< Return to Video

อัตราเร็วเฉลี่ยของอูเชียน โบลท์

  • 0:01 - 0:02
    ผมมีคลิปตรงนี้.
  • 0:02 - 0:04
    เป็นหนึ่งในห้วงเวลาที่น่าตื่นเต้นที่สุด
    ในวงการกีฬา.
  • 0:04 - 0:09
    เพื่อให้ตื่นเต้นขึ้น ผู้ประกาศ
    นั้นพูดภาษาเยอรมัน.
  • 0:09 - 0:11
    และผมคิดว่าคงไม่เป็นไรถ้า
    ใช้อย่างมีเหตุผล
  • 0:11 - 0:14
    เพราะผมใช้คลิปนี้เพื่อ
    สอนเลข.
  • 0:14 - 0:20
    แต่ผมอยากให้คุณดูวิดีโอนี้
    แล้วผมจะถามคำถามคุณ.
  • 0:20 - 0:30
    >>[ภาษาต่างประเทศ]
  • 0:41 - 0:44
    >>คุณคงเห็นว่ามันน่าตื่นเต้น
    ไมว่าจะเป็นภาษาไหน
  • 0:44 - 0:50
    แต่คำถามให้คุณคือว่า อูเชียนโบลท์
    วิ่งเร็วแค่ไหน?
  • 0:50 - 0:55
    อัตราเร็วเฉลี่ยของเขาตอนวิ่ง
    100 เมตรนี้เป็นเท่าใด?
  • 0:55 - 0:56
    คุณแนะนำให้คุณดู.
  • 0:56 - 0:59
    วิดีโอนี้มากเท่าที่คุณต้องดู.
  • 0:59 - 1:01
    และตอนนี้ ผมจะให้เวลาคุณคิดหน่อย
  • 1:01 - 1:03
    แล้วเราค่อยมาแก้กัน.
  • 1:03 - 1:08
    [เสียงเงียบ]
  • 1:08 - 1:13
    เราต้องหาว่าอูเชียน โบลท์วิ่ง
    เร็วแค่ไหนตลอดระยะ 100 เมตร.
  • 1:13 - 1:15
    เราคิด ในกรณีนี้
  • 1:15 - 1:18
    ของปัญหานี้ อัตราเร็วเฉลี่ย
    หรืออัตราเฉลี่ย.
  • 1:18 - 1:20
    แล้วคุณคงคุ้นกับคำนี้แล้ว.
  • 1:20 - 1:25
    ระยะนั้น, ระยะทางเท่ากับอัตรา
  • 1:25 - 1:29
    หรืออัตราเร็ว ผมจะเขียนว่าอัตรา
    คูณเวลา.
  • 1:29 - 1:33
    ผมเขียนมันแบบนี้ แต่เมื่อเราใช้พีชคณิต
  • 1:33 - 1:36
    สัญลักษณ์การคูณแบบเดิมทำให้งงได้ง่าย
  • 1:36 - 1:38
    เพราะมันดูเหมือนตัวแปร x.
  • 1:38 - 1:40
    แทนที่จะทำอย่างนั้น ผมจะเขียนแบบนี้.
  • 1:40 - 1:46
    ระยะนี่เท่ากับอัตรา คูณเวลา
    เท่ากับอัตราคูณเวลา.
  • 1:46 - 1:48
    หวังว่าคุณคงเข้าใจมากขึ้น.
  • 1:48 - 1:52
    ถ้าอัตรา หรืออัตราเร็วเป็น 10 เมตร
    ต่อวินาที แค่ยกตัวอย่างนะ
  • 1:52 - 1:56
    เขาอาจไม่ได้วิ่งเร็วเท่านั้น
    แต่ถ้าคุณวิ่ง 10 เมตร
  • 1:56 - 2:03
    ต่อวินาที และถ้าคุณวิ่งเป็น
    เวลา 2 วินาที, 2 วินาที,
  • 2:03 - 2:07
    วินาที, แล้วคุณคงเข้าใจ
    โดยสัญชาตญาณว่าคุณวิ่งไป 20 เมตร.
