< Return to Video

Mixed numbers and improper fractions

  • 0:01 - 0:03
    ตอนนี้เราจะเรียนเวลาเปลี่ยนจากจำนวนคละ
  • 0:03 - 0:06
    เป็นเศษส่วนเกิน และในทางกลับกัน.
  • 0:06 - 0:07
    อย่างแรก ดูศัพท์กันหน่อย.
  • 0:07 - 0:08
    จำนวนคละคืออะไร?
  • 0:08 - 0:10
    ตรงนี้ คุณอาจเคยเห็นคนเขียน
  • 0:10 - 0:14
    สมมุติว่า 2 1/2.
  • 0:14 - 0:15
    นี่คือจำนวนคละ.
  • 0:15 - 0:17
    ทำไมถึงเป็นจำนวนคละ?
  • 0:17 - 0:22
    เพราะเรารวมจำนวนเต็ม และเศษส่วนด้วยกัน.
  • 0:22 - 0:23
    เลยเป็นจำนวนคละ.
  • 0:23 - 0:24
    มันคือจำนวนเต็มคละกับเศษส่วน.
  • 0:25 - 0:25
    คือ 2 1/2.
  • 0:25 - 0:28
    และผมว่าคุณคงเข้าใจว่า 2 1/2 คืออะไร.
  • 0:28 - 0:31
    มันอยู่กึ่งกลางระหว่าง 2 กับ 3.
  • 0:31 - 0:32
    เศษส่วนเกินคืออะไร?
  • 0:32 - 0:34
    เศษส่วนเกิน หรือเศษส่วนไม่แท้
  • 0:34 - 0:37
    คือเศษส่วนที่มีตัวเศษมากกว่าตัวส่วน.
  • 0:37 - 0:39
    ลองยกตัวอย่างเศษเกินกัน.
  • 0:39 - 0:41
    ผมจะเหลือเลขสุ่มมานะ.
  • 0:41 - 0:48
    สมมุติว่าผมมี 23 ส่วน 5.
  • 0:48 - 0:49
    นี่คือเศษส่วนเกิน.
  • 0:49 - 0:50
    ทำไม?
  • 0:50 - 0:52
    เพราะ 23 มากกว่า 5.
  • 0:52 - 0:54
    ง่ายๆ เลย.
  • 0:54 - 0:59
    ที่จริงแล้วคุณแปลงเศษส่วนเกินเป็นจำนวนคละ
  • 0:59 - 1:01
    หรือจำนวนคละเป็นเศษส่วนเกินได้.
  • 1:01 - 1:03
    ลองเริ่มจากอย่างหลังก่อน.
  • 1:03 - 1:07
    ลองเรียนวิธีแปลงจำนวนคละเป็นเศษเกินกัน.
  • 1:07 - 1:11
    อย่างแรก ผมจะแสดงวิธีพื้นฐานให้ดูก่อน.
  • 1:11 - 1:13
    มันจะให้คำตอบที่ถูกต้อง.
  • 1:13 - 1:15
    แล้วผมจะอธิบายที่มาว่าทำไมถึงได้อย่างนั้น.
  • 1:15 - 1:19
    ถ้าผมอยากแปลง 2 1/2 เป็นเศษส่วนเกิน
  • 1:19 - 1:21
    หรือผมอยากเลิกคละมัน ว่างันก็ได้
  • 1:21 - 1:28
    ที่ผมต้องทำ คือผมเอาตัวส่วนของเศษส่วนมา
    คูณด้วยจำนวนเต็ม
  • 1:28 - 1:30
    แล้วบวกตัวเศษ.
  • 1:30 - 1:31
    ลองทำดู.
  • 1:31 - 1:34
    ผมว่า ถ้าเราทำตัวอย่างมากพอ
  • 1:34 - 1:35
    คุณจะเห็นรูปแบบเอง.
  • 1:35 - 1:40
    แล้ว 2 คูณ 2 ได้ 4 บวก 1 ได้ 5.
  • 1:40 - 1:41
    ลองเขียนดู.
  • 1:41 - 1:46
    2 คูณ 2 บวก 1,
  • 1:46 - 1:48
    นั่นจะเป็นตัวเศษใหม่.
  • 1:48 - 1:50
    มันจะเท่ากับทั้งหมดนั้นหารตัวส่วนเดิม.
