-
ลองทบทวนกันสักหน่อย
เรื่องสิ่งที่เรารู้แล้ว
-
เกี่ยวกับออร์บิทอล
และผมได้พูดถึงเรื่องนี้ไปแล้วใน
-
รายการวิชาเคมีปกติ สมมุติว่านี่คือ
-
นิวเคลียสของอะตอม เล็กจิ๋ว
และรอบๆ เรามี
-
ออร์บิทอลแรกของเรา คือออร์บิทอล 1s
-
และออร์บิทอล 1s
คุณมองมันเป็นกลุ่มหมอก
-
รอบนิวเคลียสได้
-
คุณก็มีออร์บิทอล 1s และ
มันใส่อิเล็กตรอนได้สองตัว
-
อิเล็กตรอนตัวแรกจะอยู่
ในออร์บิทอล 1s แล้ว
-
อิเล็กตรอนตัวที่สองอยู่ใน
ออร์บิทอล 1s ด้วย
-
ตัวอย่างเช่น
ไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอนตัวเดียว
-
มันจึงไปอยู่ใน 1s.
-
ฮีเลียมมีอีกหนึ่งตัว มันจึงอยู่ใน
-
ออร์บิทอล 1s ด้วย
-
เมื่อมันเต็มแล้ว คุณก็ไปยัง
ออร์บิทอล 2s
-
ออร์บิทอล 2s คุณมองมัน
เป็นเปลือกรอบออร์บิทอล 1s ได้
-
และทั้งหมดนี้ คุณมองมันตามวิธีคิด
-
เดิมๆ ของเราไม่ได้
-
คุณควรมองมันเป็นกลุ่มหมอก
ของความน่าจะเป็นที่คุณ
-
น่าจะเจออิเล็กตรอน
-
แต่เพื่อให้วาดออกมาเป็นภาพได้
เราก็จินตนาการว่ามันเป็น
-
เหมือนกลุ่มหมอกเป็นชั้นรอบ
ออร์บิทอล 1s
-
นึกภาพว่ามันเป็นเปลือกเลือนราง
รอบออร์บิทอล 1s
-
มันอยู่รอบออร์บิทอล 1s แล้วอิเล็กตรอน
-
ตัวต่อไปจะอยู่ตรงนี้
-
แล้วอิเล็กตรอนตัวที่ 4 จะไป
ตรงนี้ด้วย ผมวาด
-
ลูกศรเหล่านี้ขึ้นลงเพราะอิเล็กตรอน
-
ตัวแรกที่ไปอยู่ในออร์บิทอล 1s
มีสปินค่าหนึ่ง แล้ว
-
อิเล็กตรอนตัวต่อไปที่อยู่ใน
ออร์บิทอล 1s จะมี
-
สปินตรงข้าม
และพวกมันเป็นคู่กันไปอย่างนั้น
-
พวกมันมีสปินตรงข้ามกัน
-
ทีนี้ ถ้าเราเพิ่มอิเล็กตรอนเรื่อยๆ
เราก็จะย้ายไปยัง
-
ออร์บิทอล 2p
-
ที่จริง คุณมีออร์บิทอล 2p จำนวน 3 ชั้น
-
และแต่ละตัวเก็บอิเล็กตรอนได้ 2 ตัว
ผมจึงใส่
-
อิเล็กตรอนได้ทั้งหมด 6 ตัว
ในออร์บิทอล 2p เหล่านั้น
-
ขอผมวาดให้คุณดู คุณจะได้เห็นภาพ