  • 2:07 - 2:11
    คุณวิ่ง 10 เมตรต่อวินาที
    เป็นเวลา 2 วินาที.
  • 2:11 - 2:14
    มันยังออกมาตัวเลขถูกต้อง.
    10 คูณ 2 เท่ากับ 20.
  • 2:14 - 2:16
    แล้วคุณมีวินาทีเป็น
  • 2:16 - 2:19
    ตัวส่วน และวินาที บนนี้คือ
    ตัวเศษ.
  • 2:19 - 2:20
    ผมเขียนวินาทีตรงนี้เป็น s.
  • 2:20 - 2:22
    ผมเขียนบนนี้.
  • 2:22 - 2:26
    พวกมันก็ตัดกัน แล้วคุณ
    เหลือแค่ หน่วยเมตร.
  • 2:26 - 2:29
    คุณจะเหลือ 20 เมตร.
  • 2:29 - 2:31
    หวังว่ามันคงตรงตามสัญชาตญาณ.
  • 2:31 - 2:34
    พักเรื่องนั้นไว้ ลองคิด
  • 2:34 - 2:37
    ลองคิดถึงปัญหานี้ที่เรามี.
  • 2:37 - 2:40
    เรามีข้อมูลอะไรอยู่?
  • 2:40 - 2:43
    เรา เรามีระยะทางไหม?
  • 2:43 - 2:48
    ระยะในวิดีโอที่เราดูเป็นเท่าใด?
  • 2:48 - 2:51
    และผมจะให้เวลาคุณคิดสักครู่
  • 2:51 - 2:54
    [เสียงเงียบ]
  • 2:54 - 2:56
    การแข่งนี้มีระยะ 100 เมตร.
  • 2:56 - 2:59
    ระยะนี้จึงเป็น 100.
  • 2:59 - 3:01
    100 เมตร.
  • 3:01 - 3:02
    แล้วเรารู้อะไรอีก?
  • 3:02 - 3:06
    เราพยายามหาอัตรา
    นั่นคิอสิ่งที่เราจะหา.
  • 3:06 - 3:10
    เรารู้อย่างอื่นไหม จากอันนี้
    จากสมการตรงนี้?
  • 3:10 - 3:12
    เรารู้เวลาไหม?
  • 3:12 - 3:13
    เรารู้เวลาหรือเปล่า?
  • 3:13 - 3:18
    เวลาที่อูเชียน โบลท์ ใช้วิ่ง
  • 3:18 - 3:21
    100 เมตรเป็นเท่าใด ผมจะ
    ให้เวลาคุณคิดอีก.
  • 3:23 - 3:27
    โชคดี ที่มีการจับเวลาทั้งหมด
  • 3:27 - 3:29
    และเขายังแสดงว่ามันเป็น
    สถิติโลก.
  • 3:29 - 3:31
    แต่อันนี้ตรงนี้คือวินาที และ
  • 3:31 - 3:33
    เวลาที่อูเชียน โบลท์ ใช้วิ่ง
    100 เมตร.
  • 3:33 - 3:41
    มันคือ 9.58, 9.58 วินาที
    ผมเขียน s แทนวินาที.
  • 3:41 - 3:44
    จากข้อมูลรงนี้ สิ่งที่คุณพยายามทำ
  • 3:44 - 3:49
    คืออัตราในรูปเมตรต่อวินาที.
  • 3:49 - 3:52
    ผมอยากให้คุณคิดว่า คุณจะหา
    อัตราในรูปเมตรต่อวินาทีได้ไหม.
  • 3:52 - 3:55
    เรารู้ระยะทาง และเรารู้เวลา.
