Return to Video

Euler's Formula and Euler's Identity

  • 0:00 - 0:08
    ในวิดีโอที่แล้ว เราได้กระจาย e^x แบบแมคลอริน, และเราเห็นว่ามันดูเหมือน
  • 0:08 - 0:17
    การผสมกันระหว่างการประมาณ cos(x) กับ sin(x) ด้วยพหุนาม, แต่มันไม่ใช่เสียทีเดียว, เพราะมันมี
  • 0:17 - 0:23
    เครื่องหมายลบอยู่ในนี้, ถ้าเราบวกสองตัวนี้เข้าด้วย, มันจะไม่ตรง, กับตอน
  • 0:23 - 0:30
    ที่เราหารูป e^x. แต่เพื่อให้มันรวมกันได้ล ผมจะทำ, ผมไม่รู้ว่า คุณจะเรียกมัน
  • 0:30 - 0:39
    ว่ากลได้หรือเปล่า. ลองดู, ถ้าเราเอาการกระจาย e^x เป็นพหุนามนี้มา, การประมาณนี้, สิ่งเกิดขึ้น,
  • 0:39 - 0:47
    ถ้าเราบอกว่า e^x คือเจ้านี่, นี่กลายเป็นเทอมจำนวนนับไม่ถ้วน, มันเริ่มไม่ใช่การประมาณแล้ว
  • 0:47 - 0:54
    มันเหมือนเท่ากับมากกว่า. เกิดอะไรขึ้นหากผมใช้ e^(ix). และก่อนหน้านั้น มันเป็นเรื่องแปลกที่จะทำ
  • 0:54 - 1:01
    ขอผมเขียนลงไปนะ: e^(ix). เพราะก่อนหน้านี้, แบบว่า, คุณจะกำหนดค่า e ยกกำลัง i อย่างไร, มันเป็นสิ่ง
  • 1:01 - 1:06
    ที่ประหลาดมาก, การจับอะไรสักอย่างยกกำลัง xi, เราจะเข้าใจ
  • 1:06 - 1:12
    ฟังก์ชันแบบนั้นได้อย่างไร. แต่ตอนนี้เรามี e^x กระจายเป็นพหุนามได้แล้ว, เราจึงอาจ
  • 1:12 - 1:18
    ทำความเข้าใจมันได้, เพราะเราสามารถจับ i ยกกำลังค่าต่างๆ ได้, และเรารู้ว่ามันจะให้, คุณก็รู้
  • 1:18 - 1:26
    i^2 = -1, i^3 = -i, ไปเรื่อยๆ. แล้วเกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณหา e^(ix)? เหมือนเดิม, มันก็เหมือน
  • 1:26 - 1:32
    ตอนใส่ x ตรงนี้, แต่แทนที่มันด้วย ix. แล้วทุกที่ที่เราเห็น x ในพหุนามที่
  • 1:32 - 1:40
    ประมาณนี้ เราสามารถเขียนมันเป็น ix ได้. งั้นลองทำดูกัน. e^(ix) ควรมีค่าประมาณเท่ากับ, มันจะ
  • 1:40 - 1:45
    ใกล้คำว่าเท่ากับมากขึ้นเรื่อยๆ. และนี่เป็นเรื่องของสัญชาตญาณมากกว่าเพราะผมไม่ได้พิสูจน์อย่างรัดกุมตรงนี้. แต่มันก็ยัง
  • 1:45 - 1:51
    น่าตื่นเต้นอยู่ได้... ผมไม่อยากอวดเกินไป, แต่ผมไม่คิดว่าผมจะอวดสิ่งที่กำลังจะปรากฏในวิดีโอนี้ได้
  • 1:51 - 2:02
    มันจะเท่ากับ 1+, แทนที่จะเป็น x, เราจะได้ ix, + ix +, แล้ว
  • 2:02 - 2:14
    (ix)^2 คืออะไร? มันจะเป็น, ขอผมเขียนนี่ลงไปนะ, (ix)^2/2 เป็นเท่าไหร่? ทีนี้ i^2 จะเป็น -1 และ
  • 2:14 - 2:24
    คุณจะได้ (x^2)/2!. มันจะเป็น -(x^2)/2!, และผมว่าคุณคงเห็นแล้วว่ามันจะเป็นอย่างไรต่อ. แล้วก็,
  • 2:24 - 2:32
    ix นี่, จำไว้, ทุกที่ที่เราเห็น x เราจะแทนที่มันด้วย ix. แล้ว (ix)^3 คืออะไร, ที่จริง
  • 2:32 - 2:42
    ขอผมเขียนนี่ออกมานะ, ผมจะไม่ข้ามขั้นต่อตรงนี้. นี่ก็จะเป็น ((ix)^2)/2!. ที่จริงขอผม
  • 2:42 - 3:11
    ... ผมอยากทำแบบนี้... ได้ + ((ix)^2)/2! + ((ix)^3)/3! + (ix)^4)/4! + ((ix)^5)/5! แล้วเราก็ทำ
  • 3:11 - 3:24
    ไปเรื่อยๆ ได้. แต่ลองหาค่า ix ยกกำลังค่าต่างๆ ก่อนแล้วกัน. นี่ก็จะเท่ากับ 1+ix ...