-
ถ้าเราเขียนกำกับแกนของเราตรงนี้ คิดใน
-
สามมิติ
-
จินตนาการว่า แกนนี่ตรงนี้คือแกน x
-
ขอผมใช้อีกสีนะ
-
สมมุติว่าแกนนี่ตรงนี้คือแกน y ของเราแล้ว
-
เรามีแกน z
-
ผมจะเขียนด้วยสีฟ้านะ
-
สมมุติว่าเรามีแกน z อย่างนั้น
-
จริงๆ แล้วคุณมีออร์บิทอลที่วางตัว
-
ตามแกนแต่ละอันนี้ได้
-
คุณมี 2 -- ขอผมใช้
-
สีเดิมนะ
-
คุณก็มีออร์บิทอล 2p ห้อย x
แล้วสิ่งที่คุณจะเห็น
-
ดูเหมือนทรงดัมเบล ที่วางตัวตาม
-
ทิศ x
-
ขอผมพยายามวาดให้ดีที่สุดนะ
-
นี่คือทรงดัมเมบลที่วางตัวตามแกน x
-
ทั้งสองทิศ และจริงๆ แล้วมันสมมาตร
-
ผมจะวาดปลายนี้ให้ใหญ่กว่าปลายนี้หน่อย
มันจะได้ดูเหมือน
-
ว่ามันโผล่ออกมาหาคุณหน่อย ขอผมวาด
-
ให้ดีกว่านั้น
-
ผมวาดดีกว่านั้นได้
-
มันอาจออกมาแบบนั้น
-
นึกดู พวกนี้ก็แค่กลุ่มหมอก
ของความน่าจะเป็น แต่
-
มันช่วยให้เราเห็นภาพ มากกว่าสิ่ง
-
ที่เราเห็นในโลกความจริง แต่ผมว่า
-
กลุ่มหมอกความน่าจะเป็น
คือวิธีคิดที่ดีที่สุด
-
นั่นคือออร์บิทอล 2px
และผมยังไม่ได้พูดถึงว่า
-
มันเติมอิเล็กตรอนอย่างไร
แต่คุณยังมี
-
ออร์บิทอล 2py ซึ่งผมจะไป
ยังแกนนี้ เหมือนเดิม
-
ทรงดัมเบลตามทิศ y ชี้ไปตาม
-
แกน y สองด้าน ไปในทิศนั้น
-
กับทิศนั้น
-
แล้วแน่นอน ขอผมเขียน 2py นี้ แล้วคุณยัง
-
มี 2pz และมันวางตัวตามทิศ z
ขึ้นไปแบบนั้น
-
แล้วลงมาแบบนั้น
-
เมื่อคุณเพิ่มอิเล็กตรอนขึ้นเรื่อยๆ
ตั้งแต่ตัวแรก -- ตอนนี้
-
เราใส่อิเล็กตรอนแล้ว 4 ตัว
-
ถ้าคุณเติมอิเล็กตรอนตัวที่ 5
คุณคาดได้ว่ามันจะอยู่ใน
-
ออร์บิทอล 2px ตรงนี้
-
ออร์บิทอล 2px นี้
ใส่อิเล็กตรอนได้ 2 ตัวพอดี
-
ตัวแรกไปอยู่ตรงนี้
-
แต่ตัวต่อไปจะไม่อยากไปอยู่ในนั้น
-
มันอยากอยู่แยกกันภายในออร์บิทอล p นั้น
-
อิเล็กตรอนตัวต่อไป
ที่คุณใส่เพิ่มจะไม่ไปอยู่ใน 2px
-
แต่มันจะไปอยู่ที่ 2py.
