< Return to Video

ไดเวอร์เจนซ์ 3

  • 0:00 - 0:01
    -
  • 0:01 - 0:03
    ทีนี้ลองำทตัวอย่างที่หรูกว่าเดิมหน่อย, แล้วเราค่อยมา
  • 0:03 - 0:05
    วิเคราะห์สนามเวกเตอร์กัน
  • 0:05 - 0:08
    และหวังว่านี่คงช่วยให้ทุกอย่าง
  • 0:08 - 0:09
    จับต้องได้มากขึ้น
  • 0:09 - 0:13
    สมมุติว่าความเร็วของของไหล, หรืออนุภาค
  • 0:13 - 0:18
    ในของไหล, ใน ณ จุดที่กำหนดในระนาบ x-y,
  • 0:18 - 0:28
    สมมุติในทิศ x, มันคือ x กำลังสอง, x กำลังสอง ลบ 3x
  • 0:28 - 0:38
    บวก 2 ในทิศ x, บวก y กำลังสอง ลบ 3y บวก
  • 0:38 - 0:40
    2 ในทิศ y
  • 0:40 - 0:44
    ง่ายจนเรามีแค่อย่างเดียวต้องหาองค์ประกอบออกมา
  • 0:44 - 0:46
    ลองทำเลขกันก่อน
  • 0:46 - 0:52
    ลองหาไดเวอร์เจนซ์ของสนามเวกเตอร์นี้กัน,
  • 0:52 - 0:54
    ไดเวอร์เจนซ์ของสนามเรา
  • 0:54 - 0:56
    และเมื่อแสดงกราฟของสนามนี้ เราจะได้
  • 0:56 - 0:58
    เข้าใจว่ามันเป็นอย่างไร, แทนที่
  • 0:58 - 1:02
    จะใช้รูปที่ผมวาดได้ไม่ดีนัก
  • 1:02 - 1:03
    แล้วไดเวอร์เจนซ์คืออะไร?
  • 1:03 - 1:05
    ลองหาอนุพันธ์ย่อยขององค์ประกอบ x
  • 1:05 - 1:07
    เทียบกับ x ดู
  • 1:07 - 1:09
    นั่นก็แค่, มันมีแค่ตัวแปร x ในนี้, ดังนั้นเราไม่ต้อง
  • 1:09 - 1:12
    ระวังเรื่องจับ y หรือ z คงที่
  • 1:12 - 1:14
    มันก็แค่อนุพันธ์ของเทอมนี้
  • 1:14 - 1:15
    เทียบกับ x
  • 1:15 - 1:20
    ดังนั้นได้ 2x ลบ 3
  • 1:20 - 1:23
    แล้วเราก็บวกมันกับอนุพันธ์ย่อยของ
  • 1:23 - 1:25
    องค์ประกอบ y, หรือฟังก์ชัน y, เทียบกับ y
  • 1:25 - 1:28
    มันมีแค่ y ในองค์ประกอบ y, เราก็แค่
  • 1:28 - 1:29
    หาอนุพันธ์เทียบกับ y
  • 1:29 - 1:35
    มันจะเป็น บวก 2y ลบ 3
  • 1:35 - 1:39
    หรือเราอาจบอกว่า ไดเวอร์เจนซ์ของ v, ณ จุดใด ๆ
  • 1:39 - 1:48
    ใน xy, มันก็คือฟังก์ชันของ x กับ y, คือ 2x บวก 2y ลบ 3
  • 1:48 - 1:53
    ทีนี้ก่อนที่ผมจะแสดงกราฟ, ลองวิเคราะห์
  • 1:53 - 1:54
    ฟังก์ชันนี้กันหน่อย
  • 1:54 - 1:56
    อย่างแรกเลย, ลองดูที่สนามเวกเตอร์เดิม,
  • 1:56 - 2:02
    และคิดว่าสนามเวกเตอร์นี้ มีจุดไหน
  • 2:02 - 2:03
    น่าใจบ้าง?
