< Return to Video

ภาคตัดกรวย:ไฮเปอร์โบลา 3

  • 0:00 - 0:01
    -
  • 0:01 - 0:04
    ลองดูว่าเราจะลองแก้โจทย์วาดกราฟ
  • 0:04 - 0:06
    ไฮเปอร์โบลาที่ยากขึ้นได้ไหม
  • 0:06 - 0:08
    ลองเพิ่มไฮเปอร์โบลาเข้ามา
  • 0:08 - 0:21
    สมมุติขึ้นมาสดๆ เลย x ลบ 1 กำลังสอง ส่วน 16 ลบ y บวก
  • 0:21 - 0:30
    1 กำลังสอง ส่วน 4 เท่ากับ 1
  • 0:30 - 0:32
    สิ่งแรกที่สังเกตได้คือว่า นี่คือไฮเปอร์โบลา และ
  • 0:32 - 0:35
    เรามีวิดีโอหลายอันแล้ว, เราได้ลองทำโจทย์โดย
  • 0:35 - 0:39
    อย่างแรกคือระบุว่าเรามีภาคตัดกรวย
  • 0:39 - 0:41
    แบบไหน แล้วขั้นตอนต่อไปคือการวาด
  • 0:41 - 0:43
    รูปภาคตัดกรวยนั้น
  • 0:43 - 0:45
    ผมบอกคุณไปแล้วเรากำลังจะทำโจทย์เรื่อง
  • 0:45 - 0:47
    ไฮเปอร์โบลา, คุณเลยรู้ว่ามันคือไฮเปอร์โบลา
  • 0:47 - 0:50
    แต่วิธีสังเกตคือว่า คุณมีเครื่องหมายลบ
  • 0:50 - 0:53
    ตรงเทอม y กำลังสอง แล้วเราก็มีเลื่อนด้วย
  • 0:53 - 0:57
    รูปคลาสสิค หรือรูปมาตรฐานที่ไม่เลื่อน ของไฮเปอร์โบลา
  • 0:57 - 1:00
    หรือไฮเปอร์โบลาที่มีศูนย์กลางอยู่ที่ 0 จะมีหน้าตาแบบนี้
  • 1:00 - 1:05
    มันมีเส้นกำกับเหมือนเดิมด้วย แค่เลื่อนไป, แต่
  • 1:05 - 1:11
    ถ้าจุดศูนย์กลางอยู่ที่ 0 มันจะเป็นแบบนี้: x กำลังสอง ส่วน 16
  • 1:11 - 1:16
    ลบ y กำลังสอง ส่วน 4 เท่ากับ 1
  • 1:16 - 1:19
    และความแตกต่างระหว่างไฮเปอร์โบลานี้กับไฮเปอร์โบลานี้
  • 1:19 - 1:29
    คือว่า จุดศูนย์กลางของไฮเปอร์โบลาอยู่ที่จุด x เท่ากับ 1
  • 1:29 - 1:32
    y เท่ากับลบ 1
  • 1:32 - 1:36
    และวิธีคิดคือว่า x เท่ากับ 1 ทำให้พจน์
  • 1:36 - 1:40
    ทั้งหมดนี้เป็ฯ 0, นั่นคือสาเหตุที่มันคือจุดศูนย์กลาง
  • 1:40 - 1:43
    และ y เท่ากับลบ 1 ทำให้เทอมทั้งหมดนี้เป็น 0
  • 1:43 - 1:46
    แล้วตรงนี้, แน่นอน, จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด
  • 1:46 - 1:49
    จุดศูนย์กลางคือ 0, 0
  • 1:49 - 1:53