-
แล้วตัวหลังจากนั้น
จะไม่ไปอยู่ที่ 2py หรือ 2px,
-
มันจะไปอยู่ใน 2pz
-
พวกมันพยายามอยู่ห่างจากกัน
-
แล้วถ้าคุณเพิ่มอิเล็กตรอนอีกตัว
ถ้าคุณเพิ่ม -- ลองดู
-
เราเพิ่มไปแล้ว 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ตัว
-
ถ้าคุณเพิ่มอิเล็กตรอนตัวที่ 8
มันจะไปอยู่ที่ออร์บิทอล 2px
-
อิเล็กตรอนตัวที่ 8 จะไปอยู่ตรงนั้น แต่
-
มันจะมีประจุตรงข้าม
-
นี่เป็นเพียงการทบทวนเล็กน้อยพร้อมกับ
-
ภาพนิดหน่อย
-
ทีนี้ จากสิ่งที่เราทบทวนไป ลองคิดกันว่า
-
เกิดอะไรขึ้นกับคาร์บอน
-
คาร์บอนมีอิเล็กตรอน 6 ตัว
-
การวางตัวอิเล็กตรอนของมัน
คืออิเล็กตรอน 1s2 จำนวน 2 ตัวใน
-
ออร์บิทอล 1s
-
แล้วก็ 2s2 แล้วก็ 2p2 จริงไหม?
-
มันเหลืออิเล็กตรอนแค่ 2 ตัวเพราะมันมี
-
อิเล็กตรอนทั้งหมด 6 ตัว
-
2 ตัวไปตรงนี้ แล้วก็ตรงนั้น
แล้ว 2 ตัวที่เหลือ
-
จะอยู่ในออร์บิทอล p
-
ถ้าคุณคิดตามสิ่งที่เราวาดและพูดถึงไป
-
ตรงนี้ สิ่งที่คุณคาดว่าจะเกิดกับ
-
คาร์บอน -- ขอผมวาดมันแยกออกมานะ
-
คุณก็มีออร์บิทอล 1s
ออร์บิทอล 2s แล้วคุณ
-
ก็มีออร์บิทอล 2px ออร์บิทอล 2py
แล้วคุณก็มี
-
ออร์บิทอล 2pz
-
ถ้าคุณคิดตรงจากการวางตัวอิเล็กตรอน
-
คุณคงคาดว่าคาร์บอน
ชั้น 1s เต็มก่อน
-
นั่นคืออิเล็กตรอนตัวแรกของเรา อิเล็กตรอน
-
ตัวที่ 2 อิเล็กตรอนตัวที่ 3
-
แล้วเราไปยังออร์บิทอล 2s ของเรา
เติมต่อไป ตัวที่ 3
-
แล้วก็อิเล็กตรอนตัวที่ 4
-
แล้วคุณคงคาดว่าบางทีอิเล็กตรอนตัวที่ 5
-
จะไปอยู่ใน 2px.
-
เราจะเรียกว่า 2py หรือ 2pz ก็ได้
-
ขึ้นอยู่กับว่าคุณกำกับแกนอย่างไร
-
คุณจะมีอิเล็กตรอนตัวที่ 5
อยู่ในออร์บิทอล p
-
อันหนึ่ง แล้วคุณก็คาดว่า
-
ตัวที่ 6 จะไปอยู่อีกออร์บิทอลหนึ่ง
-
คุณคาดว่านั่นคือการจัดเรียง
-
สำหรับคาร์บอนที่ถูกต้อง
-
และถ้าเราวาดภาพมัน --
ขอผมวาดแกนนะ
-
นั่นคือแกน y ของเราและ
นี่คือแกน x ของเรา
-
ขอผมวาดให้สวยกว่านั้นหน่อย
-
นั่นก็คือแกน x และแน่นอน คุณมีแกน z
-
คุณต้องคิดเป็นสามมิติหน่อย
-
แล้วคุณมีแกน z อย่างนั้น
-
ก่อนอื่นเราเติมออร์บิทอล 1s
ถ้านิวเคลียสของเรา
-
นั่งอยู่ตรงนี้ ออร์บิทอล 1s จะมี
-
อิเล็กตรอนสองตัวอยู่เต็ม
-
คุณนึกภาพว่ามันเป็นกลุ่มหมอก
-
รอบนิวเคลียสก็ได้
-
แล้วเราเติมออร์บิทอล 2s
นั่นจะเป็นหมอก
-
รอบนิวเคลียส เป็นเหมือนเปลือกล้อมรอบ
-
แล้วเราก็ใส่อิเล็กตรอนหนึ่งตัว
ในออร์บิทอล 2px อิเล็กตรอน
-
หนึ่งตัวจะเริ่มกระโดดไปมาหรือวิ่งไปมา
-
แล้วแต่คุณจะอยากคิดอย่างไร
-
ในออร์บิทอลตรงนี้ คือ 2px.