  • 2:03 - 2:06
    ผมว่าจุดที่น่าสนใจ คือจุดที่องค์ประกอบ x
  • 2:06 - 2:08
    หรือองค์ประกอบ y นั้นเป็น 0
  • 2:08 - 2:11
    แล้วเเมื่อไหร่ที่องค์ประกอบ x จะเท่ากับ 0?
  • 2:11 - 2:13
    ทีนี้, หากเราแยกตัวประกอบองค์ประกอบ x, นั่นก็
  • 2:13 - 2:17
    เหมือนกับ, เราสามารถเขียนสนามเวกเตอร์เราใหม่
  • 2:17 - 2:23
    เราแค่แยกตัวประกอบ, นั่นคือ x ลบ 1 คูณ x ลบ
  • 2:23 - 2:30
    2i บวก, และนั่นก็เป็นพหุนามเหมือนกัน, แค่มี y, สำหรับ
  • 2:30 - 2:38
    องค์ประกอบ y, ได้ y ลบ 1 คูณ y ลบ 2 คูณ j
  • 2:38 - 2:43
    แล้วองค์ประกอบ x เป็น 0 เมื่อ x เท่ากับ 1, นี่เป็น
  • 2:43 - 2:45
    แค่รากของพหุนามนี้, เมื่อ x เท่ากับ
  • 2:45 - 2:47
    1 หรือ 2, จริงไหม?
  • 2:47 - 2:52
    และองค์ประกอบ y เป็น 0 เมื่อ y เท่ากับ 1 หรือ 2
  • 2:52 - 2:55
    และมันเท่ากับ 0 ทั้งสอง หากเรามี
  • 2:55 - 2:55
    จุดพวกนี้ประกอบกัน
  • 2:55 - 3:02
    ดังนั้นจุดที่มีองค์ประกอบเป็น 0 ทั้งคู่ได้ 1,1, x เป็น
  • 3:02 - 3:05
    1, y เป็น 2, จริง เพราะองค์ประกอบทั้งคู่
  • 3:05 - 3:10
    เป็น 0, 2, 1 หรือ 2,2
  • 3:10 - 3:15
    พวกนี้คือจุดที่ขนาดของความเร็ว
  • 3:15 - 3:17
    ของของไหล, หรืออนุภาคในของไหล, เป็น 0
  • 3:17 - 3:20
    และเราจะเห็นในกราฟเร็ว ๆ นี้
  • 3:20 - 3:22
    แต่ขอผมถามอีกคำถามนึง
  • 3:22 - 3:27
    ณ จุดใด, ทีนี้, ลองดูกัน, ว่าจุดใด
  • 3:27 - 3:29
    ที่ไดเวอร์เจนซ์เท่ากับ 0?
  • 3:29 - 3:32
    ลองดู, จุดไหนที่ไดเวอร์เจนซ์เท่ากับ 0
  • 3:32 - 3:34
    ขอผมคลิกลบหาที่ว่างก่อนนะ
  • 3:34 - 3:36
    ผมว่าผมลบนี่ได้
  • 3:36 - 3:40
    เราได้จุดเรามา, เราหาว่าพิกัดใด
  • 3:40 - 3:43
    ที่ขนาดสนามเวกเตอร์เป็น 0
  • 3:43 - 3:48
    งั้นลองหากัน ว่าตรงไหนที่ไดเวอร์เจนซ์
  • 3:48 - 3:50
    เท่ากับ 0?
  • 3:50 - 3:51
    นี่คือไดเวอร์เจนซ์
  • 3:51 - 3:58
    ดังนั้นหากเราจับมันเท่ากับ 0, 2x บวก 2y, 2x
  • 3:58 - 3:59
    บวก 2y, โอ้, โทษที
  • 3:59 - 4:01
    คุณรู้ว่า, นี่คือ 2x ลบ 3 บวก 2y ลบ 3
  • 4:01 - 4:04
    ดังนั้นนี่คือลบ 6, จริงไหม?
