อันตรายที่ซอนอยู่ในแม่น้ำที่แท้จริง
-
0:00 - 0:03ผมอยากให้คุณวางอคติของคุณไว้
-
0:03 - 0:08อคติเรื่องความคิดและความกลัวต่าง ๆ
เกี่ยวกับสัตว์เลื้อยคลาน -
0:08 - 0:11เพราะนั่นเป็นทางเดียวที่จะทำให้คุณ
เข้าใจเรื่องที่ผมกำลังจะพูด -
0:11 - 0:14เออนี้แนะ ท่าทางผมดูเหมือน
-
0:14 - 0:16คนวิกลจริต ฮิปปี้นักอนุรักษ์นิยม
-
0:16 - 0:19มันแค่เป็นเพียงแค่จินตนาการของคุณเท่านั้น
-
0:19 - 0:24(เสียงหัวเราะ)
-
0:24 - 0:27โอเค พวกเรานี่แหละที่เป็นสายพันธุ์ชนิดแรกของโลก
-
0:27 - 0:32ที่ทำทุกอย่างเพื่อคุกคามการอยู่รอดของเรา
-
0:32 - 0:35และผมก็รู้ว่าพวกเราเห็นภาพที่
ทำให้เราตัวชามาเยอะแล้ว -
0:35 - 0:40ภาพของโศกนาฏกรรมที่เราทำกับดาวดวงนี้
-
0:40 - 0:42พวกเราเหมือนเด็กตะกละที่กินทุกอย่างจนหมด
-
0:42 - 0:48และวันนี้ถึงเวลาแล้วที่ผมจะขอเล่าเรื่องน้ำ
-
0:48 - 0:51มันไม่ใข่แค่เพราะเราชอบดื่มน้ำ
-
0:51 - 0:56หรือสิ่งที่ได้มาจากน้ำ เช่น เบียร์ ไวน์ ฯลฯ
-
0:56 - 0:58และแน่นอน เราชอบมองมันตกลงมาจากฟากฟ้า
-
0:58 - 1:01และไหลผ่านในแม่น้ำที่งดงาม
-
1:01 - 1:03แล้วเหตุผลอื่น ๆ อีกมากมาย
-
1:03 - 1:05ช่วงที่ผมเป็นเด็ก ผมเติบโตในนิวยอร์ก
-
1:05 - 1:07ผมถูกใจงูเข้าอย่างจัง เหมือนเด็กคนอื่นที่
-
1:07 - 1:12ถูกใจเสื้อ ลูกปัด รถยนต์ รถไฟ คริกเก็ต
-
1:12 - 1:14คุณแม่ที่เก่งกล้าของผม
-
1:14 - 1:16นี่เป็นส่วนหนึ่งที่ผมต้องโทษท่าน
-
1:16 - 1:18พาผมไปพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ
-
1:18 - 1:20และซื้อหนังสือเกี่ยวกับงูให้ผม
-
1:20 - 1:24และเริ่มเรื่องราวที่น่าอับอายของผม
-
1:24 - 1:26ซึ่งท้ายสุดแล้ว
-
1:26 - 1:30คือการเดินทางมาอินเดียเมื่อ 60 ปีก่อน
-
1:30 - 1:32แม่ผม โดริส นอร์เดน พาผมมา
-
1:32 - 1:34พร้อมกับพ่อเลี้ยง รามา ฉัตโตปัทธยะ
-
1:34 - 1:38มันเป็นการเดินทางที่น่าตื่นเต้น
และน่าหวาดเสียว -
1:38 - 1:40สัตว์สองชนิดและสัตว์เลื้อยคลานอีกสองชนิด
-
1:40 - 1:43ที่จับใจผมอยู่หมัดตั้งแต่แรก
-
1:43 - 1:46หนึ่งในนั้นคือสัตว์จำพวกจระเข้
-
1:46 - 1:48จระเข้ที่โตเต็มวัยเกือบ 6 เมตรกว่า
-
1:48 - 1:50อยู่ในน่านน้ำทางเหนือ
-
1:50 - 1:55และงูจงอาง งูที่ดูมีเสน่ห์มาก
-
1:55 - 1:57เรื่องหลักที่ผมจะพูดในวันนี้ก็คือ
-
1:57 - 2:00การจัดเรียงความเชื่อที่ฝังใจพวกคุณเสียใหม่
-
2:00 - 2:03ด้วยเสน่ห์และเอกลักษณ์ของสัตว์เหล่านี้
