การ์ตูนอยู่ในห้องเรียน
-
0:01 - 0:02เมื่อผมอยู่ในชั้นป.5
-
0:02 - 0:07ผมซื้อหนังสือ "DC Comics Presents #57"
-
0:07 - 0:09จากชั้นวางหมุนๆ ในร้านหนังสือแถวบ้านผม
-
0:09 - 0:13และหนังสือการ์ตูนเล่มนี้เปลี่ยนชีวิตผม
-
0:13 - 0:16คำและรูปภาพร่วมกันทำอะไร
บางอย่างในหัวของผม -
0:17 - 0:18ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
-
0:18 - 0:22และผมตกหลุมรักสื่อการ์ตูนทันที
-
0:22 - 0:25ผมกลายเป็นผู้อ่านหนังสือการ์ตูนที่หฤโหด
-
0:25 - 0:27แต่ผมไม่เคยนำไปโรงเรียน
-
0:27 - 0:33ผมรู้ดีว่า หนังสือการ์ตูนไม่ได้อยู่
ในห้องเรียน -
0:33 - 0:35พ่อแม่ของผมไม่ปลื้มอย่างแน่นอน
-
0:35 - 0:38และผมแน่ใจว่า ครูของผมจะไม่ปลื้มเหมือนกัน
-
0:38 - 0:40ท้ายที่สุด ทุกคนไม่เคยใช้การ์ตูนในการสอน
-
0:40 - 0:44หนังสือการ์ตูนและนิยายภาพไม่เคย
ได้รับอนุญาตในคาบอ่านหนังสือ -
0:44 - 0:48และไม่เคยขายในงานหนังสือประจำปีของเรา
-
0:48 - 0:50แม้กระนั้นก็ตาม ผมยังคงอ่านการ์ตูน
-
0:50 - 0:52และผมก็เริ่มทำการ์ตูน
-
0:52 - 0:55ในที่สุด ผมก็กลายเป็นนักเขียน
การ์ตูนที่ตีพิมพ์ -
0:55 - 0:58การเขียนและการวาดหนังสือการ์ตูน
เพื่อหาเลี้ยงชีพ -
0:59 - 1:01ผมก็กลายเป็นครูโรงเรียนมัธยมปลาย
-
1:01 - 1:02นี่คือที่ที่ผมสอน
-
1:02 - 1:05โรงเรียนมัธยม Bishop O'Dowd
ในโอ๊คแลนด์ แคลิฟอร์เนีย -
1:05 - 1:08ผมสอนวิชาคณิตศาสตร์
และสอนศิลปะเล็กน้อย -
1:08 - 1:09แต่ส่วนใหญ่เป็นวิทยาการคอมพิวเตอร์
-
1:09 - 1:11และผมอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 17 ปี
-
1:12 - 1:13เมื่อผมเป็นครูใหม่
-
1:13 - 1:17ผมพยายามนำหนังสือการ์ตูนมาไว้ในห้องเรียน
-
1:17 - 1:20ผมจำได้ว่า ได้บอกนักเรียนของผม
ในวันแรกของทุกชั้น -
1:20 - 1:22ว่า ผมยังเป็นนักเขียนการ์ตูน
-
1:22 - 1:25โดยไม่ได้คิดว่าผมจะสอนนักเรียนด้วยการ์ตูน
-
1:25 - 1:29แต่ผมหวังว่าการ์ตูนจะทำให้
นักเรียนคิดว่าผมเจ๋ง -
1:29 - 1:30(เสียงหัวเราะ)
-
1:30 - 1:32ผมผิดไป
-
1:32 - 1:34นี่คือทศวรรษ 1990
-
1:34 - 1:38หนังสือการ์ตูนไม่ได้มีตราวัฒนธรรม
ที่มีในวันนี้ -
1:38 - 1:42นักเรียนของผมไม่คิดว่าผมเจ๋ง
นักเรียนคิดว่าผมเป็นคนโง่ -
1:42 - 1:45และเลวร้ายกว่านั้น เมื่อผมเข้าตาจน
ระหว่างกำลังสอนในชั้นเรียน -
1:45 - 1:48เด็ก ๆ จะใช้หนังสือการ์ตูน
ทำให้ผมเสียสมาธิ -
1:48 - 1:51นักเรียนจะยกมือขึ้นและตั้งคำถามเช่น
-
1:51 - 1:53"คุณหยาง คุณคิดว่าใครจะชนะในการต่อสู้
