< Return to Video

The Internet: IP addresses and DNS

  • 0:01 - 0:04
    (เพลงประกอบ)
  • 0:10 - 0:12
    สวัสดีค่ะ ฉันชื่อ Paola
  • 0:12 - 0:15
    ฉันเป็นวิศวกรซอฟแวร์ที่ Microsoft
  • 0:15 - 0:17
    เรามาคุยกันว่าอินเทอร์เน็ตทำงานอย่างไง
  • 0:17 - 0:20
    งานของฉันพึ่งพาเครือข่ายที่สามารถ
  • 0:20 - 0:22
    ใช้เพื่อติดต่อกับเครือข่ายอื่นได้
  • 0:22 - 0:25
    แต่สมัย 1970 ยังไม่มี
  • 0:25 - 0:27
    มาตรฐานสำหรับสิ่งนี้
  • 0:27 - 0:30
    ตกเป็นงานของ Vint Cerf และ Bob Kahn
  • 0:30 - 0:32
    ที่ประดิษฐ์ โปรโตคอลสำหรับอินเทอร์เน็ต
  • 0:32 - 0:34
    ที่ทำให้การสื่อสารเป็นไปได้
  • 0:35 - 0:37
    สิ่งประดิษฐ์ใต้ดิน
  • 0:37 - 0:39
    ที่เราเรียกกันว่าอินเทอร์เน็ต
  • 0:40 - 0:42
    อินเทอร์เน็ตคือ เครือข่ายของหลายเครือข่าย
  • 0:42 - 0:46
    มันเชื่อมต่อกับอุปกรณ์กว่า
    พันล้านชิ้นทั่วโลกเข้าด้วยกัน
  • 0:47 - 0:49
    เช่น เมื่อคุณเชื่อมแล็ปท็อป
  • 0:49 - 0:51
    หรือโทรศัพท์เข้ากับ wifi
  • 0:51 - 0:53
    ในขณะนั้น สัญญาณ wifi
  • 0:53 - 0:56
    กำลังเชื่อมต่อกับ
    ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ ISP
  • 0:56 - 0:58
    และ ISP เชื่อมคุณกับ
    อุปกรณ์กว่าพันล้านเครื่อง
  • 0:58 - 1:00
    ทั่วทั้งโลก
  • 1:00 - 1:02
    ผ่านเครื่อข่ายเป็นแสนๆ
  • 1:02 - 1:04
    ที่เชื่อมเข้ากับอินเทอร์เน็ต
  • 1:05 - 1:09
    หนึ่งสิ่งที่หลายคนไม่พอใจ
  • 1:09 - 1:12
    ที่อินเทอร์เน็ตดปรียบเสมือนกับปรัชญา
  • 1:12 - 1:16
    และการออกแบบที่แสดงออกผ่านโปรโตคอล
  • 1:17 - 1:20
    โปรโตคอล รู้จักในฐานะกฎและมาตรฐาน
  • 1:20 - 1:21
    ที่ถ้าทุกคนเห็นด้วยและใช้มัน
  • 1:21 - 1:24
    จะทำให้สื่อสารกันได้อย่างไม่ติดขัด
  • 1:25 - 1:29
    วิธีที่อินเทอร์เน็ตมันเชื่อมต่อกันไม่สำคัญเท่า
  • 1:29 - 1:32
    ความจริงที่ว่าการออกแบบปรัชญานี้ทำให้
  • 1:32 - 1:34
    อินเทอร์เน็ตปรับตัวและซึมซับ
  • 1:34 - 1:36
    เทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ๆ
  • 1:36 - 1:38
    เพราะการที่จะทำให้
    เทคโนโลยีใหม่ๆ
  • 1:38 - 1:41
    สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้
  • 1:41 - 1:43
    เพียงต้องทราบว่าโปรโตคอลไหนควรถูกใช้งาน
  • 1:45 - 1:47
    อุปกรณ์ต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
  • 1:47 - 1:48
    มีที่อยู่ที่ต่างกัน
  • 1:48 - 1:51
    และที่อยู่เป็นเพียงตัวเลข
  • 1:51 - 1:54
    คล้ายกับเบอร์โทรศัพท์หรือที่อยู่บ้าน
  • 1:54 - 1:56
    ซึ่งแตกต่างกันในคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
  • 1:56 - 1:58
    ในมุมมองของเครือข่าย
  • 1:59 - 2:02
    มันคล้ายกับที่บ้าน และบริษัท
    ทุกที่ล้วนมี
  • 2:02 - 2:03
    ที่อยู่ไปรษณีย์
  • 2:03 - 2:04
