< Return to Video

Matrices: Reduced Row Echelon Form 3

  • 0:01 - 0:04
    ผมมี 3 สมการ 4 ตัวแปร
  • 0:04 - 0:07
    และเหมือนกับในวิดีโอแรก, ผมได้พูดถึงลักษณะขั้นบันไดลดรูป
  • 0:07 - 0:11
    ตามแถว, และการแก้ระบบสมการเชิงเส้น
  • 0:11 - 0:14
    โดยใช้เมทริกซ์ต่อเติม, อย่างน้อยความรู้สึกลึกๆ ของผมบอกว่าล
  • 0:14 - 0:17
    ดูสิล ผมมีสมการน้อยกว่าตัวแปร, ผมอาจ
  • 0:17 - 0:18
    กำหนดเงื่อนไขไม่พอ
  • 0:18 - 0:20
    เรื่องบางทีผมอาจได้จำนวนคำตอบนับไม่ถ้วน
  • 0:20 - 0:22
    ลองดูว่าผมคิดถูกไหม
  • 0:22 - 0:25
    ลองสร้างเมทริกซ์แต่งเติมสำหรับ
  • 0:25 - 0:27
    ระบบสมการนี้กัน
  • 0:27 - 0:33
    สัมประสิทธิ์ของเทอม x1 คือ 1, 1, และ 2
  • 0:33 - 0:35
    สัมประสิทธิ์ของเทอม x2 คือ 2, 2, และ 4
  • 0:39 - 0:44
    สัมประสิทธิ์ของเทอม x3 คือ 1, 2 และ 0
  • 0:44 - 0:46
    มันไม่มีเทอม x3 อยู่, เราจึงมองมันว่ามีสัมประสิทธิ์
  • 0:46 - 0:47
    เป็น 0
  • 0:47 - 0:50
    สัมประสิทธิ์ของเทอม x4 คือ 1, ลบ 1, และ 6
  • 0:54 - 0:56
    แล้วทางด้านขวามือของเครื่องหมายเท่ากับ, ผม
  • 0:56 - 1:01
    มี 8, 12 และ 4
  • 1:01 - 1:04
    มีเมทริกซ์แต่งเติม, ตอนนี้ทำใส่เจ้านี่ให้มี
  • 1:04 - 1:08
    ลักษณะขั้นบันไดลดรูปตามแถวดู
  • 1:08 - 1:11
    อย่างแรกที่ผมอยากทำ คือทำให้สองแถว
  • 1:11 - 1:12
    นี่ตรงนี้เป็น 0
  • 1:12 - 1:15
    เราทำอะไรได้?
  • 1:15 - 1:19
    ผมจะทำให้แถวแรกเหมือนกันก่อนล มันก็คือ 1,
  • 1:19 - 1:23
    2, 1, 1, 8
  • 1:23 - 1:28
    เส้นนั้นแทนเครื่องหมายเท่ากับ
  • 1:28 - 1:31
    สิ่งที่ผมทำได้, ขอผมลบ -- ขอผมแทนที่
  • 1:31 - 1:35
    แถวที่สอง ด้วยแถวที่สอง ลบ แถวแรก
  • 1:35 - 1:46
    แล้ว 1 ลบ 1 ได้ 0, 2 ลบ 2 ได้ 0, 2 ลบ 1 ได้ 1, 1 --
  • 1:46 - 1:55
    ลบ 1 ลบ 1 ได้ ลบ 2, แล้ว 12 ลบ 8 ได้ 4
  • 1:55 - 1:58
    ได้แล้ว, มันดูดีถึงตอนนี้, มันดูเหมือนคอลัมน์,
  • 1:58 - 2:01
    หรือ x2 ซึ่งแทนด้วยคอลัมน์ที่สอง, มันดูเหมือนว่า
  • 2:01 - 2:05
    มันเป็นตัวแปรอิสระ, แต่เรายังไม่แน่ใจ 100%
  • 2:05 - 2:07
    ลองทำแถวของเราทั้งหมดกัน
  • 2:07 - 2:12
    ลองหา -- เวลากำจัดเจ้านี่ตรงนี้, ลองแทนที่
  • 2:12 - 2:15
    สมการทีสามของเรา ด้วยสมการที่สาม ลบ
  • 2:15 - 2:18
    2 คูณสมการแรกดู
  • 2:18 - 2:27
    เราจึงได้ 2 ลบ 2 คูณ 1 ได้ 0, 4 ลบ 2 คูณ 2,
  • 2:27 - 2:36
    นั่นก็คือ 0, 0 ลบ 2 คูณ 1, นั่นก็คือลบ 2
  • 2:36 - 2:40
    6 ลบ 2 คูณ 1, ทีนี้, นั่นคือ 4, จริงไหม?