  • 3:24 - 3:36
    (ix)^2, มันก็เหมือนกับ (i^2)(x^2), i^2 ได้ -1. แล้วนี่ก็คือ -(x^2)/2!. แล้วนี่ก็
  • 3:36 - 3:53
    เท่ากับ (i^3)(x^3), i^3 ก็เหมือนกับ (i^2)i, แล้วมันจะเป็น -i, มันจะเท่ากับ -i(x^3)/3!. แล้ว,
  • 3:53 - 4:05
    แล้วก็ +, คุณจะได้, i^4 เป็นเท่าไหร่? มันจะเป็น (i^2)^2, แล้วมันคือ (-1)^2, นั่นจะเท่ากับ 1, แล้ว i^4
  • 4:05 - 4:14
    ได้ 1 แล้วคุณจะได้ x^4, เป็น +(x^4)/4!. แล้วคุณก็ได้ +, ผมไม่อยากเขียน +
  • 4:14 - 4:29
    ตอนนี้, i^5, i^5 จะเท่ากับ 1i, มันจึงเป็น i(x^5)/5!, ผมว่าคุณคงเริ่มเห็น
  • 4:29 - 4:53
    รูปแบบตรงนี้แล้ว. สัมประสิทธิ์เป็น 1, i, -1, -i, 1, i แล้ว -1(x^6)/6! แล้วก็ -i(x^7)/7!. เราได้เทอมมา, บางตัวเป็น
  • 4:53 - 4:59
    จำนวนจินตภาพ, พวกมันมี i อยู่, มันคูณอยู่กับ i, บางตัวเป็นจำนวนจริง, ทำไมเราไม่ลอง
  • 4:59 - 5:06
    แยกมันจากกันล่ะ? ทำไมเราไม่ลองแยกมันดู? เหมือนเดิม, e^(ix) จะเท่ากับเจ้านี่, โดยเฉพาะ
  • 5:06 - 5:13
    ตอนที่เรามีเทอมเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน. งั้นลองแยกมันออกมา, เทอมจริงกับเทอมไม่จริง, หรือเทอมจริง
  • 5:13 - 5:25
    กับเทอมจินตภาพ, ผมว่าอย่างนั้นดีกว่า. นี่คือจำนวนจริง. นี่คือจำนวนจริง, นี่คือจำนวนจริง, และเจ้านี่ตรงนี้เป็นจำนวนจริง, แล้วเรา
  • 5:25 - 5:39
    ก็ทำต่อไปเรื่อยๆ. แล้วเทอมจำนวนจริงตรงนี้คือ 1 -(x^2)/2! + (x^4)/4! แล้วคุณก็เริ่มตื่นเต้นแล้ว
  • 5:39 - 5:49
    ตอนนี้, -(x^6)/6! แล้วนั่นคือที่ผมทำตรงนี้, แต่มันยังมีต่อไป, เป็น +, ต่อไปเรื่อยๆ. นั่นคือเทอม
  • 5:49 - 5:57
    จำนวนจริงทั้งหมด. แล้วเทอมจินตภาพมีอะไรบ้างตรงนี้? ขอผมลอง, ผมจะแยก i ออกมาตรงนี้นะ. มันจะเป็น
  • 5:57 - 6:05
    +i คูณ, ทีนี้, นี่คือ ix, นี่จะเป็น x, แล้วตัวต่อไป... นี่ก็คือเทอมจินตภาพ, นี่คือ
  • 6:05 - 6:16
    เทอมจินตภาพ, เราแยก i ออกมา, แล้ว -- (x^3)/3!, แล้วเทอมจินตภาพตัวต่อไปอยู่ตรงนี้, เรา
  • 6:16 - 6:25
    แยก i ออกมา, +(x^5)/5!, แล้วเทอมจินตภาพตัวต่อไปอยู่ตรงนี้, เราแยก i ออกมา, มันก็คือ
  • 6:25 - 6:36
    -(x^7)/7! แล้วเราทำต่อไปได้อีก. ได้ บวก, ลบ, ต่อไป, ต่อไปเรื่อยๆ. ไปจนถึงอนันต์,
  • 6:36 - 6:45
    แล้วเราก็ได้ค่าประมาณดีเท่าที่ต้องการ. เราจึงได้ e^(ix) เท่ากับ
