< Return to Video

Glycolysis

  • 0:00 - 0:03
    เรารู้แล้วว่าการหายใจระดับเซลล์สามารถ
  • 0:03 - 0:06
    แบ่งได้เป็น 3 ระยะ
  • 0:06 - 0:11
    แบ่งได้เป็น 3 ระยะ
  • 0:11 - 0:17
    กระบวนการแรกคือ ไกลโคไลซิส เป็นกระบวนการสลาย
  • 0:17 - 0:18
    กลูโคส
  • 0:18 - 0:24
    กลูโคส
  • 0:24 - 0:28
    และปฏิกิริยานี้สามารถเกิดขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องมีออกซิเจน
  • 0:28 - 0:32
    ถ้าไม่ใช้ออกซิเจนก็จะเข้าสู่กระบวนการหมัก
  • 0:32 - 0:35
    ผมจะอธิบายเรื่องนั้นอีกทีครับ
  • 0:35 - 0:37
    คร่าวๆ คือ กระบวนการหมักที่เกิดขึ้นในคน
  • 0:37 - 0:39
    จะสร้างกรดแลคติค
  • 0:39 - 0:41
    ส่วนในสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นอาจจะ
  • 0:41 - 0:43
    สร้างแอลกอฮอร์หรือเอทานอล
  • 0:43 - 0:46
    ถ้าในปฏิกริยาใช้ออกซิเจน ส่วนใหญ่ร่างกายเรา
  • 0:46 - 0:49
    ใช้ปฏิกริยานี้ ถ้ามี
  • 0:49 - 0:51
    ออกซิเจน ก็จะเข้าสู่
  • 0:51 - 0:54
    กระบวนการ Kreb's cycle
  • 0:54 - 0:59
    หรือบางครั้งเรียกว่า Citric acid cycle เพราะมันเกี่ยวกับ
  • 0:59 - 1:00
    กรดซิตริก
  • 1:00 - 1:03
    สารอย่างเดียวกับที่มีในส้ม มะนาว
  • 1:03 - 1:06
    จากนั้น เราจะไปที่กระบวนการ
  • 1:06 - 1:07
    กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
  • 1:07 - 1:10
    Electron transport chain
  • 1:10 - 1:13
    ตามที่เรียนมาจากวิดีโอม้วนแรกเรื่องการหายใจระดับเซลล์
  • 1:13 - 1:16
    ว่า ATP จำนวนมหาศาลสร้างจาก
  • 1:16 - 1:16
    กระบวนการนี้
  • 1:16 - 1:19
    โดยที่ส่วนประกอบของปฏิกิริยานี้จะมาจาก
  • 1:19 - 1:20
    ส่วนข้างบนนี้ (ไกลโคไลซิส)
  • 1:20 - 1:23
    ในวีดีโอนี้ครับ เราจะสนใจที่
  • 1:23 - 1:25
    ไกลโคไลซิส
  • 1:25 - 1:28
    ไกลโคไลซิส
  • 1:28 - 1:31
    มันเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก
  • 1:31 - 1:33
    เพราะคุณอาจจะสับสนได้
  • 1:33 - 1:35
    ผมจะแสดงส่วนยากให้ดูเล็กน้อย
  • 1:35 - 1:35
    กระบวนการที่แท้จริง
  • 1:35 - 1:37
    มันอาจจะน่าเบื่อเล็กน้อย
  • 1:37 - 1:39
    แต่ที่ผมทำคือทำให้มันง่ายที่สุด เท่าที่เป็นไปได้
  • 1:39 - 1:40
    เท่าที่เป็นไปได้
  • 1:40 - 1:43
    หลังจากนี้ เราจะชม
  • 1:43 - 1:46
    ส่วนยากของกระบวนการไกลโคไลซิส
  • 1:46 - 1:47
    เพื่อให้เรารู้ถึงที่มามากขึ้น
  • 1:47 - 1:49
    ซึ่ง ไกลโคไลซิส หรือ การหายใจระดับเซลล์นั้น
  • 1:49 - 1:50