  • 3:57 - 4:01
    งั้น ลองแทนค่าเหล่านี้
    ลงในสมการนี่ตรงนี้.
  • 4:01 - 4:03
    เรารู้ระยะทางเท่ากับ 100 เมตร.
  • 4:04 - 4:06
    ระยะทางเป็น 100 เมตร.
  • 4:06 - 4:11
    และนี่เท่ากับ เราไม่รู้อัตรา
    ผมจึงเขียนอัตรานี่ตรงนี้ไว้.
  • 4:11 - 4:14
    ผมมัน ผมจะใช้สีเดียวกันนะ.
  • 4:14 - 4:18
    มัเนท่ากับอัตรา, อัตราคูณ,
    เวลาเป็นเท่าใด?
  • 4:18 - 4:19
    เรารู้เวลา.
  • 4:19 - 4:21
    มันคือ 9.58 วินาที.
  • 4:21 - 4:25
    9.58, 9.58 วินาที.
  • 4:25 - 4:28
    และเราสนใจอัตรา.
  • 4:28 - 4:30
    เราสนใจแก้หาอัตรา.
  • 4:30 - 4:32
    เราทำได้อย่างไร?
  • 4:32 - 4:34
    ถ้าคุณดูด้านขวามือ
  • 4:34 - 4:38
    ของสมการ, ผมมี 9.58 คูณอัตรา.
  • 4:38 - 4:42
    ถ้าผมหารทั้งสองข้างด้วย 9.58 วินาที
  • 4:42 - 4:45
    ผมจะได้อัตราทางขวามือ และ
    นั่นคือสิ่งที่ผมอยากหา.
  • 4:45 - 4:47
    คุณก็บอกว่า ทำไมไม่ลอง
  • 4:47 - 4:51
    หารทั้งสองข้างด้วย 9.58 วินาที,
    9.58 วินาทีล่ะ?
  • 4:51 - 4:57
    เพราะถ้าผมทำอย่างนั้น หน่วยตัดไป
    ถ้าเราวิเคราะห์มิติ
  • 4:57 - 5:00
    ไม่ต้องคิดมากถ้าคุณยังไม่เข้าใจคำนี้.
  • 5:00 - 5:03
    แต่หน่วยตัดไป และ 9.58 ตัดไป.
  • 5:03 - 5:08
    แต่ผมหารสมการข้างเดียวไม่ได้.
  • 5:08 - 5:11
    ตอนเริ่มต้น อันนี้เท่ากับอันนี้ตรงนี้.
  • 5:11 - 5:15
    ถ้าผมหารมัน ถ้าผมหาร
    ทางขวาด้วย 9.58, เื่พอให้
  • 5:15 - 5:20
    สมการยังเป็นจริง ผมต้อง
    หารทางซ้ายด้วยปริมาณเดิม.
  • 5:20 - 5:22
    ตอนนี้ ผมหารทางขวาเฉยๆ ไม่ได้
    ผมต้องหาร
  • 5:22 - 5:26
    ทางซ้ายด้วย เพื่อให้สมการยังเป็นจริง.
  • 5:26 - 5:27
    ถ้าผมบอกว่า สิ่งหนึ่งเท่ากับอีก
  • 5:27 - 5:30
    สิ่งหนึ่ง และผมหารตัวหนึ่งด้วยอะไรสักอย่าง
  • 5:30 - 5:31
    เพื่อให้เท่ากันเหมือนเดิม
  • 5:31 - 5:33
    ผมต้องหารอันแรกด้วยปริมาณเดียวกัน.
  • 5:33 - 5:36
    ผมจึงหารด้วย 9.58 วินาที.
  • 5:36 - 5:39
    ดังนั้นทางขวามือ นี่คือประเด็นที่เราทำ.
  • 5:39 - 5:42
    สองตัวนี้ตัดกัน แล้วทางซ้ายมือ
  • 5:42 - 5:45
    ผมจะเหลือ 100 หารด้วย 9.58.