  • 2:40 - 2:42
    6 ลบ 2
  • 2:42 - 2:47
    แล้ว 4 ลบ 2 คูณ 8, ได้ ลบ 16, 4
  • 2:47 - 2:53
    ลบ 16 เท่ากับลบ 12
  • 2:53 - 2:54
    แล้วเราจะทำอะไรได้ตอนนี้?
  • 2:54 - 2:57
    ทีนี้, ลองดูว่าเราจะกำจัดลบ 2
  • 2:57 - 2:58
    นี่ตรงนี้ได้ไหม
  • 2:58 - 3:04
    ขอผมเขียนเมทริกซ์ต่อเติมอันใหม่หน่อยนะ
  • 3:04 - 3:08
    ผมจะเก็บแถวที่สองให้เหมือนเดิมตรงนี้, ผมจึงได้ 0,
  • 3:08 - 3:12
    0, 1, ลบ 2, แล้วก็เครื่องหมายเท่ากับ, หรื
  • 3:12 - 3:15
    ส่วนต่อเติมของเมทริกซ์
  • 3:15 - 3:18
    ตอนนี้ลองดูว่าเราทำอะไรได้
  • 3:18 - 3:20
    ขอผมกำหนด 0 นี่บนนี้, เพราะผมอยากได้
  • 3:20 - 3:21
    ลักษณะขั้นบันไดลดรูปตามแถว
  • 3:21 - 3:24
    ตำแหน่งจุดหมุนใดๆ ของผม, ต้องมี
  • 3:24 - 3:27
    สัมประสิทธื์เป็น 1, หรือมีค่าเป็น 1, มันควร
  • 3:27 - 3:29
    มีเทอมที่ไม่เป็น 0 ตัวเดียวในแถวผม
  • 3:29 - 3:31
    แล้วผมจะกำจัดตัวนี่ตรงนี้ยังไง?
  • 3:31 - 3:36
    ทีนี้ผมสามารถลบ -- ผมสามารถแทนแถวที่หนึ่ง ด้วยแถว 1
  • 3:36 - 3:38
    ลบ แถว 2
  • 3:38 - 3:48
    ได้ 1 ลบ 0 เป็น 1, 2 ลบ 0 เป็น 2, 1 ลบ 1 เป็น 0, 1 ลบ
  • 3:48 - 3:53
    ลบ 2, นั่นคือ 1 บวก 2, ซึ่งก็คือ 3
  • 3:53 - 3:57
    แล้วก็ 8 ลบ 4 เป็น 4
  • 3:57 - 3:59
    และตอนนี้ผมจะกำจัดตัวนี้ยังไง?
  • 3:59 - 4:07
    ขอผมแทนที่แถวที่ 3 ด้วยแถว 3 บวก 2 คูณแถว 1 ดู
  • 4:07 - 4:10
    ขอโทษที, แถว 3 บวก 2 คูณแถว 2
  • 4:10 - 4:10
    จริงไหม?