    เริ่มต้นด้วยกลูโคส
  • 1:50 - 1:53
    เริ่มต้นด้วยกลูโคส
  • 1:53 - 1:55
    ซึ่งสูตรทางโมเลกุลของกลูโคสก็คือ
  • 1:55 - 2:00
    C6H12O6
  • 2:00 - 2:02
    หลังจากนั้นผมสามารถวาดโครงสร้างโมเลกุลให้ได้
  • 2:02 - 2:02
    มันอาจจะใช้เวลาเล็กน้อย
  • 2:02 - 2:04
    แต่ผมขอเขียนเป็นโซ่ตรงละกัน
  • 2:04 - 2:07
    ซึ่งที่จริงมันอาจจะเป็นรูปทรงวงแหวนก็ได้
  • 2:07 - 2:13
    แต่เพื่อให้ง่าย ผมจะวาดคาร์บอน 6 อันเป็นเส้นเดียว
  • 2:13 - 2:16
    ซึ่งไกลโคไลซิสมีสองขั้นตอน
  • 2:16 - 2:17
    ที่เราควรรู้
  • 2:17 - 2:19
    ขั้นตอนแรก เป็นขั้นตอนการลงทุน
  • 2:19 - 2:23
    ซึ่งขั้นตอนการลงทุนจะใช้ 2 ATP
  • 2:23 - 2:30
    ซึ่งขั้นตอนการลงทุนจะใช้ 2 ATP
  • 2:30 - 2:32
    ซึ่งเป้าหมายของการหายใจระดับเซลล์คือ
  • 2:32 - 2:36
    การสร้าง ATP แต่ในขั้นตอนแรก
  • 2:36 - 2:37
    เราต้องใช้ ATP 2 อัน
  • 2:37 - 2:41
    ผมจะใช้ ATP 2 อันเพื่อแตกกลูโคสเป็น
  • 2:41 - 2:51
    โมเลกุลที่มี 3 คาร์บอน 2 โมเลกุล
  • 2:51 - 2:54
    และพวกมันก็มีกลุ่มฟอสเฟตเกาะอยู่ด้วย
  • 2:54 - 2:57
    ซึ่งกลุ่มฟอสเฟตเหล่านี้มาจาก ATP
  • 2:57 - 2:59
    เมื่อพวกมันมีกลุ่มฟอสเฟตเกาะอยู่
  • 2:59 - 3:02
    เราจะเรียกมันว่า
  • 3:02 - 3:03
    PGAL
  • 3:03 - 3:04
    แต่คุณไม่จำเป็นต้องจำตรงนี้
  • 3:04 - 3:12
    ซึ่งชื่อเต็มคือ phosphoglyceraldehyde
  • 3:12 - 3:13
    ซึ่งคำนี้สะกดยากมาก
  • 3:13 - 3:14
    ส่วนนี้ไม่จำเป็นต้องรู้
  • 3:14 - 3:16
    ที่คุณต้องรู้คือ
  • 3:16 - 3:18
    ในตอนแรกคุณใช้ ATP ไป 2 โมเลกุล
  • 3:18 - 3:20
    นี่คือเหตุผลว่าทำไมมันถึงมีชื่อว่าขั้นตอนการลงทุน
  • 3:20 - 3:29
    ซึ่งก็เหมือนกับในทางธุรกิจ เราต้องลงทุนก่อน
  • 3:29 - 3:34
    หลังจากนั้นโมเลกุล PGAL 2 โมเลกุล ก็จะไปสู่
  • 3:34 - 3:35
    ขั้นตอนของ payoff phase
  • 3:35 - 3:39
    ในขั้นตอน payoff phase นั้น โมเลกุลของ
  • 3:39 - 3:42
    PGAL จะถูกเปลี่ยนเป็น pyruvate
  • 3:42 - 3:45
    ซึ่งก็คือโมเลกุล 3-คาร์บอน แต่ถูกเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
  • 3:45 - 3:49
    ซึ่งขั้นตอนสู่การเป็น pyruvate
  • 3:49 - 3:53
    ผมจะวาด pyruvate เป็นสีน้ำเงิน
  • 3:53 - 3:55
    คุณควรจะรู้จักคำๆ นี้
  • 3:55 - 3:56
    ผมจะวาดโครงสร้างของมัน
  • 3:56 - 3:57
    Pyruvate
  • 3:57 - 4:00
    หรือบางครั้ง มันจะถูกเรียกว่า กรดไพรูวิค
  • 4:00 - 4:03
    ซึ่งมันคือสิ่งเดียวกัน
  • 4:03 - 4:06
