-
ในวิดีโอนี้เราจะคิดสักหน่อยเกี่ยวกับ
-
เส้นขนาน, และอีกเส้นตัดกับเส้นขนาน
-
และเราเรียกพวกมันว่าเส้นตัดขวาง
-
อย่างแรกลองคิดว่าเส้นขนานหรือ
-
เส้นขนานคู่คืออะไร
-
นิยามหนึ่งที่เราใช้, และผมว่ามันใช้ได้ดี
-
ในวิดีโอนี้, คือว่ามันคือเส้นตรงสองเส้นที่
-
อยู่บนระนาบเดียวกัน
-
แล้วเวลาผมพูดถึงระนาบ, ผมพูดถึง, คุณ
-
จินตนาการผิวสองมิติเรียบ, อย่างเช่นหน้าจอนี้ --
-
หน้าจอนี้คือระนาบ
-
เส้นตรงสองเส้นนั่งอยู่บนระนาบที่ไม่เคยตัดกัน
-
แล้วเส้นตรงนี้ -- ผมจะวาดให้ดีที่สุด -- และจินตนาการ
-
ว่าเส้นตรงนี้จะยาวไปในทิศนั้น
-
และทิศนั้นไป -- ขอผมใช้อีกสีนะ --
-
และเส้นนี่ตรงนี้จะขนานกัน
-
พวกมันจะไม่ตัดกัน
-
ถ้าคุณสมมุติว่าผมวาดมันตรงพอ และนั่น
-
พวกมันจะมีทิศเดียวกันเป๊ะ, พวกมัน
-
ไม่เคยตัดกัน
-
แล้วถ้าคุณคิดว่าเส้นตรงแบบไหนที่
-
ไม่ขนานกัน, เส้นตรงสีเขียวกับเส้นตรงสีชมพูนี่
-
ไม่ขนานกัน
-
พวกมันตัดกันชัดเจน ณ จุดหนึ่ง
-
สองตัวนี้ จะขนานกันตรงนี้, และบางครั้ง
-
คนระบุ, บางครั้งคนจะวาดลูกศรไปในทิศ
-
เดียวกันเพื่อแสดงว่าเส้นตรงสองเส้น
-
ขนานกัน
-
ถ้ามีเส้นขนานหลายเส้น, เขาอาจวาดลูกศรสองตัว
-
และลูกศรสองตัว อะไรก็ตาม
-
แต่คุณแค่ต้องบอกว่า, โอเค, เส้นตรงเหล่านี้จะ
-
ไม่มีทางตัดกัน
-
สิ่งที่เราอยากคิดคือว่า เกิดอะไรขึ้นเมื่อ
-
เส้นขนานเหล่านี้ ตัดกับเส้นตรงเส้นที่สาม
-
ขอผมวาดเส้นที่สามตรงนี้นะ
-
เส้นตรงที่สามแบบนี้
-
และเราเรียกมัน, ตรงนี้, เส้นตรงที่สาม ที่ตัด
-
กับเส้นขนาน เราเรียกมันว่า เส้นตัดขวาง
-
เพราะมันตัดขวางเส้นขนานสองเส้น
-
ทีนี้ เมื่อไหร่ก็ตามคุณมีเส้นตัดขวาง ตัดกับเส้น
-
ขนาน, คุณมีความสัมพันธ์ที่น่าสนใจระหว่าง
-
มุมที่เกิดขึ้น
-
ตอนนี้เจ้านี่ปรากฏในข้อสอบมาตรฐานมากมาย
-
มันเป็นปัญหาเรขาคณิตประเภทหลัก
-
มันเป็นสิ่งที่ดี ที่ต้องปล่อยหัวให้ว่างไว้
-
แล้วอย่างแรกที่ต้องสังเกตคือว่า ถ้าเส้นตรงเหล่านี้ขนานกัน,
-
เราจะสมมุติว่าเส้นตรงเหล่านี้ขนานกัน, แล้วเรา
-
มีมุมที่ตรงกัน จะเท่ากัน
-
เวลาผมพูดถึง มุมที่ตรงกัน ผมว่าคุณคง
-
คิดว่า มันมีมุม สี่มุมที่เกิดขึ้นเมื่อเส้นตรง
-
สีม่วงนี้ หรือเส้นสีบานเย็นนี่ จะตัดกับ