  • 4:04 - 4:06
    ลบ 3 ลบ 3, นั่นคือลบ 6
  • 4:06 - 4:10
    ผมพลาดครั้งใหญ่เลย บวกกับลบแค่นั้น
  • 4:10 - 4:12
    เอาล่ะ งั้นไดเวอร์เจนซ์
  • 4:12 - 4:15
    2x บวก 2y, ลบ 6
  • 4:15 - 4:17
    และเราอยากรู้, เมื่อไหร่ที่มันเป็น 0?
  • 4:17 - 4:20
    เราก็จับมันเท่ากับ 0
  • 4:20 - 4:22
    และเราสามารถจัดรูปมันหน่อย
  • 4:22 - 4:26
    เราหารทั้งสองข้างของสมการด้วย 2, และคุณได้ x
  • 4:26 - 4:29
    บวก y ลบ 3 เท่ากับ 0
  • 4:29 - 4:33
    คุณจะได้ x บวก y เท่ากับ 3
  • 4:33 - 4:35
    เราอาจจบตรงนี้, หรือเราอาจลองเขียนในรูป
  • 4:35 - 4:40
    mx บวก b ดั้งเดิม, นั่นคือวิธีที่ผมมอง
  • 4:40 - 4:41
    เส้นตรงได้ง่ายขึ้น
  • 4:41 - 4:46
    เราอาจบอกว่า y เท่ากับ 3 ลบ x
  • 4:46 - 4:51
    ดังนั้นตามแนวนี้, ไดเวอร์เจนซ์ของเวกเตอร์สนาม
  • 4:51 - 4:56
    b เท่ากับ 0, ตามเส้นตรง y เท่ากับ 3 ลบ x
  • 4:56 - 4:59
    และหากเราอยู่เหนือเส้นนี้, ไดเวอร์เจนซ์จะเป็นบวก
  • 4:59 - 5:02
    ใช่, เพราะหากผมทำให้นี่มากกว่า
  • 5:02 - 5:04
    เครื่องหมาย, มันจะตามไป
  • 5:04 - 5:06
    คุณจะได้ y มากกว่า 3-x
  • 5:06 - 5:14
    เมื่อ y มากกว่า 3-x, ไดเวอร์เจนซ์เป็นบวก
  • 5:14 - 5:19
    และ y น้อยกว่า 3 ลบ x, ไดเวอร์เจนซ์เป็นลบ
  • 5:19 - 5:22
    และคุณอาจใช้อันนี้เป็นเครื่องหมายน้อยกว่า แล้วแก้, คุณ
  • 5:22 - 5:24
    จะได้ y น้อยกว่า 3-x, แล้วคุณจะได้รู้ว่าเมื่อไหร่
  • 5:24 - 5:26
    ไดเวอร์เจนซ์จะเป็นลบ
  • 5:26 - 5:29
    ดังนั้นผมว่าเราได้ทำวิเคราะห์เท่าที่ทำได้ไปแล้ว
  • 5:29 - 5:31
    งั้นลองดูกราฟแล้วดูว่ามันตรงกับ
  • 5:31 - 5:34
    สัญชาตญาณเราว่าไดเวอร์เจนซ์คืออะไร หรือเปล่า
  • 5:34 - 5:35
    รวมทั้งตัวเลขที่เราหามาด้วย
  • 5:35 - 5:37
    -
  • 5:37 - 5:39
    ผมหวังว่าคุณคงเห็นนี่นะ
  • 5:39 - 5:41
    นี่คือสนามเวกเตอร์
  • 5:41 - 5:46
    ผมไม่มีที่แสดงมัน, แต่ผมว่าคุณจำได้, นี่คือ
  • 5:46 - 5:48
    คุณก็รู้, x กำลังสอง ลบ 3x บวก 2
  • 5:48 - 5:50
    นี่คือนิยามของสนามเวกเตอร์เรา
  • 5:50 - 5:52
    วาดกราฟมาเป็นอันนี้
  • 5:52 - 5:55
    และเราหาแล้ว เราหาจุดที่
  • 5:55 - 5:57
    องค์ประกอบ x และองค์ประกอบ y เท่ากับ 0 ไปแล้ว
  • 5:57 - 5:59
    แล้วเราบอกว่า, เมื่อไหร่ทั้งคู่ถึงเป็น 0?