  • 5:45 - 5:48
    หน่วยผมกลายเป็น เมตรต่อวินาที
  • 5:48 - 5:52
    เป็นหน่วยที่ผมอยากได้เป็นอัตรา
    หรืออัตราเร็วพอดี.
  • 5:52 - 5:57
    ลองเอาเครื่องคิดเลขออกมา
    หาร 100 ด้วย 9.58.
  • 5:57 - 6:01
    ผมได้ 100 เมตร, หาร
  • 6:03 - 6:07
    ด้วย 9.58 วินาที, ได้ 10 จุด ลองดู.
  • 6:07 - 6:10
    เราได้เลขนัยสำคัญสามตัวตรงนี้.
  • 6:10 - 6:12
    บอกว่า 10.4 แล้วกัน.
  • 6:12 - 6:16
    นี่จึงให้ค่า 10.4 และผมจะเขียน
    ด้วยสีแดง.
  • 6:16 - 6:23
    10, 10.4 และหน่วยคือเมตรต่อวินาที เมตร,
  • 6:23 - 6:30
    เมตรต่อวินาทีเท่ากับ, เท่ากับ
    อัตราของผม.
  • 6:30 - 6:32
    ทีนี้ คำถามต่อไป เราได้
    เมตรต่อวินาทีมา
  • 6:32 - 6:36
    แต่โชคร้าย เมตรต่อวินาทีนี่
    คุณก็รู้ มันไม่ได้แสดง
  • 6:36 - 6:39
    เวลาเราขับรถ เราไม่เห็นมาตรความเร็ว
  • 6:39 - 6:43
    เป็นเมตรต่อวินาที เรามักเห็นกิโลเมตร
    ต่อชั่วโมง หรือไมล์ต่อชั่วโมง.
  • 6:43 - 6:48
    ภารกิจต่อไป ที่ผมให้คุณ คือแสดง
    อัตราเร็ว หรืออัตรานี้.
  • 6:48 - 6:51
    นี่คืออัตราเร็วเฉลี่ยของเขา หรือ
    อัตราเฉลี่ยของเขาตลอด 100 เมตร.
  • 6:51 - 6:57
    แต่ถ้าคิดในรูปกิโลเมตรต่อ,
    กิโลเมตรต่อชั่วโมมง.
  • 6:57 - 7:01
    พยายามหาดู ว่าคุณเขียน
    เป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมงได้ไหม.
  • 7:04 - 7:06
    ลองทำไปทีละขั้นกัน.
  • 7:06 - 7:10
    ผมจะเขียน ขอผมลงมาข้างล่าง เริ่มใหม่.
  • 7:10 - 7:15
    ผมก็แค่ ผมเริ่มที่ 10.4 และ
    ผมเขียนเมตรด้วยสีฟ้า, เมตร
  • 7:15 - 7:21
    สีฟ้า และวินาที, วินาทีเป็นสีม่วง.
  • 7:21 - 7:24
    ทีนี้ เราอยากได้กิโลเมตรต่อชั่วโมง
    เรารู้เมตรต่อวินาที.
  • 7:24 - 7:26
    ลองทำขั้นง่ายก่อน.
  • 7:26 - 7:30
    ลองคิดในรูปของกิโลเมตร
    ต่อวินาทีกัน.
  • 7:30 - 7:33
    ผมให้เวลาคุณคิดเดี๋ยวว่า
  • 7:33 - 7:36
    เราต้องทำอะไร เพื่อแปลงอันนี้เป็น
    กิโลเมตรต่อวินาที.
  • 7:38 - 7:40
    สัญชาตญาณตรงนี้ ถ้าไป 10.4 เมตร
  • 7:40 - 7:45
    ต่อวินาที 10.4 เมตรเป็นกี่กิโลเมตร?
  • 7:45 - 7:50
    ทีนี้ กิโลเมตรเป็นหน่วยที่โตมาก
    มันมากเป็น 1,000 เท่า.
