วอล์ฟกัง เคสลิง (Wolfgang Kessling): วิธีปรับอากาศสนามกีฬา
-
0:01 - 0:02สวัสดีครับทุกท่าน
-
0:02 - 0:04เรากำลังนั่งอยู่ใน
-
0:04 - 0:06ลานประชุมในที่แจ้ง
-
0:06 - 0:08และมีความสุขไปกับ
-
0:08 - 0:10อากาศที่เย็นสบาย
-
0:10 - 0:11ในค่ำคืนนี้
-
0:11 - 0:15แต่ในวันที่กาตาร์จะเป็นเจ้าภาพ
-
0:15 - 0:17การแข่งขันฟุตบอลโลก
-
0:17 - 0:19ในอีก 10 ปีข้างหน้านั้น
-
0:19 - 0:20ปีค.ศ. 2022
-
0:20 - 0:21เรารู้แล้วว่า
-
0:21 - 0:25มันจะร้อนมากๆ และแดดจ้ามากๆ
-
0:25 - 0:27ในฤดูร้อนเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม
-
0:27 - 0:30ในตอนที่กาตาร์ได้รับเลือก
-
0:30 - 0:31ให้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก
-
0:31 - 0:33ผู้คนทั่วโลกต่างสงสัยว่า
-
0:33 - 0:35จะเป็นไปได้อย่างไร
-
0:35 - 0:37ที่นักฟุตบอลจะแข่งขัน
-
0:37 - 0:39อย่างสุดความสามารถ
-
0:39 - 0:40ท่ามกลางสภาพอากาศทะเลทรายแบบนี้?
-
0:40 - 0:42จะเป็นไปได้อย่างไร
-
0:42 - 0:45ที่ผู้ชมจะมานั่งชม
-
0:45 - 0:48กันอย่างเป็นสุขในสนามกีฬากลางแจ้ง
-
0:48 - 0:51ในที่ที่ร้อนแบบนี้?
-
0:51 - 0:52ด้วยความร่วมมือจากสถาปนิกจาก
-
0:52 - 0:54อัลเบิร์ตสเปียร์และหุ้นส่วน ทีมงานวิศวกรของเรา
-
0:54 - 0:56จากทรานส์โซลาร์ได้สนับสนุน
-
0:56 - 0:58และพัฒนาสนามกีฬากลางแจ้ง
-
0:58 - 1:02ที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ 100 เปอร์เซ็นต์
-
1:02 - 1:06และทำความเย็นด้วยแสงอาทิตย์ 100 เปอร์เซ็นต์
-
1:06 - 1:08เดี๋ยวผมจะเล่าให้ฟัง
-
1:08 - 1:09แต่ผมขออธิบายถึง "ความสบาย" เสียก่อน
-
1:09 - 1:11ผมอยากเริ่มจากมุมมองที่มีต่อความสบาย
-
1:11 - 1:12เพราะหลายๆคน
-
1:12 - 1:15สับสนระหว่าง
-
1:15 - 1:17อุณหภูมิโดยรอบ (ambient temperature)
-
1:17 - 1:19กับ ความสบายเชิงความร้อน (thermal comfort)
-
1:19 - 1:21เรามักเห็นแผนภูมิแบบนี้
-
1:21 - 1:23ซึ่งมีเส้นสีแดงๆ
-
1:23 - 1:24แสดงถึงอุณหภูมิในอากาศ
-
1:24 - 1:26ในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม
-
1:26 - 1:28อุณหภูมิจะขึ้นไปสูงถึง 45 องศาเซลเซียส
-
1:28 - 1:31ซึ่งร้อนมากๆ
-
1:31 - 1:33แต่อุณหภูมิในอากาศ
-
1:33 - 1:35ไม่ใช่ตัวแปรตัวเดียว
-
1:35 - 1:37ที่กำหนดความสบาย
-
1:37 - 1:39ผมอยากแสดงงานวิจัย