    และมันคือผลที่ได้จากไกลโคไลซิส
  • 4:06 - 4:08
    ซึ่งในตอนแรก คุณเริ่มด้วยกลูโคส ในขั้นตอนการลงทุน
  • 4:08 - 4:10
    แล้วคุณก็ได้ PGAL
  • 4:10 - 4:13
    ซึ่งคือผลที่ได้จากการแตกกลูโคสออก
  • 4:13 - 4:14
    และแปะกลุ่มฟอสเฟตเข้าไป
  • 4:14 - 4:17
    และโมเลกุลนี้จะเข้าสู่
  • 4:17 - 4:18
    payoff phase
  • 4:18 - 4:22
    ซึ่งคุณจะได้ไพรูเวท 2 โมเลกุลจาก
  • 4:22 - 4:25
    กลูโคสทุกโมเลกุลที่คุณเริ่มไว้ด้วย
  • 4:25 - 4:28
    ซึ่งคุณอาจจะสงสัยว่า นี่ Sal มันมี payoff phase ด้วยนะ
  • 4:28 - 4:30
    แล้ว payoff คืออะไร
  • 4:30 - 4:36
    อืม.. จาก payoff
  • 4:36 - 4:37
    ขั้น payoff phase
  • 4:37 - 4:39
    นี่คือ payoff phase
  • 4:41 - 4:43
    และ...ขอโทษนะครับที่พื้นหลังเป็นสีขาว
  • 4:43 - 4:45
    จริงๆแล้วที่กระดานเป็นแบบนี้เพราะผม
  • 4:45 - 4:48
    นำข้อมูลมาจากวิกิพีเดีย ของเขามัน
  • 4:48 - 4:50
    เป็นสีขาว พี้นหลังที่เห็นจึงเป็นแบบนี้
  • 4:50 - 4:51
    ในวิดีโอ
  • 4:51 - 4:54
    แต่ยังไงผมก็ชอบพื้นหลังสีดำ
  • 4:54 - 4:55
    มากกว่า
  • 4:55 - 4:58
    ตรงนี้เป็น payoff phase
  • 4:58 - 5:01
    ได้มาจาก Phosphoglyceraldehyde
  • 5:01 - 5:05
    ซึ่งกลายเป็น กรดไพรูวิค จะได้ 2 สิ่งออกมา
  • 5:05 - 5:07
    ผมว่า มันออกมา 3 สิ่ง
  • 5:07 - 5:12
    เราสลาย PGALเป็น
  • 5:12 - 5:13
    ไพรูเวต จะมี 2 ATP ออกมาด้วย
  • 5:13 - 5:16
    2 ATP
  • 5:16 - 5:18
    ผมจะได้ 2 ATP
  • 5:18 - 5:20
    และ 2 ATP จากอีกโมเลกุล
  • 5:20 - 5:22
    และจากการสลายนั้นจะได้ NADH ด้วย
  • 5:22 - 5:28
    NADH
  • 5:28 - 5:30
    ใช้สีเข้มกว่านี้เขียนดีกว่า
  • 5:30 - 5:31
    NADH
  • 5:37 - 5:40
    แน่นอนว่า มันไม่ได้สร้างโมเลกุลทั้งหมด
  • 5:40 - 5:41
    จากความว่างเปล่า
  • 5:41 - 5:43
    ที่สำคัญคือ การสร้างNADH ใช้
  • 5:43 - 5:48
    NAD+ ดังนั้นตั้งจึงต้นที่ NAD+
  • 5:48 - 5:51
    แล้วรีดิวส์
  • 5:51 - 5:53
    ด้วยการเพิ่ม H
  • 5:53 - 5:55
    จำได้นะ! ที่ไปเรียน 2 ครั้งที่แล้ว เธอ
  • 5:55 - 5:58
    ได้ดูการรีดักชันของ H
  • 5:58 - 6:01
    ดังนั้นจะได้ว่า NAD+ ถูกรีดิวส์เป็น NADH
  • 6:01 - 6:05
    ต่อไป NADH จะใช้ในกระบวนการ
  • 6:05 - 6:08
    Electron transport chain ที่ใช้สร้าง ATP
  • 6:08 - 6:13
    และทั้งหมดนี้ที่เราได้รู้คือกระบวนการของ
  • 6:13 - 6:16
    Glycolysis ที่มีสารตั้งต้น
  • 6:16 - 6:18
    คือกลูโคส
  • 6:18 - 6:21