-
2:03 - 2:06เพราะสิ่งที่คุณจะได้ไปจากที่นี่
-
2:06 - 2:09ผมหวังว่าคุณจะได้เชื่อมโยงกับธรรมชาติใหม่
-
2:11 - 2:14งูจงอางดูน่าสนใจหลายอ่าง
-
2:14 - 2:17รูปนี้ที่คุณเห็นเพึ่งจะถ่ายเมื่อไม่นานนี้
-
2:17 - 2:19ในป่าใกล้ ๆ นี่เอง
-
2:19 - 2:21งูจงอางตัวเมียกำลังสร้างรัง
-
2:21 - 2:25นี่เป็นสัตว์ไร้กระดูกที่สามารถโกยกองใบไม้
-
2:25 - 2:27แล้ววางไข่ไว้ข้างใน
-
2:27 - 2:31สามารถทนฝนตกหนักขนาด 5-10 เมตร
-
2:31 - 2:34และไข่สามารถรอการฟักตัวได้ถึง 90 วัน
-
2:34 - 2:36และกำเนิดเป็นงูจงอางวัยแรกเกิด
-
2:36 - 2:38ดังนั้นแม่จึงต้องปกป้องลูก
-
2:38 - 2:41และหลังจากนั้น 3 เดือน
-
2:41 - 2:43เมื่อลูกงูออกจากไข่
-
2:43 - 2:46ส่วนมากมักตายไป อัตราการเสียชีวิต
-
2:46 - 2:51ของสัตว์เลื้อยคลานวัยแรกเกิดสูงมาก
เพราะพวกมันยาวเพียง 10-12 นิ้วเท่านั้น -
2:51 - 2:53ประสบการณ์แรกของผมคือในปีค.ศ. 1972
-
2:53 - 2:56ในสถานที่พิเศษที่เรียกว่า อะกุมเบ
-
2:56 - 2:59ในรัฐกรณาฏกะ รัฐนี้แหละครับ
-
2:59 - 3:02มันเป็นป่าฝนที่วิเศษมาก
-
3:02 - 3:04ครั้งแรกที่พบเจอ
-
3:04 - 3:06มันเหมือนกับ
-
3:06 - 3:10เด็กมาไซที่ต้องฆ่าสิงโตเพื่อเป็นนักรบ
-
3:10 - 3:12มันเปลี่ยนชีวิตผมไปตลอดกาล
-
3:12 - 3:15และทำให้ผมอยากทำงานอนุรักษ์
-
3:15 - 3:17ผมจึงหันมาเริ่มทำงานวิจัย
-
3:17 - 3:19และสถานศึกษาในอะกุมเบ
-
3:19 - 3:22ซึ่งคุณทุกคนสามารถไปแวะชม
-
3:22 - 3:24นี่คือฐานปฏิบัติงานเบื้องต้น
-
3:24 - 3:26เราพยายามรวบรวมข้อมูลและศึกษา
-
3:26 - 3:28ทุกอย่างที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
-
3:28 - 3:31ของระบบป่าที่ซับซ้อนแห่งนี้
-
3:31 - 3:33และพยายามรวบรวมสิ่งที่เหลืออยู่เอาไว้
-
3:33 - 3:36และเพื่อมั่นใจว่าแหล่งน้ำจะถูกรักษาเอาไว้
-
3:36 - 3:39และที่แน่ ๆ เป็นเวลาแห่งความสุขด้วยครับ
-
3:39 - 3:41คุณเกือบที่จะได้ยินเสียงกลอง
-
3:41 - 3:46เป็นจังหวะในกระท่อมเวลาที่คุณพักที่นั่น
-
3:46 - 3:50มันสำคัญมากที่เราจะต้องเข้าใจจิตใจของผู้คน
-
3:50 - 3:53และเรามักได้มันมาผ่านทางเด็ก ๆ
-
3:53 - 3:55พวกเขาชื่นชอบงู พวกเขายังไม่มี
-
3:55 - 3:58กรอบเหล็กที่คนส่วนมากได้มา
-
3:58 - 4:02หลังจากกลัว เกลียดหรือดูหมิ่นหรือขยะแขยง
พวกมันก็ตามแต่ -
4:02 - 4:04เด็กเหล่านี้สนใจกับงู
-
4:04 - 4:06แล้วมันก็ได้ผลมากที่จะเริ่มงานกับเด็ก ๆ