-
1:39 - 1:43ที่เพื่อนของผมทำ
-
1:43 - 1:45เกี่ยวกับสนามแข่งฟุตบอลโลก
-
1:45 - 1:47สนามโอลิมปิคทั่วโลก
-
1:47 - 1:48เทียบกับความสบาย
-
1:48 - 1:50และวิเคราะห์ความสบาย
-
1:50 - 1:53ที่ผู้คนรู้สึก
-
1:53 - 1:54จากกิจกรรมกีฬาต่างๆ
-
1:54 - 1:56ผมขอเริ่มต้นที่เม็กซิโก
-
1:56 - 1:58อุณหภูมิที่เม็กซิโก
-
1:58 - 1:59อุณหภูมิในอากาศอยู่ระหว่าง
-
1:59 - 2:0215 ถึง 30 องศาเซลเซียส
-
2:02 - 2:04และผู้คนก็มีความสุขมาก
-
2:04 - 2:06เป็นการแข่งขันที่รู้สึกสบายมาก
-
2:06 - 2:08ในเม็กซิโกซิตี้ ลองดูครับ
-
2:08 - 2:11ที่ออร์แลนโด สนามกีฬาคล้ายๆกัน
-
2:11 - 2:13กลางแจ้งเหมือนกัน
-
2:13 - 2:16ผู้คนนั่งกลางแดดจ้า
-
2:16 - 2:18ความชื้นสูง
-
2:18 - 2:19ซึ่งพวกเขาไม่เพลิดเพลินเลย
-
2:19 - 2:21มันไม่สบายตัวเลย
-
2:21 - 2:23อุณหภูมิในอากาศไม่ได้สูงมาก
-
2:23 - 2:26แต่ผู้คนไม่รู้สึกสบายตัวขนาดนั้น
-
2:26 - 2:27ที่โซลล่ะ?
-
2:27 - 2:30เนื่องจากข้อจำกัดด้านการถ่ายทอดสด
-
2:30 - 2:31การแข่งขันกีฬาจึงเกิดขึ้น
-
2:31 - 2:33ในช่วงบ่ายแก่ๆ
-
2:33 - 2:35พระอาทิตย์ตกดินแล้ว
-
2:35 - 2:38ผู้คนจึงรู้สึกสบาย
-
2:38 - 2:41ที่เอเธนส์ล่ะ? สภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
-
2:41 - 2:43แต่ก็ไม่สบายเหมือนกันถ้าต้องอยู่กลางแจ้ง
-
2:43 - 2:46ผู้คนไม่ได้รู้สึกสบาย
-
2:46 - 2:47เรารู้ว่าที่สเปน
-
2:47 - 2:50"โซล อี ซอมบร้า"
-
2:50 - 2:52ถ้าคุณมีตั๋ว
-
2:52 - 2:54และได้ตั๋วในที่ร่ม
-
2:54 - 2:56คุณต้องจ่ายมากขึ้น
-
2:56 - 3:00เพราะคุณได้ที่นั่งที่สบายกว่า
-
3:00 - 3:01ที่ปักกิ่งล่ะ
-
3:01 - 3:03แดดจ้าตอนกลางวัน
-
3:03 - 3:05ความชื้นสูง
-
3:05 - 3:06ซึ่งไม่สบายเลย
-
3:06 - 3:08ถ้าผมเอาข้อมูลทั้งหมด
-
3:08 - 3:09มาดูรวมกัน
-
3:09 - 3:11สิ่งที่เราเห็นคือ
-
3:11 - 3:14ในทุกที่เหล่านี้
-
3:14 - 3:17อุณหภูมิในอากาศอยู่ระหว่าง 25
-
3:17 - 3:19ถึง 35 องศาเซลเซียส
-
3:19 - 3:22และถ้าเรามองอุณหภูมิโดยรอบ
-
3:22 - 3:24ที่เส้น 30 องศาเซลเซียส
-
3:24 - 3:25ถ้าเรามองที่เส้นนี้
-
3:25 - 3:28เราจะเห็นว่ามีระดับความสบาย
-
3:28 - 3:30แตกต่างกันไปมากมาย
-
3:30 - 3:32เริ่มตั้งแต่
-
3:32 - 3:33สบายมากๆ
-
3:33 - 3:35ไปจนถึงไม่สบายมากๆ
-
3:35 - 3:38ทำไมล่ะ?
