราพึ่งจะหาไปจาก
  • 5:42 - 5:45
    นิยามของเราที่มีของ ความเร่ง
  • 5:45 - 5:45
    เราจะพูดว่า
  • 5:45 - 5:47
    นิยามของความเร่ง
  • 5:47 - 5:48
    ซึ่งมีส่วนประกอบที่เป็นทิศทางด้วย
  • 5:48 - 5:49
    และทิศทั้งหมด
  • 5:49 - 5:50
    เราจะมากล่าวกันตอนนี้เลย
  • 5:50 - 5:51
    ที่เป็นทิศของ
  • 5:51 - 5:53
    ทางวิ่ง
  • 5:53 - 5:57
    ความเร่งเท่ากับ
  • 5:57 - 6:05
    การเปลี่ยนความเร็วในช่วงเวลาหนึ่ง
  • 6:05 - 6:06
    ลองแก้ปัญหาดู
  • 6:06 - 6:07
    เวลาเท่าไหร่ที่มันจะขึ้นได้
  • 6:07 - 6:09
    หรือเวลาเป็นเท่าไหร่
  • 6:09 - 6:09
    ลองดูนะ
  • 6:09 - 6:11
    ลองคูณทั้งสองข้างด้วย
  • 6:11 - 6:12
    เวลาที่เปลี่ยน
  • 6:13 - 6:18
    คุณจะได้ เป็น Δt * ความเร่ง
  • 6:18 - 6:20
    เท่ากับ
  • 6:20 - 6:24
    การเปลี่ยนแปลงความเร็ว
  • 6:24 - 6:26
    และแก้สมการ
  • 6:26 - 6:32
    ด้วยการหารทั้งสองข้างด้วยความเร่ง
  • 6:32 - 6:34
    เราจะได้การเปลี่ยนแปลงของเวลา
  • 6:34 - 6:35
    ผมจะลงมาตรงนี้
  • 6:35 - 6:36
    ใช้พื้นที่นี้นะ
  • 6:36 - 6:38
    อ่ะ ผมมีพื้นที่ตรงนี้
  • 6:38 - 6:39
    เรามีเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป
  • 6:39 - 6:40
    เท่ากับ
  • 6:40 - 6:44
    การเปลี่ยนแปลงของความเร็ว
  • 6:44 - 6:48
    การด้วย ความเร่ง
  • 6:48 - 6:49
    และที่นี้
  • 6:49 - 6:52
    การเปลี่ยนแปลงความเร็วเป็นเท่าไหร่ล่ะ
  • 6:52 - 6:54
    เราเริ่มที่ความเร็ว
  • 6:54 - 6:55
    หรือเริ่มที่ความเร็ว
  • 6:55 - 6:58
    เท่ากับ 0 เมตร/วินาที
  • 6:58 - 7:01
    และ เรารู้ว่าไปได้ถึง 78 เมตร/วินาที
  • 7:01 - 7:03
    ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
  • 7:03 - 7:08
    เป็น 78 เมตร/วินาที
  • 7:09 - 7:10
    ซึ่งเท่ากับ
  • 7:10 - 7:11
    ตรงนี้พอดี
  • 7:11 - 7:15
    78 เมตร/วินาที เป็นการเปลี่ยนแปลงความเร็วพอดี
  • 7:15 - 7:16
    ความเร็วสุดท้ายตรงนี้
  • 7:16 - 7:17
    78 เมตร/วินาที
  • 7:17 - 7:19
    และ ลบออกจากตรงนี้
  • 7:19 - 7:19
    ความเร็วเริ่มต้น
  • 7:19 - 7:20
    ด้วย 0
  • 7:20 - 7:22
    และคุณจะได้
  • 7:22 - 7:24
    หารด้วยความเร่ง
  • 7:24 - 7:29
    หารด้วย 1 เมตร/วินาที
  • 7:29 - 7:32
    ซึ่งเป็น 1 เมตร/วินาที^2
  • 7:32 - 7:33
    ดังนั้นจำนวนที่ได้ก็ดังนี้เลย
  • 7:33 - 7:35
    คุณมี 78 หารด้วย 1
  • 7:35 - 7:37
    เท่ากับ 78
  • 7:37 - 7:38
    และหน่วยที่มี
  • 7:38 - 7:39
    เมตร/วินาที
  • 7:40 - 7:43
    และคุณหารด้วย เมตร/วินาที^2
  • 7:43 - 7:45
    ซึ่งเหมือนกันในกรณีคูณอย่างนี้
  • 7:45 - 7:46
    วินาที^2/เมตร
  • 7:46 - 7:47
    ถูกไหมครับ
  • 7:47 - 7:50
    การหารด้วยบางอย่างแบบนี้
  • 7:50 - 7:52
    คือคูณด้วยกันอย่างนี้
  • 7:52 - 7:54
    และทำแบบเดียวกันกับ หน่วย
  • 7:54 - 7:55
    และเราเห็นว่า
  • 7:55 - 7:57
    เมตรถูกตัดออก
  • 7:57 - 7:59
    วินาที^2 หารด้วยวินาที
  • 7:59 - 8:01
    จะได้ วินาที
  • 8:01 - 8:04
    และนี้เป็น 78 วินาที
  • 8:04 - 6000:00
    เป็นเวลาที่ใช้ในการยกตัวขึ้นของเครื่องบิน
Title:
Airbus A380 Take-off Time
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
08:08

Thai subtitles

Revisions