-
แล้วคุณจะมีอิเล็กตรอน
ตัวต่อไปกระโดดหรือ
-
วิ่งไปมาในออร์บิทอล 2py
มันจะเคลื่อนที่
-
ไปมาแบบนี้
-
ถ้าคุณทำตามนั้น คุณอาจบอกว่า รู้ไหม?
-
อิเล็กตรอนพวกนี้
ตัวนี้ตรงนี้ กับตัวนั้นตรงนั้น
-
ช่างโดดเดี่ยวเหลือเกิน
-
มันกำลังตามหาคู่สปินตรงข้าม
-
นี่เป็นตำแหน่งเดียวที่พันธะจะเกิดได้
-
คุณจะคาดว่ามีพันธะบางอย่างเกิดขึ้น
-
กับออร์บิทอล x หรือออร์บิทอล y
-
ทีนี้ นั่นคือสิ่งที่คุณคาดถ้าคุณทำตาม
-
แบบจำลองนี้ตรงๆ ว่าอิเล็กตรอน
เข้ามาเติมและหน้าตาของ
-
ออร์บิทอลนั้นเป็นอย่างไร
-
ความจริงของคาร์บอน
จะเรียกว่าความจริงที่ง่ายที่สุดของ
-
คาร์บอนก็ได้ คือว่าถ้าคุณดู
โมเลกุลมีเธน มันจะต่าง
-
จากสิ่งที่คุณคาดไว้ตรงนี้ทีเดียว
-
อย่างแรก สิ่งที่คุณคาดไว้ตรงนี้
คือว่าคาร์บอน
-
น่าจะ -- มันน่าจะสร้างพันธะ 2 อัน
-
แต่เรารู้ว่าคาร์บอนสร้างพันธะ
4 อันและมันอยากทำตัว
-
เหมือนมันมีอิเล็กตรอน 8 ตัว
-
จริงๆ แล้วอะตอมแทบทุกตัว
อยากทำตัวเหมือนมี
-
อิเล็กตรอน 8 ตัว
-
เพื่อให้เป็นเช่นนั้น คุณต้องคิด
-
ถึงความเป็นจริงที่ต่างออกไป
-
นี่ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อ
คาร์บอนสร้างพันธะจริงๆ
-
ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อคาร์บอนสร้างพันธะ
-
สิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ
เมื่อคาร์บอนสร้างพันธะ นี่คือ
-
เรื่องของ sp3 hybridization แต่
-
คุณจะเห็นว่ามันไม่ใช่
-
เรื่องซับซ้อนอะไรนัก
-
ฟังดูยาก แต่จริงๆ มันค่อนข้าง
-
ตรงไปตรงมา
-
สิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ เมื่อคาร์บอนสร้างพันธะ
เนื่องจากมันอยากสร้าง
-
พันธะ 4 อันกับสิ่งรอบข้าง
การวางตัวของอิเล็กตรอน
-
คุณคงนึกออก มันจะเป็นแบบนี้มากกว่า
-
คุณมี 1s
-
เรามีอิเล็กตรอน 2 ตัวตรงนั้น
-
แล้วคุณมี 2s, 2px, 2py และ 2pz
-
ตอนนี้สิ่งที่คุณนึกภาพคือว่า
คาร์บอนอยากสร้างพันธะ 4 ตัว
-
มันมีอิเล็กตรอน 4 ตัวที่
อยากจับคู่กับ
-
อิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น
-
ในกรณีของเมธเธน
อะตอมอื่นนั้นคือไฮโดรเจน
-
สิ่งที่คุณนึกภาได้คือว่า
จริงๆ แล้วอิเล็กตรอน --
-
ไฮโดรเจนอาจนำอิเล็กตรอนี่ตรงนี้ไปไว้ใน
-
สถานะพลังงานสูงและใส่มันใน 2z
-
นั่นคือวิธีมองภาพวิธีหนึ่ง
-
อีกตัวนี่ตรงงนี้ อาจไปอยู่ตรงนั้น แล้ว
-
สองตัวนี้อยู่ตรงนี้ กับตรงนี้
-
ทันใดนั้น มันดูเหมือนว่า
คุณมีอิเล็กตรอนโดดเดี่ยวสี่ตัว
-
และพวกมันพร้อมสร้างพันธะ
และนั่นคือภาพที่ถูกต้องกว่า
-
สำหรับการสร้างพันธะของคาร์บอน
-
มันอยากสร้างพันธะกับคนอื่น 4 คน
-
ทีนี้ อิเล็กตรอนจะอยู่ตรงไหนในที่นี้
-
มันค่อนข้างตามใจ และเมื่อคุณมีพันธะ
-
แบบนี้ คุณอาจคาดว่ามันจะ
เกิดพันธะตามแกน x, y,
-
และ z
-
แต่ความเป็นจริง ความเป็นจริงของ
คาร์บอนคือว่าอิเล็กตรอน 4 ตัวนี้
-
ในเปลือกชั้นสองไม่ได้ทำตัวว่าต่างชั้น
-
-- ตัวแรก ไม่ได้ทำตัวเหมือนอยู่ใน
ออร์บิทอล s
-
แล้วก็ p x y z สำหรับอีกสามตัวที่เหลือ
-
พวกมันทุกตัวดูเหมือนว่า
อยู่ในออร์บิทอล s แล้วก็
-
ออร์บิทอล p ไปด้วยนิดหน่อย
-
ขอผมบอกให้ชัดนะ
-
แทนที่จะเป็น 2s
หน้าตาของคาร์บอนจริงๆ
-
คือว่ามันเป็นเหมือน
ออร์บิทอล 2sp3
-
ตัวนั้นดูเหมือนออร์บิทอล 2sp3
ตัวนั้นดูเหมือน
-
ออร์บิทอล 2sp3 ตัวนั้นก็เหมือน
ออร์บิทอล 2sp3
-
พวกมันดูเหมือนว่าอยู่ใน
ออร์บิทอลเดียวกันหมด
-
ออร์บิทอลประเภทพิเศษนี้ --
มันฟังดูพิสดารมาก
-
sp3 hybridized orbital นี้
จริงๆ แล้วก็เหมือนกับ
-
สิ่งที่อยู่ระหว่างออร์บิทอล s กับ p
-
มันมี 25% s และ 75% p
-
คุณนึกภาพว่ามันเป็น
ของสี่อย่างผสมกันก็ได้
-
นั่นคือพฤติกรรมของคาร์บอน
-
เมื่อคุณผสมตัวมันเข้าด้วยกัน
แทนที่จะมีแต่ออร์บิทอล s
-
ถ้านี่คือนิวเคลียส และเราผ่า
-
ตัดขวาง ออร์บิทอล s จะเป็นแบบนั้น
และออร์บิทอล p
-
จะมีหน้าตาเป็นแบบนั้น
-
นี่ก็คือ s และนั่นคือ p
-
เมื่อพวกมันผสมกัน ออร์บิทอลจะเป็นแบบนี้
-
ออร์บิทอล sp3 จะเป็นแบบนี้
-
นี่คือ hybridized sp3 orbital
-
ไฮบริดหมายความว่าสองอย่างผสมกัน