-
3:38 - 3:39เพราะยังมีตัวแปรอื่นๆมากมาย
-
3:39 - 3:41ที่มีผลกระทบต่อ
-
3:41 - 3:43ความสบายเชิงความร้อน ที่เรารู้สึกได้
-
3:43 - 3:46แสงแดด แบบแดดล้วนๆ
-
3:46 - 3:48แดดที่ถูกพัดมา ซึ่งก็คือลม
-
3:48 - 3:51ลมแรง ลมอ่อน
-
3:51 - 3:53ความชื้นในอากาศ
-
3:53 - 3:55อุณหภูมิโดยรอบ
-
3:55 - 3:58ในบริเวณที่เราอยู่
-
3:58 - 3:59และนี่คืออุณหภูมิในอากาศ
-
3:59 - 4:00ตัวแปรทั้งหมดนี้มีผลกระทบ
-
4:00 - 4:02ต่อความรู้สึกสบายที่เรารู้สึกได้
-
4:02 - 4:04ซึ่งนักวิทยาศาสตร์
-
4:04 - 4:06ได้กำหนดตัวแปรขึ้นมา
-
4:06 - 4:08นั่นก็คือ "อุณหภูมิที่รู้สึกได้"
-
4:08 - 4:10ซึ่งค่าตัวแปรทั้งหมด
-
4:10 - 4:12ถูกนำมาคำนวณ
-
4:12 - 4:15และช่วยให้นักออกแบบ
-
4:15 - 4:17เข้าใจถึงว่าตัวแปรใดส่งผล
-
4:17 - 4:19ที่ทำให้เรารู้สึกสบาย
-
4:19 - 4:20หรือไม่สบายได้
-
4:20 - 4:22ซึ่งเป็นตัวแปร
-
4:22 - 4:23ที่แสดงให้เห็นถึง
-
4:23 - 4:26อุณหภูมิที่รู้สึกได้
-
4:26 - 4:28ตัวแปรเหล่านี้
-
4:28 - 4:32ก็ย้อนกลับมามีผลต่อ การเผาผลาญในร่างกายเรา
-
4:32 - 4:34เพราะการเผาผลาญ
-
4:34 - 4:36ของร่างกายมนุษย์นั้น
-
4:36 - 4:38เราปล่อยความร้อนออกมา
-
4:38 - 4:39ผมรู้สึกตื่นเต้น ที่ได้มาพูดให้พวกคุณฟัง
-
4:39 - 4:41ในขณะนี้
-
4:41 - 4:42บางทีผมกำลังปล่อยพลังงาน
-
4:42 - 4:43สัก 150 วัตต์
-
4:43 - 4:45คุณนั่งอยู่อย่างสบายๆ
-
4:45 - 4:46น่าจะผลิตสัก
-
4:46 - 4:48100 วัตต์ต่อคน
-
4:48 - 4:50และเราต้องหาทาง
-
4:50 - 4:52ปล่อยพลังงานนี้ทิ้งไป
-
4:52 - 4:53ร่างกายผมต้องเอาพลังงานออกไป
-
4:53 - 4:55และเมื่อไหร่ที่ร่างกายผม
-
4:55 - 4:57ปล่อยพลังงานออกไปได้ยากขึ้น
-
4:57 - 5:00ผมก็จะรู้สึกไม่สบายกายมากขึ้น