  • 4:10 - 4:13
    เพราะคุณอยากได้ ลบ 2 บวก 2 คูณเจ้านี่,
  • 4:13 - 4:13
    พวกมันจะได้หักล้างกัน
  • 4:13 - 4:15
    ลองดู 0
  • 4:15 - 4:18
    0 บวก 2 คูณ 0, นั่นคือ 0
  • 4:18 - 4:26
    0 บวก 2 คูณ 0, นั่นคือ 0, ลบ 2 บวก 2 คูณ 1 ได้ 0
  • 4:26 - 4:35
    4 บวก 2 คูณลบ 2, นั่นคือ 4 ลบ 4, นั่นคือ 0
  • 4:35 - 4:40
    แล้วผมมีลบ 12, บวก 2 คูณ 4
  • 4:40 - 4:44
    นั่นคือลบ 12 บวก 8, นั่นคือลบ 4
  • 4:47 - 4:50
    ตอนนี้, นี่มันน่าสนใจแล้ว -- นี่น่าสนใจ
  • 4:50 - 4:53
    ผมทำเจ้านี่ในลักษณะขั้นบันไดลดรูปตามแถว
  • 4:53 - 4:57
    ผมมีตำแหน่งจุดหมุนสองที่, นั่นคือจุดหมุน
  • 4:57 - 4:59
    ตรงนั้นและมันมีจุดหมุนจุดหนึ่งตรงนั้น
  • 4:59 - 5:03
    พวกมันคือเทอมที่ไม่เป็น 0 ในแต่ละคอลัมน์
  • 5:03 - 5:05
    และนี่เป็นเรื่องรูปแบบที่ชอบ, แต่ตำแหน่ง
  • 5:05 - 5:08
    จุดหมุนนี้ อยู่ในแถวล่างกว่าอันนั้น
  • 5:08 - 5:13
    มันอยู่ในคอลัมน์ทางขวาของเจ้านี่ตรงนี้
  • 5:13 - 5:17
    และผมตรวจดู, มันดูเหมือนว่า -- คอลัมน์ที่ 1 นี่
  • 5:17 - 5:19
    ดูเหมือนกับตัวแปรอิสระ -- ไม่มีค่า
  • 5:19 - 5:20
    จุดหมุนตรงนี้, ไม่ใช่ตำแหน่งจุดหมุนตรงนี้
  • 5:20 - 5:23
    แต่ลองดู, ลองจับมันกลับไป
  • 5:23 - 5:25
    ยังระบบสมการของเรา
  • 5:25 - 5:27
    พวกนี้ก็แค่ตัวเลข และผมทำตาม
  • 5:27 - 5:30
    กลไก, เหมือนกับคอมพิวเตอร์, พยายามทำมันแบบขั้นบันได
  • 5:30 - 5:31
    ลดรูปตามแถว
  • 5:31 - 5:33
    ที่จริงแล้วล เกือบเหมือนคอมพิวเตอร์เลย
  • 5:33 - 5:35
    แต่ขอผมกลับไปยังระบบสมการเชิงเส้นของผม,
  • 5:35 - 5:37
    เพื่อดูว่าผลลัพธ์ของเราคืออะไร
  • 5:37 - 5:42
    เราจึงได้ 1 คูณ x1, ขอผมเขียนมันด้วยสีเหลืองนะ
  • 5:42 - 5:51
    ผมจึงได้ 1 คูณ x1, บวก 2 คูณ x2, บวก 0 คูณ x3
  • 5:51 - 5:55
    บวก 3 คูณ x4 เท่ากับ 4
  • 5:55 - 5:57
    แน่นอนผมลืมเทอมนี่ตรงนี้, ผมไม่
  • 5:57 - 5:59
    ต้องเขียนมันก็ได้
  • 5:59 - 5:59
    ที่จริงแล้ว
  • 5:59 - 6:00
    ผมจะไม่เขียนมันแล้วกัน
  • 6:00 - 6:05
    ได้ผมได้ 0 คูณ x1, บวก 0 คูณ x2, บวก 1 คูณ x3,
  • 6:05 - 6:06
    ผมเขียนมันแบบนั้นได้
  • 6:06 - 6:07
    ผมจะเขียน 1 ลงไป
  • 6:07 - 6:13
    1 คูณ x3, ลบ 2 คูณ x4 เท่ากับ 4
  • 6:13 - 6:15
    แล้วเทอมสุดท้ายนี้, ผมได้อะไร?