    วิธีวาดกราฟง่ายๆ คือว่าวาดกราฟเจ้านี่,
  • 1:53 - 1:58
    แต่คุณเลื่อนมันไป โดยใช้จุดศูนย์กลางเป็น 1 ลบ 1 แทนที่
  • 1:58 - 2:00
    จะเป็น 0, 0
  • 2:00 - 2:00
    งั้นลองทำดูกัน
  • 2:00 - 2:07
    ลองหาความชันของเส้นกำกับสองเส้นตรงนี้
  • 2:07 - 2:10
    แล้วเราก็เลื่อนเส้นความชันไปจนมันพอดี
  • 2:10 - 2:12
    สำหรับไฮเปอร์โบลาอันนี้ตรงนี้
  • 2:12 - 2:15
    ถ้าเราใช้อันนี้, ลองแก้หา y กัน
  • 2:15 - 2:19
    นั่นคือสิ่งที่ผมชอบทำเสมอ
  • 2:19 - 2:21
    ตอนผมวาดไฮเปอร์โบลา
  • 2:21 - 2:26
    เราก็ได้ลบ y กำลังสอง ส่วน 4
  • 2:26 - 2:29
    ลบ x กำลังสอง ส่วน 16 จากทั้งสองข้าง ลบ
  • 2:29 - 2:35
    x กำลังสองส่วน 16 บวก 1
  • 2:35 - 2:37
    ผมทำไฮเปอร์โบลานี่ตรงนี้, ไม่ใช่อันนี้,
  • 2:37 - 2:39
    ผมค่อยเลื่อนมันไปทีหลัง
  • 2:39 - 2:42
    แล้วลองคูณทั้งสองข้างด้วยลบ 4 ดู คุณ
  • 2:42 - 2:47
    จะได้ y กำลังสองเท่ากับ -- เห็นไหม ลบตัดกับตัวนั้น
  • 2:47 - 2:59
    แล้ว 4 ส่วน 16 คือ x กำลังสอง ส่วน 4 ลบ 4 แล้ว y
  • 2:59 - 3:06
    เท่ากับ บวกหรือลบ สแควร์รูทของ x กำลังสอง
  • 3:06 - 3:08
    ส่วน 4 ลบ 4
  • 3:08 - 3:10
    แล้วเวลาหาเส้นกำกับ คุณแค่ต้อง
  • 3:10 - 3:14
    คิดว่าเกิดอะไรขึ้นเมื่อ x เข้าหาบวก
  • 3:14 - 3:14
    หรือลบอนันต์
  • 3:14 - 3:17
    เมื่อ x เป็นบวกมากๆ หรือ x เป็นลบมากๆ
  • 3:17 - 3:19
    เราทำแบบนี้มาหลายครั้งแล้ว
  • 3:19 - 3:20
    ผมว่านี่มันสำคัญ
  • 3:20 - 3:22
    นี่สำคัญยิ่งกว่าการท่องสูตร,
  • 3:22 - 3:24
    เพราะมันช่วยให้คุณได้สัญชาตญาณว่าสมการ
  • 3:24 - 3:27
    ของเส้นกำกับพวกนี้มาจากไหนจริงๆ
  • 3:27 - 3:31
    เพราะนี่คือสิ่งที่กราฟนี้ หรือสมการนี้ หรือ
  • 3:31 - 3:33
    ฟังก์ชันนี้เข้าหา เมื่อ x เข้าใกล้บวกหรือ
  • 3:33 - 3:35
    ลบอนันต์
  • 3:35 - 3:47
    เมื่อ x เข้าหาบวกหรือลบอนันต์, y จะ
  • 3:47 - 3:50
    ประมาณเท่ากับอะไร, ในกรณีนี้?