-
5:00 - 5:02แค่นั้นเลยครับ
-
5:02 - 5:03ถ้าผมไม่สามารถระบายพลังงานนี้ได้เลย
-
5:03 - 5:05ผมก็จะตาย
-
5:05 - 5:09ถ้าเราวิเคราะห์ว่า อะไรจะเกิดขึ้น
-
5:09 - 5:11การแข่งขันฟุตบอลโลก
-
5:11 - 5:13ในช่วงเดือนมิถุนายนและกรกฎาคมนั้น
-
5:13 - 5:14เราจะเห็นว่า อุณหภูมิในอากาศ
-
5:14 - 5:16จะสูงกว่ามากๆ
-
5:16 - 5:17แต่เนื่องจากเราจะแข่งกัน
-
5:17 - 5:20ในช่วงบ่าย
-
5:20 - 5:22เราจะได้ความสบาย
-
5:22 - 5:23ในช่วงระยะ
-
5:23 - 5:25พอๆกันกับที่อื่นๆ
-
5:25 - 5:27ที่คนรู้สึกไม่สบายกาย
-
5:27 - 5:29เราเลยนั่งคุยกับทีมงาน
-
5:29 - 5:31ที่เป็นคนเขียนหนังสือเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ
-
5:31 - 5:34เราบอกว่า เราจะตั้งเป้า
-
5:34 - 5:36ให้อุณหภูมิที่รู้สึกได้
-
5:36 - 5:38ในสนามกลางแจ้ง ให้อยู่ในช่วงนี้
-
5:38 - 5:40ซึ่งอยู่ที่ประมาณ
-
5:40 - 5:4332 องศาเซลเซียส
-
5:43 - 5:45ซึ่งเป็นสภาพอากาศ
-
5:45 - 5:47ที่ผู้ชมจะรู้สึกสบายมากๆ
-
5:47 - 5:50ผู้ชมจะรู้สึกสบาย
-
5:50 - 5:52ในบรรยากาศกลางแจ้ง
-
5:52 - 5:54แต่หมายความว่าอย่างไร
-
5:54 - 5:56ถ้าเราไปดูว่าตอนนี้เป็นอย่างไร
-
5:56 - 5:58เราจะเห็นว่า อุณหภูมินั้นสูงเกินไป
-
5:58 - 6:01ถ้าเราใช้การออกแบบสถาปัตยกรรมที่ดีที่สุด
-
6:01 - 6:02การออกแบบวิศวกรรมสภาพอากาศ
-
6:02 - 6:04เราจะเจอทางตัน
-
6:04 - 6:07เราต้องทำอะไรที่ดีกว่านั้น
-
6:07 - 6:09ตัวอย่างเช่น
-
6:09 - 6:11เทคโนโลยีระบายความร้อนด้วยการแผ่รังสี
(radiant cooling) -
6:11 - 6:13และเราต้องผนวกสิ่งนี้
-
6:13 - 6:15เข้ากับการปรับสภาวะแบบอ่อน (soft conditioning)
-
6:15 - 6:16ตอนนี้สภาพอากาศในสนามจะเป็นอย่างไรล่ะ?