  • 6:15 - 6:19
    ผมได้ 0 x1, บวก 0 x2, บวก 0 x3, บวก 0 x4, ทั้งหมด
  • 6:19 - 6:21
    นั่นเท่ากับ 0, และผมได้เขียนอะไรบางอย่างไว้
  • 6:21 - 6:22
    ทางซ้ายมือ
  • 6:22 - 6:25
    ขอผมเขียน 0 และนั่น
  • 6:25 - 6:28
    เท่ากับลบ 4
  • 6:28 - 6:31
    นี่มันไม่มีเหตุผลเลย
  • 6:31 - 6:33
    0 เท่ากับลบ 4
  • 6:33 - 6:36
    นี่มันเป็นเงื่อนไขที่ไร้เหตุผล, มัน
  • 6:36 - 6:37
    เป็นไปไม่ได้
  • 6:37 - 6:40
    0 ไม่มีทางเท่ากับ ลบ 4
  • 6:40 - 6:43
    มันเป็นไปไม่ได้
  • 6:46 - 6:49
    ซึ่งหมายความว่า มันเป็นไปไม่ได้ที่จะหา
  • 6:49 - 6:54
    รอยตัดของระบบสมการ 3 สมการนี้, หรือ
  • 6:54 - 6:56
    เซตคำตอบที่เป็นไปตามสมการพวกนั้นทั้งหมด
  • 6:56 - 6:58
    เวลาผมดูอันนี้ตอนแรก, ในตอนเริ่ม
  • 6:58 - 7:01
    วิดีโอ, เราบอกว่า มีแค่ 3
  • 7:01 - 7:02
    สมการ, เรามี 4 ตัวแปร, บางทีมันอาจมี
  • 7:02 - 7:04
    คำตอบจำนวนนับไม่ถ้วน
  • 7:04 - 7:07
    แต่ปรากฏว่าสามตัวนี้ -- คุณจะเรียกว่า
  • 7:07 - 7:11
    พื้นที่ผิวสามอันก็ได้ -- พวกมันไม่ตัดกันใน R4
  • 7:11 - 7:12
    จริงไหม?
  • 7:12 - 7:15
    พวกนี้เป็น 4 มิติทั้งนั้น, เรากำลัง
  • 7:15 - 7:19
    ยุ่งกับ R4 ตรงนี้, เพราะเรามี -- ผมบอกได้ว่าเวกเตอร์แต่ละตัว
  • 7:19 - 7:22
    มีองค์ประกอบ 4 ค่า, หรือคุณมีตัวแปร 4 ตัว, นั่นคือวิธีที่
  • 7:22 - 7:23
    คุณคิดได้
  • 7:23 - 7:26
    และมันยากที่จะนึกภาพสิ่งต่างๆ ใน R4
  • 7:26 - 7:29
    แต่ถ้าเราทำใน R3, เราสามารถจินตนาการ
  • 7:29 - 7:35
    สถานการณ์ได้, โดยสมมุติว่า เรามีระนาบสองตัวใน R3
  • 7:35 - 7:37
    นั่นคือระนาบหนึ่งตรงนี้ แล้วผมมี
  • 7:37 - 7:40
    ระนาบอีกอันที่ขนานกับอันนั้นพอดี
  • 7:40 - 7:42
    ผมมีระนาบที่ขนานกันสมบูรณ์อีกอัน
  • 7:42 - 7:43
    กับอันนั้น
  • 7:43 - 7:47
    แม้ว่าพวกนี้จะเป็นระนาบ 2 ตัวใน R3, ขอผมยกตัวอย่าง
  • 7:47 - 7:48
    หน่อยนะ
  • 7:48 - 7:52
    สมมุติว่าระนาบอันแรกนี่ แทนได้ด้วย
  • 7:52 - 8:03
    สมการ 3x บวก 6y ลบ 9z เท่ากับ 5, และระนาบ
  • 8:03 - 8:08
    ที่สองแทนได้ด้วยสมการ 3x บวก 6y บวก 9z
  • 8:08 - 8:11
    เท่ากับ 2
  • 8:11 - 8:16
    ระนาบสองตัวใน R3 นี้ -- นี่คือกรณีของ R3, นี่ก็คือ
  • 8:16 - 8:18
    R3 ตรงนี้
  • 8:18 - 8:20
    ระนาบสองตัวนี้, แน่นอนพวกมันไม่มีทางตัดกัน
  • 8:20 - 8:24
    เพราะเห็นได้ชัดว่าเจ้านี่มีสัมประสิทธิ์เหมือนกัน รวมกันได้ 5
  • 8:24 - 8:26
    อันนี้มีสัมประสิทธิ์เหมือนกัน รวมกันได้ 2
  • 8:26 - 8:29
    แล้วล ถ้าผมดูตอนแรก, มันไม่ชัดเจนนัก
  • 8:29 - 8:31
    เราบอกว่า, เรามี 2 สมการ
  • 8:31 - 8:34
    3 ตัวแปร, บางทีนี่อาจมีคำตอบ
  • 8:34 - 8:34
    จำนวนนับไม่ถ้วน
  • 8:34 - 8:37
    แต่มันไม่เป็นเช่นนั้น, เพราะคุณลบ
  • 8:37 - 8:40
    สมการนี้, จากสมการล่าง, จาก
  • 8:40 - 8:40
    สมการบน
  • 8:40 - 8:42
    แล้วคุณจะได้อะไร?