  • 1:50 - 1:55
    นั่นเท่ากับครึ่งหนึ่ง 5 อัน.
  • 1:55 - 2:01
    2 1/2 จึงเท่ากับ 5/2.
  • 2:01 - 2:02
    ลองทำอีกอันดู.
  • 2:02 - 2:08
    สมมุติว่าผมมี 4 2/3.
  • 2:08 - 2:12
    นี่เท่ากับ -- เท่ากับทั้งหมดนี้ส่วน 3.
  • 2:12 - 2:13
    เราให้ตัวส่วนเหมือนเดิม.
  • 2:13 - 2:18
    และตัวเศษใหม่จะเท่ากับ 3 คูณ 4
    บวก 2.
  • 2:18 - 2:24
    มันจะเท่ากับ 3 คูณ 4, แล้วก็บวก 2.
  • 2:24 - 2:26
    ทีนี้ มันเท่ากับ 3 คูณ 4 --
  • 2:26 - 2:28
    ลำดับการดำเนินการ คุณคูณก่อนเสมอ
  • 2:28 - 2:31
    ที่จริงผมสอนไปแล้ว -- วิธีแปลงนี้ ช่างเถอะ
  • 2:31 - 2:34
    3 คูณ 4 ได้ 12 บวก 2 ได้ 14.
  • 2:34 - 2:38
    นั่นจึงเท่ากับ 14 ส่วน 3. ลองอีกข้อ.
  • 2:38 - 2:39
  • 2:39 - 2:49
    สมมุติว่าผมมี 6 17/18.
  • 2:49 - 2:51
    ผมตั้งโจทย์ยากเอง.
  • 2:51 - 2:54
    เราก็ให้ตัวส่วนเหมือนเดิม.
  • 2:54 - 2:57
    แล้วตัวเศษใหม่จะเท่ากับ 18 คูณ 6
  • 2:57 - 3:04
    หรือ 6 คูณ 18, บวก 17.
  • 3:04 - 3:05
    ทีนี้ 6 คูณ 18.
  • 3:05 - 3:08
    ลองดู มันคือ 60 บวก 48 ได้ 108
  • 3:08 - 3:12
    นั่นเท่ากับ 108 บวก 17.
  • 3:12 - 3:14
    ทั้งหมดนั่นส่วน 18.
  • 3:14 - 3:20
    108 บวก 17 เท่ากับ 125 ส่วน 18.
  • 3:20 - 3:29
    แล้ว 6 17/18 เท่ากับ 125/18.
  • 3:29 - 3:30
    ลองทำอีก.
  • 3:30 - 3:33
    อีกไม่กี่นาที ผมจะสอนวิธีหากลับ
  • 3:33 - 3:40
    จากเศษส่วนเกิน เป็นจำนวนคละ.
  • 3:40 - 3:45
    และอันนี้ ผมจะพยายามอธิบาย
    ที่มาว่าทำไมสิ่งที่ผมสอนถึงถูกต้อง.
  • 3:45 - 3:52
    สมมุติว่า 2 1/4.
  • 3:52 - 3:56
    ถ้าเราใช้ -- จะเรียกว่าระบบก็ได้ --
  • 3:56 - 4:04
    มันเท่ากับ 4 คูณ 2 บวก 1 ส่วน 4.
  • 4:04 - 4:10
    นั่นเท่ากับ, 4 คูณ 2 ได้ 8 บวก 1 ได้ 9.
    9 ส่วน 4.
  • 4:10 - 4:14
    ผมอยากให้คุณเข้าใจที่มาว่าทำไมถึงใช้ได้.
  • 4:14 - 4:17
    2 1/4, ลองวาดออกมา.
  • 4:17 - 4:18
    ดูว่าเป็นยังไง.
  • 4:18 - 4:22
    ลองใช้การเปรียบเทียบกับพายดู.
  • 4:22 - 4:26
    นั่นคือเท่ากับพายหนึ่งถาด.
  • 4:26 - 4:28
    สองถาด.
  • 4:28 - 4:34
    แล้วสมมมุติว่า หนึ่งในสี่ถาด. โอ้ โทษที.
  • 4:34 - 4:38
    1/4 เป็นแบบนี้ 1/4 ถาด จริงไหม?