-
1:53 - 1:55ซุปเปอร์แมน หรือเดอะฮัลก์"
-
1:55 - 1:56(เสียงหัวเราะ)
-
1:56 - 2:01ผมรู้อย่างรวดเร็วว่า ผมต้องแยกการสอน
และการ์ตูนของผมออกจากกัน -
2:01 - 2:04ดูเหมือนสัญชาตญาณของผมใน
ชั้นป. 5 นั้นถูกต้อง -
2:04 - 2:07หนังสือการ์ตูนไม่ได้อยู่ในห้องเรียน
-
2:08 - 2:09แต่ผมผิดอีกครั้ง
-
2:10 - 2:12ไม่กี่ปีถัดมาในอาชีพครูของผม
-
2:12 - 2:17ผมได้เรียนรู้โดยตรงเกี่ยวกับศักยภาพ
ในการศึกษาโดยใช้การ์ตูน -
2:17 - 2:20ในภาคการศึกษาหนึ่ง ผมถูกขอให้
สอนแทนในคาบพีชคณิต 2 -
2:20 - 2:25ผมถูกขอให้สอนแทนในระยะยาว
และผมตอบว่าได้ แต่มีปัญหาหนึ่ง -
2:25 - 2:28ในขณะที่ผมยังเป็นนักเทคโนโลยี
การศึกษาของโรงเรียน -
2:28 - 2:30ซึ่งหมายความว่า ทุกสองสัปดาห์
-
2:30 - 2:34ผมต้องพลาดชั้นพีชคณิต 2 หนึ่งหรือสองคาบ
-
2:34 - 2:37เพราะผมอยู่ในห้องเรียนอีกแห่งหนึ่ง
เพื่อช่วยครูคนอื่น -
2:37 - 2:39ด้วยกิจกรรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
-
2:39 - 2:42สำหรับนักเรียนพีชคณิต 2 เหล่านี้
นั่นแย่มาก -
2:42 - 2:44ผมหมายถึงการสอนแทนในระยะยาวนั้นแย่มาก
-
2:45 - 2:48แต่มีคนสอนแทนสำหรับการสอนแทน
ของคุณหรือ มันเลวร้ายที่สุด -
2:48 - 2:52ในความพยายามที่จะให้ความสม่ำเสมอ
บางอย่างต่อนักเรียนของผม -
2:52 - 2:55ผมเริ่มอัดเทปด้วยตัวเอง
ผมให้คำบรรยาย -
2:55 - 2:59จากนั้น ผมก็จะให้วิดีโอเหล่านี้แก่ครูสอน
แทนเพื่อเล่นให้กับนักเรียนของผม -
2:59 - 3:03ผมพยายามทำให้วิดีโอเหล่านี้มีส่วนร่วม
มากที่สุด -
3:03 - 3:05ผมยังรวมเทคนิคพิเศษเหล่านี้ไว้เล็กน้อย
-
3:05 - 3:08ตัวอย่างเช่น หลังจากที่ผมเขียน
โจทย์บนกระดานเสร็จ -
3:08 - 3:10ผมปรบมือ
-
3:10 - 3:12และกระดานจะลบออกอย่างน่าอัศจรรย์
-
3:12 - 3:14(เสียงหัวเราะ)
-
3:14 - 3:15ผมคิดว่าน่าทึ่งมาก
-
3:16 - 3:19ผมค่อนข้างมั่นใจว่า นักเรียนของผมจะชอบ
-
3:19 - 3:20แต่ผมคิดผิด
-
3:20 - 3:22(เสียงหัวเราะ)
-
3:22 - 3:25การบรรยายทางวิดีโอเหล่านี้เป็นหายนะ
-
3:25 - 3:27ผมให้นักเรียนขึ้นมาที่ผมและบอกสิ่งที่ชอบ
-
3:27 - 3:29"คุณหยาง เราคิดว่าตัวคุณน่าเบื่อ
-
3:29 - 3:33แต่ในวิดีโอ คุณเหลือทน"
-
3:33 - 3:35(เสียงหัวเราะ)
-
3:35 - 3:40ดังนั้น จึงเป็นความพยายามครั้งที่สอง
ที่หมดหวัง ผมเริ่มวาดภาพการบรรยายเหล่านี้ -
3:40 - 3:42ผมจะทำอย่างรวดเร็วด้วยการวางแผนน้อยมาก
-
3:42 - 3:45ผมเพียงแค่เอาปากกาวาดรูป
วาดอีกแผ่นหนึ่งหลังจากแผ่นหนึ่ง -