  • 3:50 - 3:53
    เหมือนเดิม, เทอมนี้จะเป็นตัวนำ
  • 3:53 - 3:54
    นี่ก็แค่ 4 ตรงนี้
  • 3:54 - 3:57
    คุณนึกภาพได้ว่าเมื่อ x เป็นล้านล้าน หรือลบ
  • 3:57 - 4:00
    ล้านล้าน, นี่จะเป็นเลขมหาศาล และนี่จะ
  • 4:00 - 4:01
    เป็น อย่างที่รู้ คุณอาจมองว่านี่
  • 4:01 - 4:02
    เป็นค่าพื้นๆ
  • 4:02 - 4:04
    คุณถอดสแควร์รูทเจ้านั่น แล้วนี่
  • 4:04 - 4:05
    จะเป็นตัวนำ
  • 4:05 - 4:08
    แล้วเมื่อคุณเข้าหาบวกหรือลบอนันต์, y
  • 4:08 - 4:11
    จะประมาณเท่ากับสแควร์รูท, บวก
  • 4:11 - 4:16
    และลบสแควร์รูท, ของ x กำลังสอง ส่วน 4
  • 4:16 - 4:19
    y ก็จะมีค่าประมาณเท่ากับบวกหรือ
  • 4:19 - 4:25
    ลบ x ส่วน 2, หรือ 1/2 x
  • 4:25 - 4:27
    ลองทำดูกัน
  • 4:27 - 4:29
    ลองวาดเส้นกำกับดู
  • 4:29 - 4:32
    จำไว้, พวกนี้คือเส้นกำกับในกรณีนี้
  • 4:32 - 4:34
    แต่ตอนนี้, แน่นอน, เราอยู่ที่จุด 1 ลบ 1
  • 4:34 - 4:38
    ผมจะวาดเส้นสองเส้นที่มีความชันเท่านี้
  • 4:38 - 4:42
    คือความชันบวก 1/2 กับลบ 1/2, แต่พวกมัน
  • 4:42 - 4:44
    จะมีศูนย์กลางอยู่ตรงนี้
  • 4:44 - 4:47
    ผมแค่เอาตัวเลื่อนออกไป ผมจะได้หาเส้นกำกับ
  • 4:47 - 4:49
    ได้ แต่แน่นอนว่านี่คือของจริงที่เรา
  • 4:49 - 4:53
    พยายามจะวาดกราฟ, ลองวาดกันเลยดีกว่า
  • 4:53 - 5:03
    นี่คือแกน y ผม นี่คือแกน x ผม และจุดศูนย์กลาง
  • 5:03 - 5:05
    ของเจ้านี่อยู่ที่ 1 ลบ 1
  • 5:05 - 5:08
    -
  • 5:08 - 5:14
    แล้ว x เท่ากับ 1 y เท่ากับลบ 1
  • 5:14 - 5:18
    แล้วความชันของเส้นกำกับคือบวก
  • 5:18 - 5:18
    กับลบ 1/2
  • 5:18 - 5:22
    -
  • 5:22 - 5:24
    ลองทำบวก 1/2 ก่อน
  • 5:24 - 5:28
    นั่นก็หมายความว่า ทุกครั้งที่ก้าวไป 2 หน่วย, ถ้าคุณไป
  • 5:28 - 5:32
    ในทิศบวก x 2 หน่วย, คุณจะเลื่อนขึ้น 1
  • 5:32 - 5:35
    คุณเลยไปขวา 2 และขึ้น 1
  • 5:35 - 5:36
    นั่นคือเส้นแรก
  • 5:36 - 5:38
    ขอผมวาดเส้นกำกับนั่นนะ
  • 5:38 - 5:41
    -
  • 5:41 - 5:44
    ออกมาเป็นแบบนั้น, แล้วเราก็วาดมันจาก
  • 5:44 - 5:46
    จุดนี้ถึงจุดนั้น
  • 5:46 - 5:47
    มือนิ่งเลยแฮะ
  • 5:47 - 5:52
    -
  • 5:52 - 5:53
    แล้วเส้นกำกับอีกเส้นจะมี
  • 5:53 - 5:57
    ความชันเป็นลบ 1/2
  • 5:57 - 5:59
    จำไว้ว่านี่คือศูนย์กลางของเรา 1 ลบ 1, แล้วถ้า
  • 5:59 - 6:04
    ถ้าผมลงไป 1 แล้วก็ต่อไป
  • 6:04 - 6:08
    ถ้าผมไปยัง 2, ผมจะลงไป 1, นั่นก็คือตรงนี้
  • 6:08 - 6:11
    ขอผมวาดเส้นกำกับนั่นนะ
  • 6:11 - 6:15
    -
  • 6:15 - 6:18
    แล้วเพื่อต่อไปอีกทางหนึ่ง ผมอยากเส้น
  • 6:18 - 6:20
    สองเส้นนี้ทับกัน
  • 6:20 - 6:22
    มันจะออกมาเป็นแบบนั้น
  • 6:22 - 6:25
    เราได้วาดเส้นกำกับสำหรับฟังก์ชันนี้แล้ว, ตอนนี้เรา
  • 6:25 - 6:29
    จะหาว่ามันเป็นไฮเปอร์โบลา
  • 6:29 - 6:32
    แบบดิ่งหรือไฮเปอร์โบลาแบบราบ