  • 4:38 - 4:42
    2 1/4, ไม่ต้องสนอันนี้ ไม่มีอะไร.
  • 4:42 - 4:43
    มันไม่ใช่ทศนิยม -- ที่จริง ขอผมลบดีกว่า
  • 4:43 - 4:52
    คุณจะได้ไม่งง.
  • 4:52 - 4:54
    กลับไปที่ชิ้นพายกัน.
  • 4:54 - 4:59
    มีพาย 2 1/4 ถาด.
  • 4:59 - 5:05
    และเราอยากเขียนมันไหม ว่ามีหนึ่งในสี่ถาด
    อยู่ทั้งหมดกี่ชิ้น?
  • 5:05 - 5:08
    ทีนี้ ถ้าเราพายแต่ละถาดมา --
  • 5:08 - 5:10
    โอ๊ะ! ผมต้องเปลี่ยนสีแล้ว --
  • 5:10 - 5:13
    ถ้าเราพายแต่ละถาดมา
  • 5:13 - 5:15
    และเราแบ่งเป็นสี่ส่วนเท่าๆ กัน
  • 5:15 - 5:19
    เราก็บอกได้ว่า เรามีพาย
    หนึ่งในสี่ถาดกี่ชิ้น?
  • 5:19 - 5:28
    เรามี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ชิ้น.
  • 5:28 - 5:30
    เข้าใจได้ จริงไหม?
  • 5:30 - 5:34
    2 1/4 เท่ากับ 9/4.
  • 5:34 - 5:37
    และมันใช้ได้กับเศษส่วนใดๆ.
  • 5:37 - 5:38
    ลองทำกลับกันบ้าง.
  • 5:38 - 5:42
    ลองไปจากเศษส่วนเกิน
  • 5:42 - 5:44
    เป็นจำนวนคละบ้าง.
  • 5:44 - 5:49
    สมมุติว่าผมมี 23 ส่วน 5.
  • 5:49 - 5:51
    ตอนนี้เราจะทำกลับกัน.
  • 5:51 - 5:53
    เราจะเอาตัวส่วนมา
  • 5:53 - 5:55
    แล้วบอกว่ามันไปหารตัวเศษได้กี่ครั้ง?
  • 5:55 - 5:58
    แล้วเราหาเศษเหลือออกมา.
  • 5:58 - 6:03
    สมมุติว่า 5 ไปหาร 23 --
  • 6:03 - 6:05
    ทีนี้ 5 ไปหาร 23 ได้ 4 ครั้ง.
  • 6:05 - 6:09
    4 คูณ 5 ได้ 20.
  • 6:09 - 6:11
    และเศษเหลือเป็น 3.
  • 6:11 - 6:17
    23 ส่วน 5, เราบอกได้ว่า มันเท่ากับ 4,
  • 6:17 - 6:20
    และเศษเหลือ, 3 ส่วน 5.
  • 6:20 - 6:25
    มันก็คือ 4 3/5.
  • 6:25 - 6:27
    ลองทบทวนว่าทำอะไรไป.
  • 6:27 - 6:28
    เราเพิ่งเอาตัวส่วนมา
  • 6:28 - 6:30
    แล้วเอาไปหารตัวเศษ.
  • 6:30 - 6:34
    5 ไปหาร 23 ได้ 4 ครั้ง
  • 6:34 - 6:38
    และสิ่งที่เหลือคือ 3.
  • 6:38 - 6:42
    ทีนี้ 5 ไปหาร 23 ได้ 4 3/5 ครั้ง.
  • 6:42 - 6:46
    หรือพูดอีกอย่างคือ 23 ส่วน 5
    คือ 4 3/5.
  • 6:46 - 6:48
    ลองทำตัวอย่างแบบนั้นอีก.
  • 6:48 - 6:52
    สมมุติว่า 17 ส่วน 8.
  • 6:52 - 6:54
    มันเท่ากับจำนวนคละอะไร?
  • 6:54 - 6:55
    คุณคิดในใจได้
  • 6:55 - 6:59
    แต่ผมจะเขียนออกมา จะได้ไม่งง.
  • 6:59 - 7:05
    8 ไปหาร 17 ได้สองครั้ง.
  • 7:05 - 7:08
    2 คูณ 8 ได้ 16.