3:45 - 3:48หาสิ่งที่ผมอยากจะพูดขณะที่ผมวาด
-
3:48 - 3:50หนังสือการ์ตูนเหล่านี้จะออกมา
-
3:50 - 3:52ที่ไหนสักแห่ง ยาวระหว่างสี่ถึงหกหน้า
-
3:52 - 3:57ผมอยากจะถ่ายเอกสารเหล่านี้
ให้แก่นักเรียนของผม -
3:57 - 3:59และผมแปลกใจมาก
-
3:59 - 4:02การสอนผ่านการ์ตูนเหล่านี้เป็นที่นิยม
-
4:02 - 4:05นักเรียนของผมขอให้ผมทำ
สิ่งเหล่านี้ให้ตัวเอง -
4:05 - 4:08แม้ว่าผมจะอยู่ที่นั่น
-
4:08 - 4:13เหมือนกับว่า
นักเรียนชอบผมแบบการ์ตูนมากกว่าผมตัวจริง -
4:13 - 4:15(เสียงหัวเราะ)
-
4:15 - 4:18สิ่งนี้ทำให้ผมประหลาดใจ เพราะนักเรียน
ของผมเป็นส่วนหนึ่งของคนรุ่น -
4:18 - 4:20ที่ถูกเลี้ยงโดยมีหน้าจอ
-
4:20 - 4:23ดังนั้นผมคิดว่า พวกเขาต้องการ
เรียนรู้จากหน้าจอ -
4:24 - 4:26ดีกว่าการเรียนรู้จากหน้ากระดาษ
-
4:26 - 4:28แต่เมื่อผมพูดคุยกับนักเรียนของผม
-
4:28 - 4:31เกี่ยวกับเหตุผลที่ชอบการ์ตูน
บรรยายเหล่านี้มาก -
4:31 - 4:35ผมเริ่มเข้าใจถึงศักยภาพใน
การศึกษาของการ์ตูน -
4:35 - 4:38ประการแรก แตกต่างจากตำรา
คณิตศาสตร์ของพวกเด็ก -
4:38 - 4:41สิ่งเหล่านี้บรรยายการ์ตูนผ่านสายตา
-
4:41 - 4:43นักเรียนของเราเติบโตขึ้นในวัฒนธรรมภาพ
-
4:43 - 4:46ดังนั้น พวกเด็กจึงใช้ใน
การรับข้อมูลในแบบนั้น -
4:46 - 4:49แต่แตกต่างจากคำบรรยายภาพอื่น ๆ
-
4:49 - 4:54เช่นภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ หรือภาพ
เคลื่อนไหว หรือวิดีโอ -
4:54 - 4:57การ์ตูนเป็นสิ่งที่ผมเรียกว่าถาวร
-
4:57 - 5:02ในการ์ตูน อดีต ปัจจุบันและอนาคต
ทั้งหมดอยู่เคียงข้างกันในหน้าเดียวกัน -
5:02 - 5:06ซึ่งหมายความว่า อัตราการไหลของข้อมูล
-
5:06 - 5:09อยู่ในมือของผู้อ่านเป็นมั่นเหมาะ
-
5:10 - 5:14เมื่อนักเรียนของผมไม่เข้าใจอะไร
บางอย่างในการบรรยายการ์ตูนของผม -
5:14 - 5:18พวกเด็กสามารถอ่านข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็วหรือช้าที่สุดเท่าที่ตนเองต้องการ -
5:18 - 5:22เหมือนกับว่าผมให้การควบคุมข้อมูล
เหล่านี้จากระยะไกล -
5:22 - 5:25แต่ไม่เหมือนกับการบรรยายวิดีโอของผม
-
5:25 - 5:28และก็ไม่ได้เป็นจริงเมื่อบรรยายด้วยตัวคนเอง
-
5:28 - 5:32เมื่อผมพูด ผมจะส่งข้อมูลอย่าง
รวดเร็วหรือช้าตามที่ผมต้องการ -
5:32 - 5:36ดังนั้น สำหรับนักเรียนบางคน
และข้อมูลบางชนิด -
5:36 - 5:41สื่อการ์ตูนมีทั้งสองด้าน ลักษณะเป็น
ภาพและมีความคงทน -
5:41 - 5:44ทำให้เครื่องมือการศึกษา
มีประสิทธิภาพอย่างไม่น่าเชื่อ -
5:44 - 5:46เมื่อผมได้สอนวิชาพีชคณิต 2 นี้