  • 7:50 - 7:54
    10.4 เมตรจะเท่ากับกิโลเมตรจำนวนน้อยมาก.
  • 7:54 - 7:57
    กล่าวให้ชัด คือผมจะหารด้วย 1,000.
  • 7:57 - 7:59
    วิธีคิดอีกอย่างคอว่า ถ้าคุณอยากเน้น
  • 7:59 - 8:03
    หน่วย, เราก็ต้องจำกัดเมตรนี้
    และเราอยากได้กิโลเมตร.
  • 8:03 - 8:08
    เราอยากได้กิโลเมตร และเราอยาก
    กำจัดเมตร.
  • 8:08 - 8:09
    แล้ว ถ้า ถ้าเรามีเมตรเป็นตัวเศษ
  • 8:09 - 8:13
    เราอยากหารด้วยเมตรตรงนี้
    เมตรก็ตัดกัน.
  • 8:13 - 8:14
    แต่วิธีตามสัญชาตญาณคือว่า
  • 8:14 - 8:17
    เราไปจากหน่วยเล็ก คือเมตร
    ยังหน่วยใหญ่ คือกิโลเมตร.
  • 8:17 - 8:22
    ดังนั้น 10.4 เมตรจะเท่ากับกิโลเมตร
    เลขน้อยกว่ามาก.
  • 8:22 - 8:26
    แต่ถ้าเราดูแบบนี้ จะมีกี่เมตร
    ในหนึ่งกิโลเมตร?
  • 8:26 - 8:29
    หนึ่งกิโลเมตรเท่ากับ 1,000 เมตร.
  • 8:29 - 8:32
    อันนี้ตรงนี้, 1 กิโลเมตรต่อ
    1,000 เมตร.
  • 8:32 - 8:36
    นี่คือส่วน 1 ส่วน 1, เราไม่ได้
    เปลี่ยนค่าอะไร.
  • 8:36 - 8:38
    เราแค่คูณมันด้วย 1.
  • 8:38 - 8:41
    แต่เมื่อเราทำอย่างนั้น เมื่อทำอย่างนั้น
    เราจะได้อะไร?
  • 8:41 - 8:44
    เมตรตัดกันไป เราเหลือกิโลเมตร
  • 8:44 - 8:48
    กันวินาที. แล้วเลขที่ได้คือ 10.4
    หารด้วย 1,000.
  • 8:48 - 8:53
    10.4 หารด้วย 1,000 จะได้
    ถ้าคุณหารด้วย 10,
  • 8:53 - 8:59
    คุณจะได้ 1.04, ถ้าหารด้วย 100,
    คุณจะได้ 0.104.
  • 8:59 - 9:07
    คุณหารด้วย 1000, คุณจะได้ 0.0104,
    นั่นก็แค่ 10.4 หารด้วย 1000.
  • 9:07 - 9:13
    แล้วหน่วยของเราคือกิโลเมตร,
    กิโลเมตรต่อวินาที.
  • 9:13 - 9:19
    นั่นคือกิโลเมตร แล้วผมมี
    วินาทีตรงนี้.
  • 9:19 - 9:21
    ขอผมเขียนเครื่องหมายเท่ากับนะ.
  • 9:21 - 9:25
    ทีนี้ ลองแปลงค่านี้เป็น
    กิโลเมตรต่อชั่วโมงกัน.
  • 9:25 - 9:28
    ผมให้เวลาคุณคิดหน่อย.
  • 9:30 - 9:35
    ชั่วโมง มี 3,600 วินาทีใน
    หนึ่งชั่วโมง ดังนั้นไม่ว่ามกี่กิโลเมตร
  • 9:35 - 9:39
    ในหนึ่งวินาที, ผมจะคูณด้วย 3,600
    ในหนึ่งชั่วโมง.
  • 9:39 - 9:42
    และหน่วยออกมาถูกต้อง.