  • 6:45 - 6:52
    เจ้าพวกนี้. แต่คุณอาจจำได้จากวิดีโอก่อนๆ ว่า, ส่วนจริง, นี่คือ
  • 6:52 - 7:00
    พหุนาม, นี่คือการประมาณแมคลอรินของ cos(x) รอบ 0, หรือผมควรบอกว่าการประมาณ
  • 7:00 - 7:06
    เทย์เลอร์รอบจุด 0 มากกว่า, หรือเราเรียกมันว่าการประมาณแมคลอรินก็ได้. นี่และนี่
  • 7:06 - 7:16
    ก็เหมือนกัน. นี่ก็คือ cos(x), เฉพาะตอนที่เราบวกเทอมไปจนถึงอนันต์, cox(x). เจ้านี่ตรงนี้, คือ
  • 7:16 - 7:23
    sin(x), เหมือนกันเลย. ดูเหมือนว่าเราจะสามารถหาวิธีรวม cos(x) กับ sin(x)
  • 7:23 - 7:33
    เพื่อให้ได้อะไรอย่างเช่น e^x แล้ว. เจ้านี่ตรงนี้คือ sin(x) แล้ว, เรายอมรับมันเลย, ผมไม่ได้พิสูจน์ให้คุณดู
  • 7:33 - 7:38
    อย่างรัดกุม, ว่าถ้าคุณเอาเทอมจำนวนเป็นอนันต์มา, มันจะกลายเป็น cos(x) พอดี, และถ้าคุณเอา
  • 7:38 - 7:46
    เทอมพวกนี้มาเป็นอนันต์, มันจะเป็นกลายเป็นอนันต์. มันกลายเป็นสูตรที่น่าอัศจรรย์, เราบอกได้ว่า
  • 7:46 - 7:58
    e^(ix) ก็เหมือนกับ cos(x), แล้วคุณควรรู้สึกขนลุกแล้วตอนนี้, เท่ากับ
  • 7:58 - 8:14
    cos(x) + i sin(x). และนี่คือสูตรของออยเลอร์. เจ้านี่ตรงนี้คือสูตรของออยเลอร์, และถ้าสูตรนี้ไม่
  • 8:14 - 8:18
    น่าตื่นเต้นหรือบ้าบอพอสำหรับคุณ, คงเป็นเพราะเราได้ทำอะไรเจ๋งๆ
  • 8:18 - 8:24
    มาเยอะแล้ว. เราได้ยุ่งเกี่ยวกับ e, ซึ่งเราได้จากการหาดอกเบี้ยทบต้น, เราได้ cos(x) กับ
  • 8:24 - 8:31
    sin(x), ซึ่งก็คืออัตราของด้านสามเหลี่ยมมุมฉาก, มันมาจากวงกลมหน่วย, เราโยน (-1)^(1/2) ลงไป
  • 8:31 - 8:37
    แล้วมันก็เกิดความสัมพันธ์เจ๋งๆ ตรงนี้. แต่มันเจ๋งเป็นพิเศษ, แล้วเราจะสมมุติว่าเรา
  • 8:37 - 8:46
    กำลังคิดหน่วยเป็นเรเดียนตรงนี้, ถ้าเราสมมุติสูตรของออยเลอร์ถูกต้องแล้ว, เกิดอะไรขึ้นเมื่อ x เท่ากับ ไพ? แค่
  • 8:46 - 8:51
    แทนค่าเลขเพี้ยนๆ ลงไปตรงนี้, อัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวง กับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
  • 8:51 - 9:07
    เกิดอะไรขึ้นเมื่อเราใส่ ไพ ลงไป? เราจะได้ e^((i)(pi)) มันเท่ากับ cos(pi), cos(pi) คืออะไร? cos(pi) คือ, ไพ คือ
  • 9:07 - 9:19
    ครึ่งทางของวงกลมหน่วย, ดังนั้น cos(pi) เป็น -1, แล้ว sin(pi) เป็น 0. เทอมนี้ก็หายไป. แล้วถ้าคุณ