-
5:46 - 5:51ผมยังทำงานกับนายของผม
ในด้านการศึกษาที่ Cal State East Bay -
5:51 - 5:55และผมก็รู้สึกทึ่งกับประสบการณ์
ที่ผมมีกับการบรรยายในหนังสือการ์ตูนนี้ -
5:55 - 6:00ที่ผมตัดสินใจที่จะมุ่งเน้นโครงการ
ต้นแบบสุดท้ายของผมในหนังสือการ์ตูน -
6:00 - 6:03ผมต้องการทราบว่า เหตุใด
นักการศึกษาชาวอเมริกัน -
6:03 - 6:08ในอดีตจึงลังเลที่จะใช้หนังสือ
การ์ตูนในห้องเรียนของพวกตน -
6:08 - 6:10นี่คือสิ่งที่ผมค้นพบ
-
6:10 - 6:13หนังสือการ์ตูนกลายเป็นสื่อมวลชน
ในยุคทศวรรษ 1940 เป็นครั้งแรก -
6:13 - 6:15ขายล้านฉบับทุกเดือน
-
6:15 - 6:17และนักการศึกษากลับมาสังเกตเห็น
-
6:17 - 6:21ครูที่มีนวัตกรรมใหม่จำนวนมาก
ได้เริ่มนำการ์ตูนเข้าสู่ชั้นเรียน -
6:21 - 6:23เพื่อทดลอง
-
6:23 - 6:27ในปี 1944 "วารสารสังคมวิทยาการศึกษา
(Journal of Educational Sociology)" -
6:27 - 6:30ยังทุ่มเททั้งประเด็นในหัวข้อนี้อีกด้วย
-
6:30 - 6:33สิ่งต่าง ๆ ดูเหมือนจะก้าวหน้า
-
6:33 - 6:35ครูเริ่มที่จะคิดสิ่งต่าง ๆ ออกไป
-
6:35 - 6:37แต่แล้ว บุคคลนี้ก็ปรากฏ
-
6:37 - 6:41นี่คือนักจิตวิทยาเด็ก
ดร เฟรดริก เวอร์ธแฮม -
6:41 - 6:45ในปี พ. ศ. 2497 เขาเขียนหนังสือชื่อ
"Seduction of the Innocent" -
6:45 - 6:50ที่ระบุว่า หนังสือการ์ตูนทำให้เกิด
การกระทำผิดต่อเด็กและเยาวชน -
6:50 - 6:51(เสียงหัวเราะ)
-
6:51 - 6:53เขาคิดผิด
-
6:53 - 6:55ที่จริง ดร. เวอร์ธแฮมเป็นคนดี
-
6:55 - 6:58เขาใช้เวลาส่วนใหญ่ในอาชีพการงาน
ของตนกับเด็กและเยาวชนที่เกเร -
6:58 - 7:03และในงานของเขา เขาสังเกตเห็นว่า
ลูกค้าส่วนใหญ่ของเขาอ่านหนังสือการ์ตูน -
7:03 - 7:07สิ่งที่ ดร. เวอร์ธแฮม ไม่ได้คิดถึง
คือ ในทศวรรษที่ 1940 และ 50 -
7:07 - 7:11เกือบทุกเด็กในอเมริกาอ่านหนังสือการ์ตูน
-
7:11 - 7:15ดร. เวอร์ธแฮมทำงานที่น่าสงสัยมาก
ในการพิสูจน์คดีของเขา -
7:15 - 7:18แต่หนังสือของเขาสร้างแรงบันดาลใจ
ให้วุฒิสภาสหรัฐอเมริกา -
7:18 - 7:20มีการพิจารณาคดีหลายครั้ง
-
7:20 - 7:24เพื่อดูว่า ในความเป็นจริงนั้น การ์ตูน
ทำให้เกิดเด็กและเยาวชนกระทำผิดไหม -
7:25 - 7:27การพิจารณาคดีเหล่านี้ใช้เวลาเกือบสองเดือน
-
7:27 - 7:32ไม่มีการสรุป แต่ก่อความเสียหายอย่างมาก
-
7:32 - 7:36ต่อชื่อเสียงของการ์ตูน
ในสายตาของชาวอเมริกัน -
7:36 - 7:41หลังจากนี้ นักการศึกษาชาวอเมริกัน
ผู้มีเกียรติทุกคนได้ถอยห่างออกไป -
7:41 - 7:42และพวกนั้นก็อยู่ห่างออกไปหลายสิบปี
-