-
เส้นสีเหลื่องนี่
-
คุณมีมุมนี่ตรงนี้ ที่ผมระบุด้วยสีเขียว,
-
คุณมี -- ขอผมทำอีกอันด้วยสีส้มนะ -- คุณมี
-
มุมนี่ตรงนี้สีส้ม, คุณมีมุมนี่ตรงนี้
-
เป็นสีเขียวอีกระดับหนึ่ง, แล้วคุณมีมุมนี่
-
ตรงนี้ -- ตรงนี้ ผมใช้สี
-
ฟ้าๆ ม่วงๆ นั่น
-
พวกนั้นคือมุมสี่มุม
-
แล้วเมื่อเราพูดถึงมุมที่ตรงกัน, เรา
-
กำลังพูดถึง, ตัวอย่างเช่น, เจ้านี่บนนี้ มุมสีเขียว
-
บบนี้, มันตรงกับมุมบนขวานี่, สิ่งที่
-
ผมวาดมันด้วยสีเขียวสีเดียวกัน, ตรงนี้
-
มุมสองมุมนี้ตรงกัน
-
พวกนี้เป็นมุมที่ตรงกัน และพวกมัน
-
จะเท่ากัน
-
พวกนี้คือมุมที่เท่ากัน
-
ถ้านี่คือ -- ผมจะตั้งเลขขึ้นมา -- ถ้านี่คือ 70
-
องศา, แล้วมุมนี่ตรงนี้จะ
-
เท่ากับ 70 องศาด้วย
-
แลถ้าคุณคิดดู, หรือถ้าคุณเล่นกับ
-
ไม้จิ้มฟันหรืออะไรอย่างนั้น, และคุณเปลี่ยนทิศ
-
ของเส้นตัดขวางนี่, คุณจะเห็นว่ามัน
-
ดูเหมือนว่า พวกมันควรเท่ากัน
-
ถ้าผมหา -- ขอผมวาดเส้นขนานอีกสองเส้น
-
ขอผมแสดงตัวอย่างสุดขั้วสักตัวหนึ่ง
-
แล้วถ้าคุณมีเส้นขนานอีกสองตัวแบบนั้น, แล้วขอผม
-
เป็นเส้นตัดขวาง ที่ทำมุมเล็กกว่า -- มันมี
-
มุมเล็กกว่าตรงนี้ -- คุณเห็นว่ามุมนี่ตรงนี้
-
ดูเหมือนมุมนั้น
-
พวกมันคือมุมที่ตรงกัน, และพวกมันจะเท่ากัน
-
จากมุมมองนี่ มันเป็นมุมบนขวา และ
-
จุดตัดแต่ละตัวจะเหมือนกัน
-
แล้วมันก็เป็นจริงสำหรับมุมที่ตรงกันอื่นๆ
-
มุมนี่ตรงนี้ในตัวอย่างนี้, มันคือมุม
-
บนซ้าย จะเท่ากับมุมบนซ้ายนี่ตรงนี้
-
มุมล่างซ้ายนี้ จะเหมือนกับข้างล่างนี้
-
ถ้าเจ้านี่ตรงนี้ คือ 70 องศา, แล้วมุมนี่ข้างล่างนี้
-
จะเท่ากับ 70 องศาด้วย
-
แล้วสุดท้าย, แน่นอน, มุมนี้กับมุมนี้
-
จะเท่ากันด้วย
-
แล้วมุมที่ตรงกัน -- ขอผมเขียนพวกนี้ -- พวกนี้
-
คือมุมตรงกัน มันเท่ากัน
-
มุมที่ตรงกันจะเท่ากัน
-
และนั่นกับนั่นตรงกัน, นั่นกับ
-
นั่น, นั่นกับนั่น, และนั่นกับนั่น
-
ทีนี้, มุมที่เท่ากันชุดต่อไป บางครั้ง
-
เขาเรียกว่า vertical angles , บางครั้งเขาเรียกว่า
-
opposite angles
-
แต่ถ้าคุณเอามุมนี่ตรงนี้, มุมที่
-
อยู่ในแนวดิ่ง หรือตรงข้าม เมื่อคุณข้าม
-
จุดตัดไป คือมุมนี่ตรงนี้, และนั่น
-
จะเท่ากัน
-