  • 5:59 - 6:01
    และเราบอกว่า โอ้ ณ คือจุด 1,1
  • 6:01 - 6:04
    นี่คือจุด 1,1 และเราได้ขนาด
  • 6:04 - 6:06
    ของเวกเตอร์เป็น 0 ณ จุดนั้น
  • 6:06 - 6:10
    ที่จริง, ผมสามารถขยายเข้าไปหน่อย
  • 6:10 - 6:12
    ตรงนี้, พวกมันชี้เข้า แต่มัน
  • 6:12 - 6:16
    เล็กลงและเล็กลง เมื่อคุณเข้าใกล้จุด 1,1 จริงไหม?
  • 6:16 - 6:20
    เรายังบอกไว้ว่า ณ จุด 1,2, x เป็น 1, y เป็น 2
  • 6:20 - 6:22
    และตรงนี้ เช่นกัน เราเห็นว่าขนาดของเวกเตอร์
  • 6:22 - 6:25
    นั่นเล็กมาก ๆๆ
  • 6:25 - 6:26
    เราขยายเข้าไปอีก
  • 6:26 - 6:29
    และเราเห็นว่า, ขนาดมันเล็กจริง
  • 6:29 - 6:31
    อีกจุดนึงคือ 2,1, อีกแล้ว, เราเห็น
  • 6:31 - 6:33
    ขนาดเล็กอีกแล้ว, แล้วก็ 2,2
  • 6:33 - 6:36
    ดังนั้นมันสอดคล้องกับที่เราหามา, ว่าสนามเวกเตอร์
  • 6:36 - 6:38
    เล็กมาก ณ จุดนี้
  • 6:38 - 6:40
    และอีกอย่างที่น่าสนใจคือ เราบอกว่า, โอเค, เมื่อไหร่
  • 6:40 - 6:42
    ไดเวอร์เจนซ์ถึงเป็น 0?
  • 6:42 - 6:46
    ทีนี้ ไดเวอรืเจนซ์เป็น 0 ตามแนวเส้นตรง y เท่ากับ
  • 6:46 - 6:49
    3 ลบ x
  • 6:49 - 6:52
    ดังนั้นเส้นตรง y เท่ากับ 3 ลบ x เริ่มต้น, ค่าตัด
  • 6:52 - 6:56
    แกน y จะเป็น 3, และมันจะออกเป็นแบบนี้
  • 6:56 - 6:56
    จริงไหม?
  • 6:56 - 6:59
    ดังนั้นอะไรก็ตาม, ณ จุดใด ๆ ตามแนวนี้,
  • 6:59 - 7:00
    ไดเวอร์เจนซ์เป็น 0
  • 7:00 - 7:03
    และหากเรามองที่กราฟ, มันก็ถูกแล้ว
  • 7:03 - 7:07
    เพราะผมไม่สามารถวาดบนกราฟนี้ได้, แต่หากเราวาดวงกลมตรงนี้
  • 7:07 - 7:11
    , ลองสมมุติว่ามันวาดได้แล้วกัน, เส้นตรง y
  • 7:11 - 7:15
    เท่ากับ 3 ลบ x, เราจะเห็นว่า ในช่วง
  • 7:15 - 7:18
    เวลานึง, จะมีอนุภาคเข้าไปจากด้านบนขวา
  • 7:18 - 7:21
    เท่ากับที่ไหลออกทางล่างซ้าย, จริงไหม?