  • 8:42 - 8:44
    คุณจะได้อะไรคุ้นๆ -- ถ้าคุณ
  • 8:44 - 8:46
    หักสมการล่าง จากสมการบน, คุณจะ
  • 8:46 - 8:50
    ได้ 3x ลบ 3x, 6y ลบ 6y, 9z ลบ 9z -- ที่จริง, ขอผม
  • 8:50 - 8:52
    ทำตรงนี้ดีกว่า
  • 8:52 - 8:55
    แล้ส นั่นลบนั่น, คุณจะได้ 0 เท่ากับ 5 ลบ
  • 8:55 - 8:57
    2, ได้ 3
  • 8:57 - 8:59
    ซึ่งคล้ายกับผลที่เราได้ตรงนี้
  • 8:59 - 9:03
    แล้วเมื่อคุณมีระนาบขนานกัน 2 ตัว, ในกรณีนี้คือใน R3, หรือ
  • 9:03 - 9:07
    สำหรับสมการขนานสองตัวใดๆ, หรือเซต
  • 9:07 - 9:09
    ของสมการที่ขนานกัน, พวกมันจะไม่ตัดกัน
  • 9:09 - 9:12
    แล้วคุณจะได้, เมื่อคุณเขียนมันในลักษณะขั้นบันไดลดรูป
  • 9:12 - 9:14
    ตามแถว, หรือคุณทำการหักล้างธรรมดา, หรือ
  • 9:14 - 9:17
    คุณแก้ระบบสมการ, คุณจะได้ประโยคว่า
  • 9:17 - 9:20
    0 เท่ากับอะไรสักอย่าง, และนั่นหมายความว่ามัน
  • 9:20 - 9:21
    ไม่มีคำถาม
  • 9:24 - 9:26
    แล้วบทเรียนทั่วไปนี้คือว่า, ถ้าคุณมี 0 เท่ากับ
  • 9:26 - 9:28
    อะไรสักอย่าง, มันจะไม่มีคำตอบ
  • 9:28 - 9:32
    ถ้าคุณมีจำนวนตัวแปรจุดหมุนเท่ากับ, จำนวน
  • 9:32 - 9:36
    ค่าจุดหมุนเท่ากับจำนวนคอลัมน์, ถ้าคุณ
  • 9:36 - 9:39
    อยู่ในกรณีนี้ -- ขอผมเขียมันลงไปนะ, มันมีประโยชน์ที่รู้ไว้
  • 9:39 - 9:42
    ถ้าคุณมี เท่ากับอะไรก็ตามล
  • 9:42 - 9:45
    มันหมายความว่าไม่มีคำตอบ
  • 9:45 - 9:47
    ถ้าคุณคิดใน R3, คุณอาจ
  • 9:47 - 9:51
    ได้ระนาบขนาน, ใน R2 คุณอาจยุ่งกับเส้นขนานอยู่
  • 9:51 - 9:56
    ถ้าคุณได้กรณีที่คคุณมีจำนวนค่า
  • 9:56 - 10:03
    จุดหมุนเท่ากับจำนวนคอลัมน์, นั่กน็คือ 1, 1, 1, 1
  • 10:03 - 10:05
    นี่คือกรณีของ R4 ตรงนี้
  • 10:05 - 10:07
    ผมว่าคุณคงเข้าใจนะ
  • 10:07 - 10:10
    มันเท่ากับ a, b, c, d
  • 10:10 - 10:12
    แล้วคุณก็ได้คำตอบเฉพาะมา
  • 10:16 - 10:19
    ตอนนนี้, ถ้าคุณมีตัวแปรอิสระ -- ดัวแปรอิสระ
  • 10:19 - 10:23
    เป็นแบบนี้, สมมุติว่าเรามี 1, 0, 1, 0 แล้วผม
  • 10:23 - 10:30
    มีค่า 1, 1 ขอผมระวังหน่อย
  • 10:30 - 10:33
    0, ขอผมทำแบบนี้นะ
  • 10:33 - 10:41
    1, 0, 0, แล้วผมมีค่า 1, 2 แล้วผมมี
  • 10:41 - 10:44
    0 หลายตัวตรงนี้
  • 10:44 - 10:45