เราบอกว่าตรงข้ามก็ได้ -- ผมชอบคำว่า opposite เพราะมัน
-
ไม่จำเป็นอยู่ในแนวดิ่ง, บางครั้งมันอยู่
-
ในแนวราบ, แต่บางครั้งเขาเรียก
-
มันว่ามุมในแนวดิ่ง (vertical angles)
-
มุมตรงข้ามจะเท่ากับด้วย
-
แล้วถ้านี่คือ 70 องศา, แล้วนี่คือ 70 องศาด้วย
-
แล้วถ้านี่คือ 70 องศา, แล้วนี่ตรงนี้
-
ก็คือ 70 องศาด้วย
-
มันน่าสนใจ, ถ้านั่นคือ 70 องศา และนั่นคือ
-
70 องศา, และถ้านี่คือ 70 องศา, และนั่นก็คือ 70
-
องศาด้วย, แล้วไม่ว่านี่คืออะไร, นี่จะเท่ากัน
-
ด้วยเพราะนี่เท่ากับอันนั้น, อันนั้น
-
เท่ากับอันนั้น
-
ทีนี้, อย่างที่สุดท้ายคุณต้องสังเกต, ผมว่าคือ
-
ความสัมพันธ์ระหว่างมุมสีส้มนี่ กับ
-
มุมสีเขียวนี่ตรงนี้
-
คุณเห็นได้ว่า เมื่อคุณบวกมุมเข้า, คุณจะได้
-
ครึ่งวงกลม, จริงไหม?
-
ถ้าคุณเริ่มตรงนี้ คุณใช้มุมสีเขียว,
-
แล้วคุณใช้มุมสีส้ม
-
คุณไปครึ่งวงกลม, แล้วนั่นจะให้คุณ
-
มันจะให้คุณ 180 องศา
-
แล้วมุมสีเขียวกับสีชมพูนี่ จะรวมกันได้ 180 องศา
-
หรือพวกมันประกอบกันสองมุมฉาก
-
แล้วเราได้ทำวิดีโออื่นเรื่องการประกอบแล้ว, คุณก็แค่
-
ต้องสังเกตว่าพวกมันต่อกันเป็นเส้นตรง หรือครึ่งวงกลม
-
แล้วถ้านี่ตรงนี้คือ 70 องศา, แล้วมุมสีส้มนี่
-
ตรงนี้คือ 110 องศา, เพราะพวกมันรวมกันได้ 180
-
ทีนี้, เจ้าตัวนี่ตรงนี้ คือ 110 องศา, เรา
-
รู้อะไรบ้างเกี่ยวกับค่านี่ตรงนี้?
-
ทีนี้, ค่านี้ ตรงข้ามหรืออยู่ในแนวดิ่ง
-
กับมุม 110 องศา, มันจึงเท่ากับ 110 องศาด้วย
-
เรารู้เนื่องจากมุมนี้ตรงกับข้ามมุมนี้,
-
มุมจะเป็น 110 องศาด้วย
-
หรือเราบอกได้ว่า ดูสิ, เพราะนี่คือ 70 และ
-
เจ้านี่ประกอบเป็นสองมุมฉาก, เจ้าพวกนี้ต้องรวมกัน
-
ได้ 180 คุณจึงได้แบบนั้น
-
แล้วคุณจะหาได้ว่า เนื่องจากนี่คือ 110, นี่
-
คือค่าที่ตรงกัน, มันจึงเป็น 110 ด้วย
-
หรือคุณบอกได้ว่า นี่ตรงข้ามกับ
-
อันนั้น พวกมันจึงเท่ากัน
-
หรือคุณบอกได้ว่า มุมนี้ประกอบกับ
-
มุมนั้น, ได้ 70 บวก 110 ต้องเท่ากับ 180
-
หรือคุณบอกได้ว่า 70 บวกมุมนี้เป็น 180
-
แล้วมันมีวิธีที่หา
-
มุมไหนเป็นมุมไหนได้หลายวิธี
-
ในวิดีโอหน้า ผมจะทำตัวอย่างหลายๆ อัน
-
เพื่อแสดงว่า ถ้าคุณรู้มุมหนึ่งแล้ว, คุณจะ
-
สามารถหามุมทั้งหมดได้