  • 7:21 - 7:24
    มีจำนวนมากเลยไหลเข้าทางด้านบนขวา และจำนวนมา
  • 7:24 - 7:24
    ไหลออกทางล่างซ้าย
  • 7:24 - 7:27
    และเวกเตอร์พวกนี้ มีขนาดเท่ากัน
  • 7:27 - 7:32
    และหากเราไปทางด้านลง, หากเราไปตรงนี้บนเส้นตรง, มัน
  • 7:32 - 7:36
    จะดูว่ามีการไหลเข้าน้อยลง, แต่มัน
  • 7:36 - 7:37
    ก็ไหลออกน้อยลงด้วย
  • 7:37 - 7:40
    ผมรู้ว่ามันดูยาก, แต่ที่ใดก็ตามบนเส้นตรง,
  • 7:40 - 7:41
    คุณก็จะเห็นเข้ากับออกพอ ๆ กัน
  • 7:41 - 7:45
    และนั่นคือสาเหตุที่ไดเวอร์เจนซ์เป็น 0
  • 7:45 - 7:48
    ทีนี้, ลองดูจุดอื่นบ้าง
  • 7:48 - 7:51
    บนนี้, เราหาได้ว่าไดเวอร์เจนซ์เป็นบวก
  • 7:51 - 7:52
    และนั่นเป็น
  • 7:52 - 7:53
    จุดใด ๆ
  • 7:53 - 7:57
    หากเราวาดวงกลมตรงนี้, เราจะเห็นเวกเตอร์
  • 7:57 - 8:00
    ด้านซ้ายมือของวงกลมที่คุณไม่เห็น,
  • 8:00 - 8:02
    เพราะผมวาดวงกลมบนกราฟนี่ไม่ได้
  • 8:02 - 8:05
    แต่ที่จริง, ลองสมมุติว่ามันเป็นสี่เหลี่ยม
  • 8:05 - 8:08
    สมมุติว่าสี่เหลี่ยมคือเขตของผม, จริงไหม?
  • 8:08 - 8:09
    อันนี้ตรงนี้
  • 8:09 - 8:12
    หากสี่เหลี่ยมนี้คือเขตผม, เราจะเห็นเวกเตอร์ทางซ้ายมือ
  • 8:12 - 8:16
    ใหญ่กว่า, ว่าส่วนที่เข้ามา โตกว่า
  • 8:16 - 8:19
    ส่วนที่เข้าไป, จริงไหม?
  • 8:19 - 8:23
    ดังนั้นหาก, ในช่วงเวลาที่กำหนด, มีออกไปมากกว่าเข้ามา
  • 8:23 - 8:27
    , ผมก็จะแน่นน้อยลง, หรือคุณอาจบอกว่า
  • 8:27 - 8:29
    อนุภาคสลายตัวออกไป
  • 8:29 - 8:32
    และนั่นเข้าใจได้, เพราะผมมีไดเวอร์เจนซ์เป็นบวก
  • 8:32 - 8:35
    และหากเราไปตรงนี้, ที่ที่ไดเวอร์เจนซ์เป็นลบ,
  • 8:35 - 8:37
    ลองเลือกจุดตามใจจุดนึง
  • 8:37 - 8:40
    สมมุติว่าสี่เหลี่ยมนี้ตรงนี้
  • 8:40 - 8:44
    เราจะเห็นว่าเวกตอร์เข้ามา, ขนาดของเวกเตอร์
  • 8:44 - 8:47
    ที่เข้ามา, นั่นใหญ่กว่าขนาดของ
  • 8:47 - 8:49
    เวกเตอร์ที่ออกไป
  • 8:49 - 8:51
    ดังนั้นในช่วงเวลานึง, มีเข้ามากกว่าออก
  • 8:51 - 8:54
    นั่นเลยแน่นขึ้น, หรือมันมารวมกันมากขึ้น
  • 8:54 - 8:57
    ดังนั้นไดเวอร์เจนซ์เป็นลบ, หรือคุณอาจมองมันว่าแน่นขึ้น
  • 8:57 - 8:59
    หรือมันกำลังเข้าหากัน
  • 8:59 - 9:01
    ที่จริง มีสิ่งที่น่าสนใจเกิดขึ้น
  • 9:01 - 9:04
    ณ จุดสองจุดนี้
  • 9:04 - 9:09
    เราบอกว่า ณ จุด 2,1 , เราเห็นว่าในทิศ y
  • 9:09 - 9:14
    มันกำลังเข้าหากัน, จริงไหม?
  • 9:14 - 9:18
    เหนือ y เท่ากับ 1, ลูกศรชี้ลง
  • 9:18 - 9:21
    ส่วนข้างล่างลูกศรชี้ขึ้น, จริงไหม?