7:42 - 7:44ไม่ใช่จนกระทั่งยุค 1970
-
7:44 - 7:47จิตวิญญาณกล้าหาญ
เริ่มพาตัวเองกลับไป -
7:47 - 7:49และก็ไม่ได้ทำจนกว่าเมื่อเร็ว ๆ นี้
-
7:49 - 7:51บางทีในทศวรรษที่ผ่านมาอะไรนั่น
-
7:51 - 7:54การ์ตูนได้รับการยอมรับ
อย่างกว้างขวางมากขึ้น -
7:54 - 7:56ในหมู่นักการศึกษาชาวอเมริกัน
-
7:56 - 8:00หนังสือการ์ตูนและนวนิยายกราฟฟิค
ได้พาตัวเอง -
8:00 - 8:02กลับเข้าไปในห้องเรียนอเมริกันเรียบร้อย
-
8:02 - 8:06และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นที่
Bishop O'Dowd ที่ผมเคยสอน -
8:06 - 8:08คุณสมิธอดีตเพื่อนร่วมงานของผมคนหนึ่ง
-
8:08 - 8:11ใช้ชื่อเรื่อง "Understanding
Comics" ของ Scott McCloud -
8:11 - 8:15ในวรรณกรรมและภาพยนตร์ชั้นเรียน
เพราะหนังสือเล่มนั้นทำให้นักเรียนของเขา -
8:15 - 8:20ได้ภาษาที่ใช้ในการอภิปรายเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างคำและภาพ -
8:20 - 8:24คุณเบิร์นส์สั่งเรียงความการ์ตูน
ให้นักเรียนทำทุกปี -
8:24 - 8:28โดยขอให้นักเรียนของเขาเรียบเรียง
นวนิยายร้อยแก้วโดยใช้ภาพ -
8:28 - 8:30คุณเบิร์นส์ขอให้พวกเด็กคิดอย่างลึกซึ้ง
-
8:30 - 8:32ไม่ใช่แค่เรื่องราวเท่านั้น
-
8:32 - 8:35แต่ยังเกี่ยวกับวิธีการที่เรื่องราวจะบอก
-
8:35 - 8:38และคุณเมอร์รอคใช้
"อเมริกันจากคนจีน" -
8:38 - 8:40กับนักเรียนภาษาอังกฤษ 1 คนของเธอ
-
8:40 - 8:42สำหรับเธอ นิยายภาพ
-
8:42 - 8:46เป็นวิธีที่ยอดเยี่ยมในการปฏิบัติ
ตามมาตรฐาน Common Core -
8:46 - 8:48มาตรฐานระบุว่า นักเรียนควร
สามารถวิเคราะห์ได้ -
8:48 - 8:54ว่าองค์ประกอบภาพไปสู่ความหมาย
เสียง ความงามของข้อความอย่างไร -
8:55 - 8:58ในห้องสมุดคุณเคาท์นส์ได้สร้าง
ความประทับใจที่ยอดเยี่ยมมาก -
8:58 - 9:00กราฟิกคอลเลกชันใหม่สำหรับ Bishop O'Dowd
-
9:00 - 9:04ตอนนี้คุณเคาท์นส์และเพื่อนร่วมงาน
บรรณารักษ์ทั้งหมดของเธอ -
9:04 - 9:07อยู่ในระดับแนวหน้าของ
การสนับสนุนการ์ตูนจริง ๆ -
9:07 - 9:10จริง ๆ แล้ว ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1980
เมื่อบทความวารสารของห้องสมุด -
9:10 - 9:14โรงเรียนกล่าวว่า การปรากฏตัวของนวนิยาย
กราฟิกในห้องสมุดเพียงอย่างเดียว -
9:14 - 9:17เพิ่มการใช้ห้องสมุดประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์
-
9:17 - 9:21และเพิ่มการไหลเวียนของสื่อที่ไม่ใช่การ์ตูน
-
9:21 - 9:23ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์
-
9:23 - 9:27แรงบันดาลใจจากความสนใจใหม่นี้