-
4:06 - 4:08แล้วนี่จะให้แนวคิดถึงความยาวของงูแต่ละชนิด
-
4:08 - 4:11งูจงอางยาวประมาณ 3.6 เมตร
-
4:11 - 4:13และมันชอบเลื้อยเข้ามาในห้องน้ำ
-
4:13 - 4:15แล้วก็อยู่ในนั้นสัก 2 - 3 วัน
-
4:15 - 4:17ผู้คนในย่านนี้ที่อินเดีย
-
4:17 - 4:19นับถือบูชางูจงอาง
-
4:19 - 4:21พวกเขาไม่ฆ่ามัน เขาเรียกให้เราไปจับงูให้
-
4:21 - 4:23จนถึงวันนี้เราจับได้มากกว่า 100 ตัว
-
4:23 - 4:25ในช่วงเวลาแค่ 3 ปี
-
4:25 - 4:28แล้วเราก็ย้ายงูที่จับได้ปล่อยสู่ป่าใกล้ๆ
-
4:28 - 4:31แต่เพื่อให้เราเข้าใจถึงความลับของงูนี้
-
4:31 - 4:34(ด้วยความจำเป็น) เราจึงต้องฝัง
-
4:34 - 4:37ตัวปล่อยสัญญาณวิทยุลงไปในงูทุกตัว
-
4:37 - 4:41เราจึงสามารถตามมันไปได้ทุกที่
และค้นหาความลับของมัน -
4:41 - 4:44ลูกของมันเกิดที่ไหน
-
4:44 - 4:48และความน่าจดจำของสิ่งที่คุณกำลังจะได้เห็น
-
4:48 - 4:50นี่เพิ่งเกิดไม่กี่วันที่ผ่านมาในอะกุมเบ
-
4:50 - 4:55ผมได้มีโอกาสเข้าใกล้งูจงอางกลุ่มใหญ่
-
4:55 - 4:57พวกมันจับงูกะปะพิษได้
-
4:57 - 5:00โดยที่ไม่ถูกกัดตอบ
-
5:00 - 5:04งูจงอางจะกินแค่งูด้วยกันเองเท่านั้น
-
5:04 - 5:06ส่วนงูกะปะนี่เป็นเพียงขนมเท่านั้น
-
5:06 - 5:08แบบที่เราเรียกว่า วาไดหรือโดนัท อะไรแบบนี้
-
5:08 - 5:11(เสียงหัวเราะ)
-
5:11 - 5:13ปกติพวกมันกินอะไรที่ตัวใหญ่กว่านี้
-
5:13 - 5:17ในกรณีค่อนข้างแปลกและอธิบายยาก
-
5:17 - 5:20มันมักเกิดขึ้นในฤดูผสมพันธุ์ครั้งสุดท้าย
-
5:20 - 5:24ที่ตัวผู้จับตัวเมีย
-
5:24 - 5:27แต่แทนที่จะผสมพันธุ์ มันฆ่าและกลืนลงท้อง
-
5:27 - 5:29พวกเรายังพยายามหาคำตอบว่า
-
5:29 - 5:34อะไรคือประโยชน์ของวิวัฒนาการแบบนี้
-
5:34 - 5:37แต่พวกมันก็ทำอีกหลายอย่างที่น่าสนใจ
-
5:37 - 5:39และก็อีกนั่นแหละที่เราได้จากการที่
-
5:39 - 5:42เราฝังเครื่องส่งสัญญาณวิทยุลงในงู
-
5:42 - 5:45เมื่อตัวผู้ที่ยาว 3.6 ม นี้เจอตัวผู้อีกตัว
-
5:45 - 5:49และพวกมันร่ายระบำเพื่อต่อสู้
-
5:49 - 5:51มันเหมือนพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและมนุษย์
-
5:51 - 5:55เวลาเราพยายามจะถกเถียงกันกัน
แต่พวกมันอ่อนโยนกว่าเพราะไม่มีการกัด -
5:55 - 5:57เป็นเพียงแค่มวยปล้ำ
-
5:57 - 5:59ที่น่าสนใจอย่างยิ่งคือ
-
5:59 - 6:01แล้วเราทำอะไรกับข้อมูลนี้หรือครับ
-
6:01 - 6:03ประเด็นหลักมันอยู่ตรงไหนกัน
-