-
6:16 - 6:19ในสนามจะมีไม่กี่ปัจจัย
-
6:19 - 6:20ที่ทำให้เกิดความสบายกาย
-
6:20 - 6:22อย่างแรกเลย
-
6:22 - 6:24การจัดที่ร่ม
-
6:24 - 6:26สนามต้องป้องกันผู้ชม
-
6:26 - 6:28จากลมร้อน
-
6:28 - 6:29และลมแรง
-
6:29 - 6:31แต่นั่นไม่ใช่ทั้งหมด
-
6:31 - 6:34เราต้องใช้
-
6:34 - 6:36ระบบเชิงรุก
-
6:36 - 6:38แทนที่จะเป่าพายุลมเย็น
-
6:38 - 6:41เข้าไปในสนาม
-
6:41 - 6:42เราสามารถใช้เทคโนโลยี
-
6:42 - 6:44ระบายความร้อนแบบแผ่รังสี
-
6:44 - 6:47คล้ายๆกับการทำความอุ่นบนพื้น
-
6:47 - 6:49ด้วยท่อน้ำร้อนใต้พื้น
-
6:49 - 6:51โดยเราใช้น้ำเย็น
-
6:51 - 6:52ส่งผ่านไปตามท่อน้ำใต้ดินแทน
-
6:52 - 6:54ซึ่งสามารถระบายความร้อน
-
6:54 - 6:56ที่จะถูกปล่อยในสนาม
-
6:56 - 6:57ในช่วงกลางวัน
-
6:57 - 6:59เพื่อสร้างความสบายกาย
-
6:59 - 7:02จากนั้นจึงปล่อยลมแห้งๆ
-
7:02 - 7:04แทนที่จะเป็นลมเย็น
-
7:04 - 7:06เพื่อให้ผู้ชมและนักกีฬา
-
7:06 - 7:08สามารถปรับตัว
-
7:08 - 7:10เข้ากับความต้องการ
-
7:10 - 7:12ของร่างกายแต่ละคนได้
-
7:12 - 7:13พวกเขาสามารถปรับตัว
-
7:13 - 7:16และหาความสบายที่พวกเขาต้องการ
-
7:16 - 7:20เราน่าจะมีประมาณ
-
7:20 - 7:2212 สนามแข่งขัน
-
7:22 - 7:25แต่เราจะมีถึง 32 สนามฝึกซ้อม
-
7:25 - 7:26ที่แต่ละประเทศจะใช้
-
7:26 - 7:27ในการฝึกซ้อม
-
7:27 - 7:29เราใช้คอนเซปเดียวกัน
-
7:29 - 7:32การบังแดด
-
7:32 - 7:34การป้องกันสนามแข่งจากลม
-
7:34 - 7:36และการใช้พื้นหญ้า
-
7:36 - 7:39สนามหญ้าที่มีการรดน้ำ
-
7:39 - 7:40เป็นแหล่งระบายความร้อน
-
7:40 - 7:42ที่ช่วยปรับอุณหภูมิได้อย่างดีเยี่ยม
-
7:42 - 7:43และการใช้ลมที่ถูกนำความชื้นออก
-
7:43 - 7:45จะสร้างความสบายกายได้
-
7:45 - 7:48แต่แม้กระทั่งการออกแบบทางอ้อมที่ดีที่สุด
-
7:48 - 7:49ก็จะช่วยได้ไม่เต็มที่
-
7:49 - 7:50เราต้องมีระบบเชิงรุก
-
7:50 - 7:51เราจะทำอย่างไรล่ะ?
-
7:51 - 7:54ความคิดของเราตอนที่ประมูลนั้น
-
7:54 - 7:55การระบายความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 100 เปอร์เซ็นต์
-
7:55 - 7:57มีบรรทัดฐานจากความคิดที่ว่า
-
7:57 - 7:59เราจะใช้หลังคาสนามแข่ง
-
7:59 - 8:01เราจะปูหลังคาสนามแข่ง
-
8:01 - 8:03ด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์
-
8:03 - 8:05เราจะไม่ขอยืมพลังงาน
-
8:05 - 8:07มาจากยุคโบราณ
-
8:07 - 8:08เราจะไม่ใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
-
8:08 - 8:10เราจะไม่ขอยืมพลังงาน
-
8:10 - 8:11จากเพื่อนบ้านของเรา
-
8:11 - 8:13เราจะใช้พลังงานที่เราสามารถเก็บเกี่ยว
-
8:13 - 8:16ได้จากหลังคาของเรา
-
8:16 - 8:18ซึ่งสนามฝึกซ้อมทั้งหลาย