  • 6:32 - 6:35
    และวิธีคิดง่ายๆ คือพยายาม แล้วลอง --
  • 6:35 - 6:36
    เราทำได้สองวิธี
  • 6:36 - 6:40
    ผมหมายความว่า คุณแค่ดูที่สมการนี่ตรงนี้
  • 6:40 - 6:43
    เวลาคุณถอดสแควร์รูท, เราจะได้
  • 6:43 - 6:46
    ค่าน้อยกว่าเส้นกำกับนิดหน่อยเสมอ
  • 6:46 - 6:48
    เส้นกำกับคือเจ้านี่, แต่เราจะ
  • 6:48 - 6:49
    อยู่ใต้มันลงมาหน่อย
  • 6:49 - 6:51
    นั่นจะบอกเราว่า มันจะ
  • 6:51 - 6:54
    อยู่ใต้เส้นกำกับ สำหรับรากที่เป็นบวก, และเรา
  • 6:54 - 6:55
    จะได้ค่ามากกว่าเส้นกำกับนิดหน่อย
  • 6:55 - 6:56
    สำหรับรากที่เป็นลบ
  • 6:56 - 6:58
    เพราะมันจะน้อยกว่าหน่อย, และมันเป็นลบ
  • 6:58 - 7:01
    ผมจะปล่อยให้คุณลองคิดดูแล้วกัน
  • 7:01 - 7:03
    สัญชาตญาณผมคือว่า มันจะอยู่ตรงนี้กับตรงนี้
  • 7:03 - 7:04
    มันมากกว่าสัญชาตญาณหน่อย
  • 7:04 - 7:06
    ผมรู้ว่าเราจะมีค่าน้อยกว่ารากที่สองที่
  • 7:06 - 7:08
    เป็นลบหน่อย, แต่ผมจะทำอีกวิธีนึง
  • 7:08 - 7:09
    ผมจะทำแบบเดียวกับในวิดีโอที่แล้ว
  • 7:09 - 7:12
    วิธีคิดอีกอย่างก็คือว่า เกิดอะไรขึ้นเมื่อ
  • 7:12 - 7:14
    เทอมนี้เป็น 0?
  • 7:14 - 7:18
    ถ้าจะให้เทอมนี้เป็น 0, x ต้องเท่ากับ 1
  • 7:18 - 7:20
    แล้วมันเป็นไปได้ไหม?
  • 7:20 - 7:22
    x เท่ากับ 1 ได้หรือเปล่า?
  • 7:22 - 7:26
    ถ้า x เท่ากับ 1 ตรงนี้ เทอมนี้จะเป็น 0
  • 7:26 - 7:34
    แล้วคุณจะได้กรณีที่ -- คุณจะได้
  • 7:34 - 7:40
    ลบ y กำลังสอง ส่วน 4 เท่ากับ 1, หรือเจ้านี่
  • 7:40 - 7:41
    ต้องเป็นลบ
  • 7:41 - 7:44
    x จึงเท่ากับ 1 ไม่ได้
  • 7:44 - 7:47
    y เลยเท่ากับลบ 1 ได้
  • 7:47 - 7:48
    ลองดูกัน
  • 7:48 - 7:54
    ถ้า y เท่ากับลบ 1, เทอมนี่ตรงนี้
  • 7:54 - 7:55
    จะหายไป
  • 7:55 - 8:01
    -
  • 8:01 - 8:08
    แล้วเมื่อ y เท่ากับลบ 1, คุณก็จะเหลือ -- x
  • 8:08 - 8:13
    ลบ 1 กำลังสอง ส่วน 16 เท่ากับ 1
  • 8:13 - 8:15
    ผมแค่ตัดเทอมนี้ออกไป, เพราะผมบอกว่ามันเกิดขึ้น
  • 8:15 - 8:17
    เมื่อ y เท่ากับลบ 1
  • 8:17 - 8:20
    คุณคูณทั้งสองข้างด้วย 16
  • 8:20 - 8:21
    ขอผมทำตรงนี้นะ
  • 8:21 - 8:26
    มันเริ่มเลอะแล้ว x ลบ 1 กำลังสอง เท่ากับ 16
  • 8:26 - 8:28
    หาสแควร์รูททั้งสองข้าง
  • 8:28 - 8:35
    x ลบ 1 เท่ากับ บวกหรือลบ 4
  • 8:35 - 8:38
    แล้วถ้า x เท่ากับบวก 4, ถ้าคุณบวก 1 เข้าไป
  • 8:38 - 8:42
    x จะเท่ากับ 5
  • 8:42 - 8:47
    แล้วถ้า x ลบ 1 เป็นลบ 4 คุณบวก 1 เข้าไป
  • 8:47 - 8:49
    คุณจะได้ x เท่ากับ 3
  • 8:49 - 8:54
    ดังนั้นจุด 2 จุด หรือจุด 2 จุดที่ใกล้ศูนย์กลางที่สุด
  • 8:54 - 9:00
    คือจุด 5 ลูกน้ำ ลบ 1 กับ 3 ลูกน้ำ ลบ 1
  • 9:00 - 9:01
    ลองพลอตสองตัวนั้นดู
  • 9:01 - 9:09
    งั้น 5, 1, 2, 3, 4, 5, ลบ 1 และ 3, ลบ 1
  • 9:09 - 9:11
    ใช่ไหม?