-
รถไฮบริดแปลว่าน้ำมันกับไฟฟ้าผสมกัน
-
ไฮบริดไดซ์ออร์บิทอล
ก็คือ s กับ p ผสมกัน
-
Hybridized sp3 orbitals คือ
ออร์บิทอลเมื่อคาร์บอนมีพันธะ
-
กับของอย่างไฮโดรเจน หรือเวลา
-
มีพันธะกับอะไรก็ตาม
-
ถ้าคุณดูโมเลกุลเมธเธน คนจะพูดถึง
-
sp3 hybridized orbitals
สิ่งที่เขาบอกคือว่าคุณ
-
มีคาร์บอนหนึ่งตัวอยู่ตรงกลาง
-
สมมุติว่านั่นคือนิวเคลียสคาร์บอนตรงนั้น
-
และแทนที่จะมีออร์บิทอล s อยู่ 1 อันกับ
p อีก 3 อัน มันจะมี
-
ออร์บิทอล sp3 อยู่ 4 อัน
-
ขอผมลองวาดออร์บิทอล
sp3 จำนวน 4 อันให้สวยที่สุด
-
สมมติว่านี่คือก้อนใหญ่
ที่ชี้เข้าใกล้เรา
-
และมันมีก้อนเล็กชี้ไปข้างหลัง
-
แล้วมันมีอีกอัน
เป็นก้อนใหญ่อย่างนั้น แล้วก็
-
มีก้อนเล็กข้างหลัง
-
แล้วคุณมีอันที่ไปข้างหลังกระดาษ
-
ขอผมลองวาดนะ
-
คุณนึกภาพว่ามันเป็น
เก้าอี้สามขาก็ได้ แล้ว
-
ก้อนเล็กจะออกมาอย่างนั้น
-
แล้วคุณมีอันที่ก้อนใหญ่ชี้
-
ขึ้นตรงๆ และมันมีก้อนเล็กชี้ลง
-
คุณนึกภาพมันเป็นเก้าอี้สามขาก็ได้
-
ขาหนึ่งไปข้างหลังอย่างนั้น
และอันนั้นกำลังชี้
-
ขึ้นตรงๆ เก้าอี้สามขา
กับอะไรสักอย่าง -- มัน
-
คล้ายกับขาตั้งกล้อง
ผมว่านั่นคือวิธี
-
คิดที่ดีที่สุด
-
นั่นคือนิวเคลียสคาร์บอน
อยู่ตรงกลาง แล้วคุณ
-
มีไฮโดรเจน นั่นคือคาร์บอนตรงนั้น
-
แล้วคุณมีไฮโดรเจน
-
คุณมีไฮโดรเจนตรงนี้
-
ไฮโดรเจนมีแค่อิเล็กตรอนตัวเดียว
ในออร์บิทอล 1s
-
ไฮโดรเจนมีออร์บิทอล 1s
-
คุณมีไฮโดรเจนหนึ่งตัวตรงนี้
ที่มีออร์บิทอล 1s หนึ่งอัน
-
มีไฮโดรเจนตรงนี้
ออร์บิทอล 1s
-
ไฮโดรเจนตรงนี้ ออร์บิทอล 1s
-
นี่คือวิธีที่ออร์บิทอล
ของไฮโดรเจนกับออร์บิทอล
-
ของคาร์บอนปนกัน
-
ออร์บิทอล 1s ของไฮโดรเจน
มีพันธะกับ -- ออร์บิทอล
-
1s ของไฮโดรเจนทำพันธะกับ
-
ออร์บิทอล sp3 แต่ละอันของคาร์บอน
-
เพื่อให้คุณเข้าใจสัญลักษณ์ยิ่งขึ้น เวลาคน
-
พูดถึง hybridized sp3
orbitals เขากำลังบอกว่า
-
ดูนะ คาร์บอนไม่มีพันธะ
-
เมื่อคาร์บอน -- อันนี้ตรงนี้คือ
-
โมเลกุลเมธเธน จริงไหม?