-
8:18 - 8:21จะถูกปูด้วยแผงรับแสงอาทิตย์
-
8:21 - 8:23ที่ใหญ่และยืดหยุ่น
-
8:23 - 8:24ในอีกไม่กี่ปี
-
8:24 - 8:26เราจะเห็นอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์
-
8:26 - 8:27ที่ยืดหยุ่น
-
8:27 - 8:29ที่สามารถให้ป้องกันเรา
-
8:29 - 8:31จากแดดแรงๆ
-
8:31 - 8:33และผลิตไฟฟ้าให้เราใช้ไปพร้อมๆกัน
-
8:33 - 8:35พลังงานนี้
-
8:35 - 8:36กำลังถูกเก็บเกี่ยวตลอดปี
-
8:36 - 8:38ถูกส่งไปตามสายไฟฟ้า
-
8:38 - 8:40และกำลังแทนที่พลังงานฟอสซิล
-
8:40 - 8:42เมื่อเราต้องใช้มันสำหรับระบายความร้อน
-
8:42 - 8:45เราก็จะดึงมัน
-
8:45 - 8:47กลับมาจากโครงข่ายไฟฟ้า
-
8:47 - 8:49เราจะใช้พลังงานแสงอาทิตย์
-
8:49 - 8:51ที่เราส่งไปตามโครงข่ายไฟฟ้า
-
8:51 - 8:53กลับมาเมื่อเราต้องการ
-
8:53 - 8:53ใช้ระบายความร้อน
-
8:53 - 8:55เราสามารถทำได้ในปีแรก
-
8:55 - 8:56เราสามารถทำได้
-
8:56 - 8:57ในอีก 10
-
8:57 - 8:59และในอีก 20 ปี
-
8:59 - 9:02พลังงานที่ใช้
-
9:02 - 9:03ในการแข่งขันฟุตบอลโลกที่กาตาร์
-
9:03 - 9:05ในอีก 20 ปี
-
9:05 - 9:08มันจะเข้าสู่โครงข่ายไฟฟ้าของกาตาร์
-
9:08 - 9:09(เสียงปรบมือ)
-
9:09 - 9:10ขอบคุณครับ (เสียงปรบมือ)
-
9:10 - 9:13สิ่งนี้ไม่ได้เป็นประโยชน์
-
9:13 - 9:15สำหรับสนามแข่งเท่านั้น
-
9:15 - 9:17เราสามารถใช้ในสถานที่แจ้งอื่นๆ
-
9:17 - 9:18และเรากำลังศึกษา
-
9:18 - 9:20เกี่ยวกับเมืองแห่งอนาคต
-
9:20 - 9:21ที่มาสดาร์ (Masdar)
-
9:21 - 9:22ในอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
-
9:22 - 9:24และผมดีใจที่ได้ทำงานกับ
-
9:24 - 9:26เซ็นทรัลพลาซ่า
-
9:26 - 9:28ซึ่งเป็นความคิดเดียวกัน
-
9:28 - 9:29ที่ใช้ในการสร้างความรู้สึก
-
9:29 - 9:30ที่ทำให้รู้สึกสบายกาย
-
9:30 - 9:32ผู้คนเพลิดเพลิน
-
9:32 - 9:34กับการไปที่นั่น
-
9:34 - 9:36มากกว่าการเดินห้าง
-
9:36 - 9:37ซึ่งต้องถูกทำความเย็น
-
9:37 - 9:39เราต้องการสร้าง
-
9:39 - 9:41พื้นที่แจ้ง
-
9:41 - 9:42ที่มีความสบายขนาดที่ว่า
-
9:42 - 9:44ผู้คนสามารถไปในช่วง
-
9:44 - 9:46บ่ายอ่อนๆ แม้กระทั่ง
-
9:46 - 9:48เดือนที่ร้อนสุดๆ
-
9:48 - 9:50พวกเขาจะสามารถเพลิดเพลิน
-
9:50 - 9:51ไปกับครอบครัวของพวกเขาได้
(เสียงปรบมือ) -
9:51 - 9:53และแนวคิดเดียวกันนี้
-
9:53 - 9:54การป้องกันจากแสงแดด
-
9:54 - 9:55การป้องกันจากลม
-
9:55 - 9:59และการใช้ประโยชน์
-
9:59 - 10:02การเก็บเกี่ยวจากแสงอาทิตย์
-
10:02 - 10:03ตามทางเดินของเรา
-
10:03 - 10:05และจากร่มที่สวยงามเหล่านี้
-
10:05 - 10:09ผมอยากชักชวนให้ทุกคน
-
10:09 - 10:12เพ่งความสนใจ
-
10:12 - 10:13ไปที่ความสบายเชิงความร้อน
-