  • 9:42 - 9:43
    ถ้าผม, ผมทำ ตอนนี้.
  • 9:43 - 9:47
    ถ้าผมมีเท่านี้ในหนึ่งวินาที
    มันจะคูณด้วย 3,600.
  • 9:47 - 9:50
    มี 3,600 วินาทีในชั่วโมง.
  • 9:50 - 9:52
    3,600 วินาทีในหนึ่งชั่วโมง.
  • 9:53 - 9:55
    และวิธีคิดอีกอย่างคือ
  • 9:55 - 9:58
    เราอยากได้ชั่วโมงเป็นตัวส่วน
    เรามีวินาที.
  • 9:58 - 10:00
    ถ้าเราคูณด้วยวินาทีต่อชั่วโมง.
  • 10:00 - 10:02
    มี 3,600 วินาทีต่อชั่วโมง.
  • 10:02 - 10:04
    วินาทีจะตัดกัน และเรา
  • 10:04 - 10:06
    จะเหลือชั่วโมงตรงตัวส่วน.
  • 10:06 - 10:10
    วินาทีตัดกัน แล้วเราจะเหลือกิโลเมตร
  • 10:10 - 10:13
    ต่อชั่วโมง แต่ตอนนี้เราต้องคูณ
    จำนวนนี้ด้วย 3,600.
  • 10:13 - 10:15
    ผมจะเอาเครื่องคิดเลขออกมานะ.
  • 10:15 - 10:17
    ผมจะเอาเครื่องคิดเลขออกมา.
  • 10:17 - 10:21
    แล้วเรามี, เรามี 0.0104, 0.0104 คูณ
    3,600, 3,600 ได้ 37.
  • 10:21 - 10:27
    ผมจะได้ 37.4 นี่จึงเท่ากับ
  • 10:27 - 10:34
    37.4, 37.4.
  • 10:34 - 10:39
    กิโลเมตร.
  • 10:40 - 10:45
    กิโลเมตร, กิโลเมตรต่อชั่วโมง.
  • 10:45 - 10:48
    กิโลเมตรต่อชั่วโมง.
  • 10:48 - 10:52
    นั่นจึงเป็นอัตราเร็วเฉลี่ยของเขา
    ในหน่วยกิโลเมตรต่อชั่วโมง.
  • 10:52 - 10:55
    แล้ว สิ่งสุดท้ายที่ผมอยากทำ
    ให้คุณ สำหรับคนที่อยู่ในอเมริกา.
  • 10:55 - 10:59
    เราจะแปลงเป็นหน่วยสหราชอาณาจักร
    หรือบางครั้งเรียกว่าหน่วยอังกฤษ.
  • 10:59 - 11:00
    ซึ่งมันผิดเพี้ยน.
  • 11:00 - 11:03
    เพราะมันไม่ได้ใช้ในอังกฤษ แต่มัก
    ใช้ในอเมริกา.
  • 11:03 - 11:07
    ลองแปลงค่านี้เป็นไมล์ต่อชั่วโมง
    และอย่างหนึ่งที่ผมอยากบอก
  • 11:07 - 11:11
    เผื่อคุณไม่รู้คือว่า 1.61 กิโลเมตร
  • 11:11 - 11:15
    เท่ากับ 1 เท่ากับ 1 ไมล์.
  • 11:15 - 11:19
    ผมจะให้เวลาคุณแปลงนี่
    เป็นไมล์ต่อชั่วโมงนะ.
  • 11:19 - 11:21
    [เสียงเงียบ]
  • 11:21 - 11:23
    คุณคงเห็นจากอันน้ ไมล์
  • 11:23 - 11:27
    มากกว่านิดหน่อย หรือมากกว่า
    กิโลมตรมากทีเดียว.