-
นี่คือ CH4 หรือเมธเธน
มันไม่ได้มีพันธะอย่างที่คุณ
-
คาดไว้ถ้าคุณใช้
-
ออร์บิทอล s กับ p ง่ายๆ ตรงๆ
-
ถ้าคุณใช้ออร์บิทอล s กับ p แบบตรงๆ
-
พันธะจะเกิดแบบว่า
-
ไฮโดรเจนอาจอยู่ตรงนั้นกับตรงนั้น ถ้ามันมี
-
ไฮโดรเจน 4 ตัว
อาจเป็นตรงนั้นกับตรงนั้น ขึ้นอยู่กับว่า
-
คุณอยากคิดอย่างไร
-
แต่ความเป็นจริงคือว่า
มันไม่ได้เป็นอย่างนั้น
-
มันดูเหมือนขาตั้งกล้องมากกว่า
-
มันเป็นทรงสี่หน้า
-
วิธีที่ใช้อธิบายรูปทรงนี้ได้ดีที่สุด
-
คือว่าถ้าคุณมีสี่อันเหมือนกัน --
-
รูปร่างออร์บิทอลเหมือนกัน
สี่อัน และสี่อันนั้น
-
คือรูปผสมระหว่าง s กับ p
-
สัญลักษณ์น่ารู้อีกอย่างก็คือ
บางครั้งบางคนคิดว่า
-
มันเป็นคำที่พิสดารมาก
เมื่อคุณมีพันธะระหว่าง
-
โมเลกุลสองตัว โดยออร์บิทอลชี้
-
หากัน คุณก็นึกภาพตรงนี้ได้
-
ออร์บิทอลไฮโดรเจนนี้
กำลังชี้ในทิศนั้น
-
ออร์บิทอล sp3 นี้จะชี้ทิศนั้น และพวกมัน
-
จะทับกันแถวนี้
-
นี่เรียกว่าพันธะซิกม่า
โดยส่วนทับกันอยู่ตามแนว
-
แกนเดียวกับเส้นที่เชื่อมอะตอมสองตัว
-
ตรงนี้ คุณลากเส้นเชื่อมอะตอมสองตัว
ส่วนซ้อนทับจะอยู่
-
บนแกนเดียวกัน
-
นี่คือรูปพันธะโควาเลนต์ที่แข็งแรงที่สุด
และเรื่องนี้เป็น
-
พื้นฐานในการพูดคุยต่อไป
อาจจะวิดีโอหน้า
-
เมื่อเราพูดถึงพันธะพาย
-
บทเรียนสำคัญในวิดีโอนี้ คือ แค่เข้าใจว่า
-
คำนี้หมายถึงอะไร?
คำว่า sp3 hybridized orbital คืออะไร?
-
ไม่มีอะไรใหม่
-
แค่ออร์บิทอล s กับ p ผสมกัน
-
มันเป็น 25% s, 75% p
ซึ่งก็สมเหตุสมผล
-
มันคือสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อคาร์บอน
ก่อพันธะ โดยเฉพาะใน
-
กรณีของเมธเธน
-
นั่นคือสิ่งที่บรรยายโครงสร้างทรงสี่หน้า
-
นั่นคือสาเหตุที่เรามีมุมระหว่างแต่ละสาขา
-
เท่ากับ 109.5 องศา ซึ่ง
ครูบางคนอยากให้คุณรู้
-
มันจึงมีประโยชน์ถ้าคุณรู้ไว้
-
ถ้าคุณนำมุมนี้มา
ตรงนี้ 109.5 มันจะเท่ากับ
-
มุมนั้น หรือถ้าคุณไปข้างหลัง
-
มุมนั่นตรงนั้นก็ 109.5 องศา
อธิบายได้ด้วย sp3
-
hybridization.
-
พันธะเองคือพันธะซิกม่า
-
ส่วนซ้อนทับอยู่ตามแกน
ที่เชื่อมไฮโดรเจน