    กลูโคส
  • 6:21 - 6:25
    และคุณจะใช้ NAD+
  • 6:25 - 6:28
    NAD+
  • 6:28 - 6:30
    ความจริง ทุกโมลของกลูโคส
  • 6:30 - 6:34
    ใช้ NAD+ 2 โมเลกุล
  • 6:34 - 6:35
    กับ ATP 2 โมเลกุล
  • 6:38 - 6:41
    ตอนนี้ผมกำลังเขียนสารตั้งต้น
  • 6:41 - 6:42
    ที่ใช้
  • 6:42 - 6:45
    และเธอต้องใช้--- เอ่อ
  • 6:45 - 6:47
    ในตอนแรกพวกนี้เป็น ADP ก่อนจะเปลี่ยนเป็น ATP ครับ
  • 6:47 - 6:52
    ADP อีก 4 โมเลกุล
  • 6:52 - 6:57
    แล้ว สิ้นสุดกระบวนการ Glycolysis
  • 6:57 - 6:58
    ที่ผมเขียนตรงส่วนนี้
  • 6:58 - 7:01
    ผม...ขอโทษนะครับ ตรงนี้เป็น ADP
  • 7:01 - 7:05
    ADP
  • 7:05 - 7:09
    แก้เป็น
  • 7:09 - 7:11
    4 ADPs
  • 7:11 - 7:12
    จากนั้น เธอก็ใช้
  • 7:12 - 7:16
    หมู่ฟอสเฟต 4 หมู่
  • 7:16 - 7:19
    หมู่ฟอสเฟต 4 หมู่ บางครั้งจะเขียนฟอสเฟต
  • 7:19 - 7:19
    แบบนั้นก็ได้
  • 7:19 - 7:20
    แต่ผมเลือกแบบนี้ละกัน
  • 7:20 - 7:22
    ฟอสเฟต 4 หมู่
  • 7:26 - 7:31
    หลังจากสิ้นสุดปฏิกริยา Glycolysis จะได้ไพรูเวต 2
  • 7:31 - 7:38
    จะได้ไพรูเวต 2 โมเลกุล NADH อีก 2 โมเลกุล
  • 7:41 - 7:43
    โดย NAD จะถูกรีดิวส์
  • 7:43 - 7:45
    มันรับ H
  • 7:45 - 7:46
    RIG
  • 7:46 - 7:47
    OIL RIG
  • 7:47 - 7:49
    Reduction คือการรับอิเล็กตรอน
  • 7:49 - 7:50
    ในทางชีววิทยาเราถือว่า
  • 7:50 - 7:51
    มันเป็นการรับ H
  • 7:51 - 7:53
    เพราะ H มี Electronegativity ต่ำ
  • 7:53 - 7:54
    H จึงเสียอิเล็กตรอน
  • 7:54 - 7:56
    ก็คือ รับอิเล็กตรอนจากมันนั่นเอง
  • 7:56 - 8:02
    ดังนั้น 2 NADH 2 ATP ใช้ใน
  • 8:02 - 8:03
    investment phase
  • 8:03 - 8:04
    ที่ผมเขียนแยกกันไว้
  • 8:04 - 8:06
    และ 2 โมเลกุลนี้ถูกใช้ใน Investment phase
  • 8:06 - 8:08
    แล้วกลายเป็น
  • 8:08 - 8:11
    ADP 2 โมเลกุล
  • 8:11 - 8:14
    แล้วเจ้าตัวนี้
  • 8:14 - 8:15
    เปลี่ยนเป็น ATP
  • 8:15 - 8:19
    จะได้ 4 ATP
  • 8:19 - 8:21
    ผมคิดว่าเราไม่ได้ใช้ 4 ตัว
  • 8:21 - 8:23
    เราใช้แค่ฟอสเฟส 2 ตัว
  • 8:23 - 8:25
    เพราะมันใช้แค่ 2 ตัว
  • 8:25 - 8:27
    จากนั้น เราจะใช้อีก 2 ตัว เพื่อ
  • 8:27 - 8:29
    ให้ตรงนั้นมี 4 ตัว
  • 8:29 - 8:31
    แต่รวมๆแล้ว เธอจะใช้ กลูโคส ตั้งต้น
  • 8:31 - 8:33
    ได้ ไพรูเวต 2 โมเลกุล เป็นผลิตภัณฑ์
  • 8:33 - 8:35
    จ่าย ATP 2 โมเลกุล
  • 8:35 - 8:37
    ได้ 4 ATP กลับมา
  • 8:37 - 8:40