  • 9:19 - 9:27
    หาค่ามันที่ ไพ, คุณจะได้สิ่งมหัศจรรรย์ขึ้นมา, นี่คือ สมการของออย์เลอร์!! สมการของออยเลอร์! ผมมีปัญหา
  • 9:27 - 9:34
    การอ่านชื่อออยเลอร์ตลอด. สมการของออย์เลอร์!! ซึ่งเราสามารถเขียนมันแบบนี้ได้, หรือเราจะบวก 1 ทั้งสองข้างก็ได้, แล้วเรา
  • 9:34 - 10:03
    เขียนมันได้อย่างนี้. ผมจะเขียนมันอีกสีเพื่อเน้นหน่อย. e^((i)(pi)) + 1 = 0 และนี่, นีเป็นการกระตุ้นความคิดจริงๆ
  • 10:03 - 10:07
    ผมหมายความว่า, ตรงนี้, เรามี, คุณจะเห็นว่า, ผมหมายความว่า, นี่บอกคุณว่ามันมีความเชื่อมโยง
  • 10:07 - 10:13
    ในจักรวาลที่เรายังไม่เข้าใจทั้งหมด, หรืออย่างน้อย ผมเองยังไม่เข้าใจทั้งหมด. i นิยามโดยวิศวกร
  • 10:13 - 10:21
    เพื่อให้ง่าย เวลาเขาต้องหารากของพหุนามทั้งหมด, เช่น, คุณบอกว่า, สแควร์รูทของ -1
  • 10:21 - 10:30
    ไพ คืออัตราส่วนระหว่างเส้นรอบวงของวงกลม กับเส้นผ่านศูนย์กลาง, เป็นเลขที่น่าสนใจอีกตัว
  • 10:30 - 10:35
    แต่ดูเหมือนว่ามันมาจากคนละที่กับ i. e มาจากหลายที่
  • 10:35 - 10:42
    e ถ้าคุณคิดดู, มันมาจากดอกเบี้ยทบต้นต่อเนื่อง, สำคัญมากในไฟแนนซ์,
  • 10:42 - 10:47
    มันยังมาจากการหาอนุพันธ์ของ e^x เท่ากับ e^x, เป็นเลขที่น่าตื่นเต้น, แต่เหมือนเดิม
  • 10:47 - 10:53
    ดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกับวิธีที่เราได้ i มา และดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกับวิธีที่เราได้ ไพ มาเช่นกัน
  • 10:53 - 11:00
    และแน่นอน, คุณมีตัวเลขพื้นฐานที่สุดตรงนี้, คุณมี 1, ผมคง
  • 11:00 - 11:06
    ไม่ต้องอธิบายว่าทำไม 1 ถึงเป็นเลขที่เจ๋ง, และผมไม่ควรต้องอธิบายว่าทำไม 0 ถึงเป็นเลขที่เจ๋งด้วย และเจ้านี่
  • 11:06 - 11:13
    ตรงนี้, เชื่อมโยงจำนวนพื้นฐานเหล่านี้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน, ในแบบที่น่าพิศวง, มันบอกเราว่า มีความเชื่อมโยง
  • 11:13 - 11:24
    แบบนี้ในจักรวาล, และพูดกันตามตรง, ว่ากันตรงๆ เลย, ถ้านี่ไม่ทำให้คุณสมองกระจายล่ะก็, คุณก็...
  • 11:24 - 11:27
    คุณไม่มีหัวใจแล้วล่ะ
Title:
Euler's Formula and Euler's Identity
Description:

more » « less
Video Language:
English
Team:
Khan Academy
Duration:
11:27

Thai subtitles

Revisions