10:13 - 10:14ไปที่สภาพแวดล้อมทางความร้อน
-
10:14 - 10:17ในคืนนี้ และคืนพรุ่งนี้
-
10:17 - 10:19และถ้าคุณต้องการรู้เพิ่มเติม
-
10:19 - 10:20ผมอยากเชื้อเชิญให้คุณ
-
10:20 - 10:21ไปที่เว็บไซต์ของเรา
-
10:21 - 10:23เราได้สร้างเครื่องคิดเลขง่ายๆ
-
10:23 - 10:26ที่ใช้ในการคำนวณอุณหภูมิที่รู้สึกได้
-
10:26 - 10:27ที่คุณสามารถตรวจสอบ
-
10:27 - 10:28ความสบายกายกลางแจ้งของคุณได้
-
10:28 - 10:31และผมหวังว่า
-
10:31 - 10:33การแบ่งปันแนวคิดเหล่านี้
-
10:33 - 10:35ถ้าวิศวกรและนักออกแบบทั้งหลาย
-
10:35 - 10:36สามารถนำตัวแปรทางสภาพแวดล้อม
-
10:36 - 10:38ต่างๆเหล่านี้ไปใช้
-
10:38 - 10:41ก็จะเป็นไปได้ที่เราจะสร้าง
-
10:41 - 10:44สภาพแวดล้อมกลางแจ้ง
-
10:44 - 10:46ที่สบายกายมากๆได้
-
10:46 - 10:49เพื่อเปลี่ยนแปลงความรู้สึกของเรา
-
10:49 - 10:51ต่อความร้อน ที่เรารู้สึกสบายกาย
-
10:51 - 10:53ในสภาพแวดล้อมกลางแจ้ง
-
10:53 - 10:55และเราสามารถทำได้
-
10:55 - 10:57จากการออกแบบทางอ้อม
-
10:57 - 11:00และการใช้แหล่งพลังงาน
-
11:00 - 11:03เฉกเช่นกาตาร์
-
11:03 - 11:04ที่ใช้แสงอาทิตย์
-
11:04 - 11:06(เสียงปรบมือ)
-
11:06 - 11:08ขอบคุณมากครับ (เสียงปรบมือ)
-
11:08 - 11:11ชูกราน (เสียงปรบมือ)
- Title:
- วอล์ฟกัง เคสลิง (Wolfgang Kessling): วิธีปรับอากาศสนามกีฬา
- Speaker:
- Wolfgang Kessling
- Description:
-
ในเดือนที่ร้อนระอุของฤดูร้อน การชมกีฬาหรือคอนเสิร์ตกลางแจ้งอาจเปรียบได้กับถูกอบท่ามกลางแสงอาทิตย์ แต่มันไม่จำเป็นต้องเป็นแบบนั้นเสมอไป ณ TEDxSummit ที่โดฮา นักฟิสิกส์ วอล์ฟกัง เคสลิง ได้เปิดเผยนวัตกรรมการออกแบบอย่างยั่งยืน ที่สามารถระบายความร้อนได้ทั้งเหนือเราและใต้เรา แม้กระทั่งกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ เพื่อใช้ในภายภาคหน้า
- Video Language:
- English
- Team:
closed TED
- Project:
- TEDTalks
- Duration:
- 11:35
![]() |
Unnawut Leepaisalsuwanna edited Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Unnawut Leepaisalsuwanna edited Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Unnawut Leepaisalsuwanna commented on Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Dimitra Papageorgiou approved Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Kelwalin Dhanasarnsombut accepted Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Kelwalin Dhanasarnsombut commented on Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces | |
![]() |
Kelwalin Dhanasarnsombut edited Thai subtitles for How to air-condition outdoor spaces |