  • 9:11 - 9:14
    ไม่ใช่, ลบ 3, เพราะ x ลบ 1 เท่ากับลบ 4
  • 9:14 - 9:15
    นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นเวลาคุณทำข้ามขั้น
  • 9:15 - 9:25
    -
  • 9:25 - 9:27
    ถ้าคุณมีกรณีลบ 4, x จะเท่ากับ
  • 9:27 - 9:29
    ลบ 3
  • 9:29 - 9:31
    -
  • 9:31 - 9:36
    คุณก็ไป 1 2 3 ลบ 3, ลบ 1
  • 9:36 - 9:39
    ทั้งคู่คือจุดที่อยู่บนไฮเปอร์โบลานี้
  • 9:39 - 9:41
    แล้วสัญชาตญาณเราถูกต้อง, หรือมันก็คือที่ผมบอกไป
  • 9:41 - 9:47
    ว่า -- รากที่สองที่เป็นบวก จะอยู่ใต้
  • 9:47 - 9:49
    เส้นกำกับเล็กน้อย, เราเลยได้เส้นโค้งนี้มา
  • 9:49 - 9:52
    มันจะออกมาเป็นแบบนี้
  • 9:52 - 9:55
    มันจะเข้าใกล้มากขึ้นและมากขึ้น, แล้วตรงนี้
  • 9:55 - 9:57
    มันจะเข้าใกล้ทิศนั้นมากขึ้นและมากขึ้น
  • 9:57 - 9:59
    มันจะเข้าใกล้เส้นกำกับนั่นมากขึ้น และมากขึ้น
  • 9:59 - 10:02
    และตรงนี้, มันจะยังเข้าใกล้เส้นกำกับ
  • 10:02 - 10:06
    ไปเรื่อยๆ ทางด้านนั้น แล้วก็ด้านนั้น
  • 10:06 - 10:08
    และแน่นอน เส้นกำกับพวกนี้จะ
  • 10:08 - 10:10
    ยาวไปตลอดไป และตลอดไป
  • 10:10 - 10:11
    ถ้าคุณอยากลอง ลองแทนค่าจุด
  • 10:11 - 10:12
    อื่นเพื่อทดสอบดู
  • 10:12 - 10:15
    คุณอาจพลอตจุดนั่นดู, หรือจุดนั่นตรงนั้น
  • 10:15 - 10:16
    เพื่อตรวจดูว่ามันเป็นจริงไหม
  • 10:16 - 10:19
    ส่วนที่ยากจริงๆ คือการหาเส้นกำกับ และ
  • 10:19 - 10:23
    หาว่าเราอยู่ตรงซ้ายขวา หรือ
  • 10:23 - 10:24
    เราอยู่ตรงบนล่าง
  • 10:24 - 10:25
    แล้วคุณก็ทำเสร็จแล้ว
  • 10:25 - 10:27
    คุณวาดไฮเปอร์โบลาได้แล้ว
  • 10:27 - 10:28
    แล้วพบกันใหม่ในวิดีโอหน้าครับ
  • 10:28 - 10:29
    -
Title:
ภาคตัดกรวย:ไฮเปอร์โบลา 3
Video Language:
English
Duration:
10:29

Thai subtitles

Revisions