    ดังนั้น จะได้ a net of 2 ATP
  • 8:40 - 8:41
    ให้ผมเขียนสรุปตรงนั้น สรุปว่า
  • 8:41 - 8:46
    ผลพลอยได้จาก Glycolysis คือ 2 ATP
  • 8:46 - 8:51
    กับ 2 NADH จากนั้นจะเอา 2 อย่างนี้ไปใช้ใน
  • 8:51 - 8:55
    electron transport chain เพื่อ ผลิต 3 ATP
  • 8:55 - 8:59
    ตอนนี้เธอได้ NADH แล้วก็จะได้ 2 ไพรูเวต
  • 8:59 - 9:03
    เอาไปเปลี่ยนเป็น acetyl-CoA ที่จะเป็น
  • 9:03 - 9:05
    วัตถุดิบของ Kreb's cycle
  • 9:05 - 9:11
    ทั้งหมดนี้เป็นสารที่ได้จาก Glycolysis
  • 9:11 - 9:13
    ตอนนี้เราได้ภาพรวมแล้ว เราไปดู
  • 9:13 - 9:14
    กลไกของมันกันเถอะ
  • 9:14 - 9:16
    ภาพดูค่อนข้างซับซ้อนกว่า
  • 9:16 - 9:19
    แต่มันก็แนวเดียวกันกับที่เรียนไปแล้ว
  • 9:19 - 9:22
    คือ เริ่มที่ กลูโคสที่มี
  • 9:22 - 9:24
    รูปร่างเป็น 6 ลูกโซ่
  • 9:24 - 9:26
    ต่อเป็นวง วงแหวน
  • 9:26 - 9:30
    (นับ C)
  • 9:30 - 9:33
    เขียนในแบบนี้ก็ได้
  • 9:33 - 9:34
    ทำให้ดูง่ายขึ้น
  • 9:34 - 9:36
    C6H12O6 เข้าทำปฏิกริยา
  • 9:36 - 9:37
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:37 - 9:39
    ผมจะเน้นสีไว้
  • 9:39 - 9:42
    ผมจะใช้สีส้มเน้นตรง ที่ใช้ ATP
  • 9:42 - 9:44
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:44 - 9:46
    ใช้ 1 ATP ตรงนี้
  • 9:46 - 9:48
    และ อย่างที่บอก สารที่ได้ในแต่ละขั้น
  • 9:48 - 9:49
    จะมีชื่อที่ต่างกันนิดหน่อย
  • 9:49 - 9:50
    แต่สารที่อยู่ตรงนี้คือ
  • 9:50 - 9:52
    phosphoglyceraldehyde
  • 9:52 - 9:54
    หรือเรียกว่า glyceraldehyde 3-phosphate
  • 9:54 - 9:57
    มันก็คือโมเลกุลเดียวกัน
  • 9:57 - 10:00
    อย่างที่เห็นในรูปที่ผมวาดก่อนหน้านี้
  • 10:00 - 10:03
    เรามี 1..2..3 คาร์บอน
  • 10:06 - 10:08
    ที่มีฟอสเฟสอยู่ด้วย
  • 10:08 - 10:10
    จริงๆแล้วฟอสเฟสสร้างพันธะกับออกซิเจน
  • 10:10 - 10:12
    แต่ผมอยากเข้าใจง่าย
  • 10:12 - 10:14
    จึงวาดหมู่ฟอสเฟสแบบนี้
  • 10:14 - 10:16
    ที่เขียนให้ดูแล้วนี่ไง
  • 10:16 - 10:19
    phosphoglyceraldehyde ตรงนี้มี
  • 10:19 - 10:21
    โครงสร้างจริงคือ แบบนี้
  • 10:21 - 10:24
    ผมคิดว่าบางครั้งเธอดูโครงสร้างแล้วอาจจะทำให้
  • 10:24 - 10:25
    ลืมภาพรวมของ
  • 13:27 - 13:30
    ครับ ผมก็หวังว่าวีดีโอนี้ช่วยคุณได้
Title:
Glycolysis
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
13:30
Amara Bot edited Thai subtitles for Glycolysis

Thai subtitles

Revisions