    แล้วนี่ต้องเท่ากับ 0 -- จำไว้, ถ้านี่
  • 10:45 - 10:48
    เป็น 0 หลายๆ ตัวเท่ากับตัวแปรอื่น, ผมจะ
  • 10:48 - 10:50
    ไม่มีคำตอบ, หรือเท่ากับค่าคงที่สักค่าล สมมุติว่านี่คือ
  • 10:50 - 10:53
    5, นี่คือ 2
  • 10:53 - 10:55
    ถ้านี่คือลักษณะขั้นบันได้ลดรูปตามแถวที่เรา
  • 10:55 - 10:59
    มาหาได้, เราจะได้ตัวแปรอิสระมา
  • 10:59 - 11:03
    นี่คืออิสระ, เราจะเรียกคอลัมน์นี้ว่า คอลัมน์
  • 11:03 - 11:05
    อิสระก็ได้, มันก็คือคอลัมน์อิสระ
  • 11:05 - 11:07
    เพราะมันม่มีค่าจุดหมุน
  • 11:07 - 11:09
    พวกนี้คือค่าจุดหมุน
  • 11:09 - 11:13
    นี่คือตัวแปร x2 และนั่นคือตัวแปร x4
  • 11:13 - 11:15
    พวกนี้เป็นอิสระ, เราสามารถจับมัน
  • 11:15 - 11:16
    เท่ากับอะไรก็ได้
  • 11:16 - 11:19
    แล้วตรงนี้ เรามีคำตอบไม่จำกัด,
  • 11:19 - 11:22
    ไม่ได้มีคำตอบเพียงอย่างเดียว
  • 11:22 - 11:24
    แล้วนั่นคือตัวอย่างแรกที่เราเจอ
  • 11:24 - 11:26
    พวกนี้ก็คือกรณีสามอย่าง ที่่คุณจะเห็น
  • 11:26 - 11:28
    ทุกครั้งล และมันดีที่จะคุ้นเคยกับพวกมัน
  • 11:28 - 11:30
    คุณจะได้ไม่สะดุดเวลาคุณมี
  • 11:30 - 11:33
    อะไรอย่างเช่น 0 เท่ากับลบ 4, หรือ 0 เท่ากับ 3
  • 11:33 - 11:35
    หรือถ้าคุณมี 0 หลายๆ ตัวหลายๆ แถว
  • 11:35 - 11:37
    ผมอยากบอกให้ชัดเจน
  • 11:37 - 11:41
    บางครั้ง, คุณเห็น 0 เป็นแถวตรงนี้, ทางซ้ายมือ
  • 11:41 - 11:44
    ของด้านนนั้น, แล้วคุณบอกว่า, โอ้ บางทีฉันอาจ
  • 11:44 - 11:46
    ไม่ได้มีคำตอบเพียงตัวเดียว, ฉันมี
  • 11:46 - 11:47
    คำตอบจำนวนนับไม่ถ้วน
  • 11:47 - 11:50
    แต่คุณต้องดูที่ค่านี่ตรงนี้
  • 11:50 - 11:53
    เมื่อทั้งหมดนี่เป็น 0 และคุณมี
  • 11:53 - 11:56
    ตัวแปรอิสระ, คุณจะได้คำตอบจำนวนนับไม่ถ้วน
  • 11:56 - 11:59
    ถ้าคุณมีประโยคอย่างเช่น, 0 เท่ากับ a, ถ้า
  • 11:59 - 12:01
    นี่เท่ากับ 7 ตรงนี้, แล้วทันใดนั้น คุณจะ
  • 12:01 - 12:03
    ไม่ได้คำตอบแบบนี้
  • 12:03 - 12:05
    คุณจะได้พื้นผิวที่ขนานกัน
  • 12:05 - 12:08
    เอาล่ะ, หวังว่าคุณคงได้ประโยชน์ไปบ้างนะ
Title:
Matrices: Reduced Row Echelon Form 3
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
12:08

Thai subtitles

Revisions