    คุณไม่จำเป็นต้องรู้จักคน
  • 2:04 - 2:06
    เพื่อที่จะส่งจดหมายให้เขา
  • 2:06 - 2:08
    แต่คุณต้องการรู้ที่อยู่ของเขา
  • 2:08 - 2:10
    และการเขียนที่อยู่อย่างถูกต้อง
  • 2:10 - 2:12
    เพื่อให้จดหมายที่รับไว้โดยไปรษณีย์
  • 2:12 - 2:14
    ส่งไปถึงที่หมาย
  • 2:14 - 2:16
    ระบบที่อยู่บนคอมพิวเตอร์
  • 2:16 - 2:18
    บนอินเทอร์เน็ตก็คล้ายกัน
  • 2:18 - 2:21
    และส่วนที่สำคัญที่สุด
  • 2:21 - 2:23
    คือโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสาร
  • 2:23 - 2:26
    เรียกง่ายๆ ว่า อินเทอร์เน็ต โปรโตคอล หรือ IP
  • 2:27 - 2:30
    ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์ จึงเรียกว่า IP
  • 2:31 - 2:33
    การไปเข้าเว็บไซต์จึงเหมือนกับ
    คอมพิวเตอร์ของคุณถาม
  • 2:33 - 2:35
    คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นสำหรับข้อมูล
  • 2:35 - 2:38
    คอมพิวเตอร์ของคุณส่งข้อความ
    ไปหา
  • 2:38 - 2:41
    IP address ของเครื่องอื่น
    พร้อมกับ IP ของมัน
  • 2:41 - 2:44
    เพื่อให้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น
    รู้ว่าจะส่งกลับมาที่ไหน
  • 2:46 - 2:48
    คุณอาจเคยเห็น IP address
  • 2:48 - 2:50
    มันเป็นแค่ตัวเลข
  • 2:50 - 2:53
    ตัวเลขเหล่านี้ถูกจัดเรียงโดยมีลำดับ
  • 2:53 - 2:56
    เหมือนที่อยู่บ้าน มีประเทศ
  • 2:56 - 2:59
    เมือง ถนน และเลขที่บ้าน
  • 2:59 - 3:01
    IP address มีหลายส่วน
  • 3:01 - 3:03
    เหมือนกับข้อมูลดิจิตอลอื่นๆ
  • 3:03 - 3:06
    เลขแต่ละตัวแสดงในรูปบิต
  • 3:07 - 3:10
    ปกติแล้วมันจะมีความยาว 32 บิต
  • 3:10 - 3:14
    8 บิตต่อแต่ละส่วนของที่อยู่
  • 3:14 - 3:16
    ตัวแรกสุดใช้ระบุ
  • 3:16 - 3:19
    ประเทศและภูมิภาคของอุปกรณ์
  • 3:19 - 3:21
    และ subnetworks
  • 3:21 - 3:24
    ต่อมาคือที่อยู่ของแต่ละอุปกรณ์
  • 3:24 - 3:28
    ปัจจุบันเราใช้เวอร์ชันที่เรียกว่า IPv4
  • 3:28 - 3:31
    ออกแบบในปี 1973
  • 3:31 - 3:33
    และใช้กันแพร่หลายช่วงต้นยุค 80
  • 3:33 - 3:37
    มันสามารถสร้างที่อยู่
    ได้ถึง 4 พันล้านที่อยู่
  • 3:37 - 3:40
    สำหรับอุปกรณ์ที่เชื่อต่ออินเทอร์เน็ต
  • 3:40 - 3:43
    แต่อินเทอร์เน็ตมันแพร่หลาย
  • 3:43 - 3:45
    มากกว่าที่ Vint Cerf คิดไว้
  • 3:45 - 3:49
    และ 4 พันล้านมันไม่พอ
  • 3:49 - 3:51
    เราอยู่ช่วงระหว่างการเปลี่ยนยุค
  • 3:51 - 3:56
    ใช้รหัสที่ยาวกว่า เรียกว่า IPv6
  • 3:56 - 4:00
    ซึ่งมี 128 บิตต่อที่อยู่
  • 4:00 - 4:05
    มันสร้างที่อยู่ได้มากกว่า 340
    คูณ 10 ยกกำลัง 66 ที่อยู่
  • 4:05 - 4:08
    ซึ่งมากกว่าเม็ดทรายทุกเม็ดบนโลกเสียอีก
  • 4:08 - 4:10
    เพื่อที่จะให้มี IP address เพียงพอ
  • 4:11 - 4:15
    แต่คนส่วนใหญ่ไม่สนใจ
    เกี่ยวกับ IP address