  • 9:21 - 9:23
    ดังนั้นในทิศ y, เรากำลังไหลเข้า, หรือ
  • 9:23 - 9:24
    เรากำลังได้ไดเวอร์เจนซ์เป็นลบ
  • 9:24 - 9:27
    สิ่งต่าง ๆ กำลังไหลเข้า ณ จุดนั้น
  • 9:27 - 9:31
    แต่ในทิศ x, สิ่งต่าง ๆ ถูกผลักออก, จริงไหม?
  • 9:31 - 9:34
    ดังนั้นสาเหตุที่ไดเวอร์เจนซ์เป็น 0 ตรงนี้, คุณอาจ
  • 9:34 - 9:38
    มีอนุภาคเข้าจากด้านบนและล่างขอบเขต, แต่
  • 9:38 - 9:41
    คุณยังมีอนุภาคจำนวนเท่ากัน ออกไปทางซ้าย
  • 9:41 - 9:42
    และขวาด้วย
  • 9:42 - 9:44
    นั่นเหมือนกับอนุภาคกระดอนกันไป
  • 9:44 - 9:49
    ดังนั้นโดยรวมแล้ว, ระหว่างทิศทั้งสอง, คุณไม่มี
  • 9:49 - 9:52
    ความหนาแน่นเพิ่มขึ้นหรือลดลง บนเส้นตรง y
  • 9:52 - 9:54
    เท่ากับ 3 ลบ x
  • 9:54 - 9:56
    และก่อนที่จะหมดเวลา, ผมอยากให้คุณได้สัญชาตญาณ
  • 9:56 - 10:01
    สำคัญอีกรอบ, ว่าทำไมไดเวอร์เจนซ์เป็นบวก, และ
  • 10:01 - 10:05
    ทำไมมันถึงหมายความว่า มีของไหลออกมา, เมื่ออัตรา
  • 10:05 - 10:06
    การเปลี่ยนแปลงเป็นบวก
  • 10:06 - 10:08
    เราบอกว่าไดเวอร์เจนซ์เป็นบวก
  • 10:08 - 10:09
    สมมุติว่าจุดนี้, ดีไหม?
  • 10:09 - 10:12
    นั่นเข้าใจได้, เพราะอนุพันธ์ย่อยเรา
  • 10:12 - 10:16
    เป็นบวก, นั่นหมายความว่าขนาดของเวกเตอร์เรา
  • 10:16 - 10:19
    โตขึ้น โตขึ้น เมื่อค่า x และ y
  • 10:19 - 10:21
    ของเราโตขึ้น, จริงไหม?
  • 10:21 - 10:23
    ดังนั้นหากขนาดของเวกเตอร์เราโตขึ้นและโตขึ้น
  • 10:23 - 10:26
    เมื่อค่า x กับ y โตขึ้น, เวกเตอร์ทางขวา
  • 10:26 - 10:28
    จะมีขนาดมากกว่า
  • 10:28 - 10:29
    เวกเตอร์ทางซ้าย
  • 10:29 - 10:31
    มันมีขนาดโตขึ้น
  • 10:31 - 10:34
    และดังนั้นหากผมวาดขอบเขต, จะมีพวกที่
  • 10:34 - 10:36
    ออกไปทางขวามากกว่าเข้าไปทางซ้าย
  • 10:36 - 10:39
    ดังนั้นคุณเลยได้การกระจายออกเป็นบวก, หรือคุณ
  • 10:39 - 10:41
    กำลังเจือจางลง
  • 10:41 - 10:44
    เอาล่ะ, ผมไม่อยากทำให้คุณงงนัก
  • 10:44 - 10:46
    แต่ผมหมดเวลาอีกแล้ว
  • 10:46 - 10:48
    แล้วพบกันใหม่ในวิดีโอหน้าครับ
Title:
ไดเวอร์เจนซ์ 3
Description:

การวิเคราะห์สนามเวกเตอร์โดยใช้ไดเวอร์เจนซ์

more » « less
Video Language:
English
Duration:
10:48
conantee added a translation

Thai subtitles

Revisions