  • 7:08 - 7:09
    17 ลบ 16 ได้ 1.
  • 7:09 - 7:11
    เศษ เป็น 1.
  • 7:11 - 7:19
    17 ส่วน 8 เท่ากับ 2 -- นั่นคือ 2 นี่
    -- กับ 1/8.
  • 7:19 - 7:23
    จริงไหม? เพราะเราเหลือ 1/8.
  • 7:23 - 7:25
    ขอผมแสดงวิธีแสดงเป็นภาพด้วย
  • 7:25 - 7:29
    มันจะได้ดูมีเหตุผล ว่าการแปลงถูกต้อง.
  • 7:29 - 7:34
    สมมุติว่าผมมี 5/2 ใช่ไหม?
  • 7:34 - 7:37
    นี่หมายความว่าผมมีครึ่ง 5 อัน.
  • 7:37 - 7:41
    หรือผมกลับไปเปรียบเทียบพิซซ่าหรือพายก็ได้
  • 7:41 - 7:45
    ลองวาดพิซซ่า 5/2 ถาดดู.
  • 7:45 - 7:49
    สมมุติว่าผมมีพิซซ่าครึ่งถาดตรงนี้
  • 7:49 - 7:52
    และสมมุติว่าผมมีพิซซ่าอีกครึ่งถาด.
  • 7:52 - 7:55
    ผมแค่พลิกกลับ.
  • 7:55 - 7:55
    นั่นคือ 2.
  • 7:55 - 8:01
    นั่นคือครึ่ง 1 อัน, ครึ่ง 2 อัน.
  • 8:01 - 8:04
    นั่นคือครึ่ง 3 อัน.
  • 8:04 - 8:06
    แล้วผมมีครึ่ง 4 อันตรงนี้.
  • 8:06 - 8:07
    นี่คือพิซซ่าครึ่งถาด.
  • 8:07 - 8:11
    แล้วครึ่งที่ 5 ตรงนี้ ใช่ไหม?
  • 8:11 - 8:13
    นั่นคือครึ่ง 5 อัน.
  • 8:13 - 8:17
    ทีนี้ ถ้าผมดูอันนี้ ถ้าเรารวมครึ่ง 2 อัน
  • 8:17 - 8:22
    มันเท่ากับ 1 ถาด, ผมมีอีกถาด
  • 8:22 - 8:24
    แล้วผมมี 1/2 ถาด ใช่ไหม?
  • 8:24 - 8:31
    นี่จึงเท่ากับ 2 1/2 ถาด.
  • 8:31 - 8:33
    หวังว่าคุณคงไม่งงนะ.
  • 8:33 - 8:37
    และถ้าเราอยากทำเป็นระบบ
  • 8:37 - 8:41
    เราก็บอกว่า 2 ไปหาร 5--
  • 8:41 - 8:43
    2 ไปหาร 5 ได้สองครั้ง
  • 8:43 - 8:47
    และ 2 นั่นอยู่ตรงนั้น.
  • 8:47 - 8:49
    แล้ว 2 คูณ 2 ได้ 4.
  • 8:49 - 8:52
    5 ลบ 4 ได้ 1, เศษจึงเป็น 1.
  • 8:52 - 8:54
    นั่นคือที่เราใช้ตรงนี้.
  • 8:54 - 8:57
    และแน่นอน เราให้ตัวส่วนเท่าเดิม.
  • 8:57 - 8:59
    5/2 จึงเท่ากับ 2 1/2.
  • 8:59 - 9:04
    หวังว่าคุณคงพอเข้าใจวิธีเปลี่ยน
    จำนวนคละเป็นเศษส่วนเกิน
  • 9:04 - 9:05
    และในทางกลับกัน
  • 9:05 - 9:08
    คือจากเศษส่วนเกินเป็นจำนวนคละ.
  • 9:08 - 9:09
    ถ้าคุณยังงง บอกผมนะ
  • 9:09 - 9:12
    ผมอาจทำบทเรียนเพิ่ม.
  • 9:12 - 9:13
    ขอให้สนุกกับแบบฝึกหัดนะ!
Title:
Mixed numbers and improper fractions
Description:

more » « less
Video Language:
English
Duration:
09:13
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Mixed numbers and improper fractions

Thai subtitles

Incomplete

Revisions