  • 4:15 - 4:18
    ระบบที่เรียกว่า Domain Name System
    หรือ DNS
  • 4:18 - 4:22
    เชื่อมกับชื่ออย่าง www.example.com
  • 4:22 - 4:24
    เข้ากับที่อยู่
  • 4:24 - 4:27
    คอมพิวเตอร์ใช้ DNS เพื่อค้นหาโดเมน
  • 4:27 - 4:30
    และนำ IP ที่อยู่กับโดเมนนั้นเพื่อ
  • 4:30 - 4:33
    เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของคุณ
    ไปในที่ที่คุณต้องการ
  • 4:33 - 4:35
    และมันเป็นอะไรที่คล้ายๆกันกับตัวอย่างนี้
  • 4:35 - 4:36
    เฮ้! หวัดดี
  • 4:36 - 4:39
    ฉันอยากไป www.code.org
  • 4:41 - 4:45
    ได้สิ แต่ฉันไม่รู้ IP ของโดเมนนั้นน่ะ
  • 4:45 - 4:47
    เดี๋ยวถามคนอื่นให้
  • 4:47 - 4:50
    เฮ้ มีใครรู้จัก IP
  • 4:50 - 4:52
    code.org มั้ย
  • 4:53 - 4:54
    อ้า! ใช่ละ
  • 4:54 - 4:57
    มันคือ 174 จุด 129
  • 4:57 - 5:00
    จุด 14 จุด 120
  • 5:01 - 5:02
    โอ้ว! เยี่ยม ขอบคุณมาก
  • 5:02 - 5:04
    ไม่เป็นไรๆ ฉันจะจดเอาไว้
  • 5:04 - 5:05
    เผื่อฉันต้องการอีก
  • 5:05 - 5:07
    เฮ้ นี่ที่อยู่ที่นายต้องการ
  • 5:07 - 5:09
    เจ๋ง ขอบคุณ
  • 5:11 - 5:14
    (เสียงเปียโน)
  • 5:14 - 5:17
    เราจะออกแบบระบบสำหรับ
    พันล้านอุปกรณ์อย่างไร
  • 5:17 - 5:21
    เพื่อหาพันล้านเว็บไซต์
  • 5:21 - 5:24
    ไม่มีทางที่ DNS แค่ 1 เซิฟเวอร์
  • 5:24 - 5:27
    จะสามารถรับมือคำขอของ
    อุปกรณ์ทั้งหมดได้
  • 5:28 - 5:31
    คำตอบคือ DNS เซิฟเวอร์ ทุกแห่ง
    เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
  • 5:31 - 5:34
    เป็นลำดับชั้นและมีการแบ่งออกเป็นโซน
  • 5:34 - 5:37
    แบ่งออกเป็นแต่ละประเภท
  • 5:37 - 5:41
    เช่น .org .com .net และอื่นๆ
  • 5:42 - 5:44
    DNS ถูกออกแบบให้เป็น
  • 5:44 - 5:47
    ระบบเปิดสำหรับโปรโตคอลสื่อสาร
  • 5:47 - 5:50
    สำหรับรัฐบาล และการศึกษา
  • 5:50 - 5:52
    และเพราะว่ามันเป็นระบบเปิด
  • 5:52 - 5:55
    มันจึงโดน cyber attacks บ้าง
  • 5:55 - 5:58
    ตัวอย่างคือ DNS spoofing
  • 5:58 - 6:02
    เมื่อแฮกเกอร์เข้ามาใน DNS เซิฟเวอร์
  • 6:02 - 6:04
    และเปลี่ยนโดเมนเนม
  • 6:04 - 6:07
    เข้ากับ IP อื่นๆที่ผิด
  • 6:07 - 6:12
    นี้จะช่วยให้ผู้โจมตีส่งคุณไปยังเว็บไซต์หลอกลวง
  • 6:12 - 6:13
    และถ้ามันเกิดขึ้นกับคุณ
  • 6:13 - 6:16
    คุณจะมีปัญหามากมายตามมา
  • 6:16 - 6:20
    เพราะคุณใช้เว็บไซต์ปลอมโดยคิดว่ามันเป็นเว็บจริง
  • 6:21 - 6:26
    อินเทอร์เน็ตใหญ่ และเติบโตขึ้นทุกวัน
  • 6:26 - 6:29
    แต่ระบบ Domain Name และอินเทอร์เน็ตโปรโตคอล
  • 6:29 - 6:30
    ถูกออกแบบให้ขยายขึ้น
  • 6:30 - 6:33
    มากเท่าที่อินเทอร์เน็ตเติบโตขึ้น
Title:
The Internet: IP addresses and DNS
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
06:45

Thai subtitles

Revisions