  • 11:27 - 11:31
    ถ้าคุณไปได้ 37.4 กิโลเมตร
    ในหนึ่งหน่วยเวลา
  • 11:31 - 11:34
    คุณจะได้จำนวนไมล์เลขน้อยหน่อย
    ในหนึ่งหน่วยเวลาเดียวกัน.
  • 11:34 - 11:37
    บอกให้ชัด คือคุณจะหารด้วย 1.61.
  • 11:37 - 11:38
    ขอผมเขียนใหม่นะ.
  • 11:38 - 11:45
    ถ้าผมมี 37.4 กิโลเมตรต่อชั่วโมง,
    กิโลเมตร
  • 11:45 - 11:48
    ต่อชั่วโมง, เราได้หน่วยที่ใหญ่ขึ้น.
  • 11:48 - 11:49
    เราจะใช้หน่วยไมล์.
  • 11:49 - 11:52
    เราจึงหารด้วยจำนวนที่มากกว่าหนึ่ง.
  • 11:52 - 11:56
    เราจึงมีหนึ่ง, เรามีหนึ่ง, ขอผม
    เขียนด้วยสีฟ้านะ.
  • 11:56 - 12:05
    หนึ่งไมล์, หนึ่งไมล์เท่ากับ 1.61 กิโลเมตร.
  • 12:05 - 12:08
    หรือคุณบอกว่า มี 1, 1.61 ไมล์
    ต่อกิโลเมตร.
  • 12:08 - 12:10
    แล้วเหมือนเดิม หน่วยออกมาถูกต้อง.
  • 12:10 - 12:13
    เราอยากกำจัดกิโลเมตรในตัวเศษ เรา
  • 12:13 - 12:15
    จึงให้มันเป็นตัวส่วน และเราอยากได้
    ไมล์เป็นตัวเศษ.
  • 12:15 - 12:18
    นั่นคือสาเหตุที่เรามีไมล์
    เป็นตัวเศษตรงนี้.
  • 12:18 - 12:21
    ลองคูณอีกที หรือในกรณีนี้
  • 12:21 - 12:25
    เราหารด้วย 1.61 แล้วเราจะได้
  • 12:25 - 12:30
    ลองหารค่าก่อนหน้านี้ด้วย 1.61, 1.61,
  • 12:30 - 12:34
    แล้วเราได้ 23, ผมจะปัดขึ้น 23.3.
  • 12:34 - 12:39
    นี่เท่ากับ 23.3, 23.
  • 12:39 - 12:49
    23.3 แล้วเราได้ไมล์ ไมล์ ไมล์ต่อชั่วโมง.
  • 12:49 - 12:55
    20 ไมล์ต่อชั่วโมง ซึ่งแน่นอน
    ว่าเร็วที่สุด เขาคือมนุษย์ที่
  • 12:55 - 12:58
    เร็วที่สุด. แต่อาจไม่เร็วเกินที่
    คุณจะจินตนาการไหว.
  • 12:58 - 13:01
    คุณก็รู้ รถ 23.3 ไมล์ต่อชั่วโมง
    ไม่ได้เร็ซนัก
  • 13:01 - 13:03
    เมื่อเทียบกับ
  • 13:03 - 13:06
    โลกของสัตว์ ไม่ได้เร็วขนาดนั้น.
  • 13:06 - 13:09
    ที่จริงแล้วช้ากว่าช้างที่วิ่งพุ่ง.
  • 13:09 - 13:13
    ช้างที่วิ่งพุ่งเร็วได้ถึง
    25 ไมล์ต่อชั่วโมง.
Title:
อัตราเร็วเฉลี่ยของอูเชียน โบลท์
Description:

การหาว่าอัตราเร็วของอูเชียน โบลท์ในระยะ 100 m เป็นเท่าใด ตอนที่เขาทำลายสถิติโลกเมื่อปี 2009

more » « less
Video Language:
English
Duration:
13:15
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Usain Bolt's Average Speed

Thai subtitles

Revisions