มาจากนักการศึกษาชาวอเมริกัน -
9:27 - 9:32นักเขียนการ์ตูนชาวอเมริกันกำลัง
สร้างเนื้อหาการศึกษาที่ชัดเจนขึ้น -
9:32 - 9:34สำหรับชั้นอนุบาล-มัธยมปลาย
(K-12) มากกว่าที่เคยเป็นมา -
9:34 - 9:38ส่วนใหญ่ไปที่ศิลปะของภาษา
-
9:38 - 9:40แต่การ์ตูนและนิยายภาพมากขึ้น
-
9:40 - 9:43เริ่มต้นเพื่อรับมือกับหัวข้อทาง
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ -
9:43 - 9:48การ์ตูนทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรม คณิตศาสตร์ไม่เคยมีคนสนใจ -
9:48 - 9:49พร้อมที่จะถูกสำรวจ
-
9:50 - 9:52อเมริกาตื่นมาพบความจริง
-
9:52 - 9:57ว่า หนังสือการ์ตูนไม่ก่อให้เกิด
การกระทำผิดเด็กและเยาวชน -
9:57 - 9:58(เสียงหัวเราะ)
-
9:58 - 10:02การ์ตูนทำอยู่ในชุดเครื่องมือของครูทุกคน
-
10:02 - 10:05ไม่มีเหตุผลที่ดีที่จะเก็บหนังสือ
การ์ตูนและนิยายภาพ -
10:05 - 10:07ออกจากการศึกษา K-12
-
10:07 - 10:09ครูสอนผ่านสายตา
-
10:09 - 10:12ครูให้นักเรียนของเรามี
การควบคุมระยะไกล -
10:13 - 10:15ศักยภาพด้านการศึกษาอยู่ที่นั่น
-
10:15 - 10:17แค่รอที่จะเคาะ
-
10:17 - 10:19โดยคนที่มีความคิดสร้างสรรค์เช่นคุณ
-
10:19 - 10:21ขอขอบคุณ
-
10:21 - 10:24(เสียงปรบมือ)
- Title:
- การ์ตูนอยู่ในห้องเรียน
- Speaker:
- จีน หยาง (Gene Yang)
- Description:
-
หนังสือการ์ตูนและนวนิยายกราฟฟิคอยู่ในชุดเครื่องมือของครูทุกชิ้น นักเขียนการ์ตูนและนักการศึกษา Gene Luen Yang กล่าว Yang ได้สำรวจประวัติความเป็นมาของการ์ตูนในการศึกษาของอเมริกา และเผยให้เห็นถึงข้อมูลเชิงลึกที่ไม่คาดคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการช่วยให้เด็กๆ ได้เรียนรู้
- Video Language:
- English
- Team:
closed TED
- Project:
- TEDTalks
- Duration:
- 10:36
![]() |
Unnawut Leepaisalsuwanna approved Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Unnawut Leepaisalsuwanna edited Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Orm Wiwitumpon accepted Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Orm Wiwitumpon edited Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Retired user edited Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Retired user edited Thai subtitles for Comics belong in the classroom | |
![]() |
Retired user edited Thai subtitles for Comics belong in the classroom |