6:03 - 6:05ก็เพราะงูจงอางเป็น
-
6:05 - 6:08สายพันธุ์หลักในป่าฝน
-
6:08 - 6:12และหน้าที่พวกเราคือชี้นำเจ้าหน้าที่รัฐ
-
6:12 - 6:14ทำให้ป่าแห่งนี้กลายเป็นป่าสงวน
-
6:14 - 6:16และก็เป็นอีกหนทางหนึ่ง
-
6:16 - 6:18โดยเรียนรู้ให้มากที่สุด
-
6:18 - 6:22เกี่ยวกับเรื่องราวที่น่าจดจำของ
สัตว์ที่โดดเด่นในป่าแห่งนี้ -
6:22 - 6:25ทั้งหมดก็เพื่อปกป้องต้นไม้ สัตว์ป่า
-
6:25 - 6:27และแน่นอนแหล่งน้ำธรรมชาติ
-
6:27 - 6:29บางทีพวกคุณอาจเคยได้ยินถึงโครงการไทเกอร์
-
6:29 - 6:32ที่เริ่มขึ้นในยุคช่วงปี ค.ศ. 1970
-
6:32 - 6:36ซึ่งเป็นช่วงสำคัญของการอนุรักษ์
-
6:36 - 6:39พวกผมเริ่มต้นจุดพลุ ผมอยากจะเล่าว่า
-
6:39 - 6:41โดยท่านผู้หญิงที่ค่อนข้างเผด็จการ
-
6:41 - 6:45แต่มีหัวใจรักในสิ่งแวดล้อม
-
6:45 - 6:48และนี่คือต้นการกำเนิดของโครงการไทเกอร์
-
6:48 - 6:51และก็เหมือนกับโครงการไทเกอร์
-
6:51 - 6:53ที่กิจกรรมพวกผมเกี่ยวกับพวกงูจงอาง
-
6:53 - 6:55ในการมองไปที่สายพันธุ์ต่าง ๆ ของสัตว์
-
6:55 - 6:58เพื่อปกป้องถิ่นที่อยู่และทุกอย่างในนั้น
-
6:58 - 7:00เสือที่เคยเป็นสัญลักษณ์
-
7:00 - 7:04ตอนนี้งูจงอางก็เป็นเช่นนั้น
-
7:04 - 7:06แม่น้ำหลักทุกสายตอนใต้อินเดีย
-
7:06 - 7:08เกิดจากเทือกเขาGhatsด้านตะวันตก
-
7:08 - 7:12ซึ่งเป็นแนวภูเขาแถบชายฝั่งตะวันตกอินเดีย
-
7:12 - 7:15มีน้ำกว่าล้านแกลลอนไหลออกมาในทุกชั่วโมง
-
7:15 - 7:19และเป็นแหล่งน้ำดื่มของคนกว่า 300 ล้านคน
-
7:19 - 7:22และเป็นน้ำอาบให้เด็กทารกหลายคน
-
7:22 - 7:25และเป็นแหล่งน้ำดื่มของสัตว์
-
7:25 - 7:27ทั้งสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง
-
7:27 - 7:29น้ำจากที่นี่ใช้ปลูกข้าวหลายพันตัน
-
7:29 - 7:31แล้วเราทำอะไรกับน้ำเหล่านี้
-
7:31 - 7:33เราทำเขื่อน แล้วเราก็ทำให้มันสกปรก
-
7:33 - 7:36เราเทยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าเชื้อราลงไป
-
7:36 - 7:39แล้วเราก็ดื่มเข้าไปทำให้ชีวิตเราปนเปื้อน
-
7:39 - 7:42แล้วมันไม่ใช่แค่โรงงานใหญ่ๆ
-
7:42 - 7:44ไม่ใช่เพราะนักวิศวะบางคน
-
7:44 - 7:46คนที่ทำน่ะ พวกเราทั้งหมด
-
7:46 - 7:50มันเหมือนว่าทางที่ดีที่สุดสำหรับเรา
ในการทิ้งขยะ -
7:50 - 7:52คือการทิ้งลงน้ำ
-
7:52 - 7:55โอเค ทีนี้เราขึ้นเหนือบ้าง ไกลไปหน่อย
-
7:55 - 7:57ที่แม่น้ำชามบาลในภาคเหนือตอนกลางของอินเดีย
-
7:57 - 7:59ฐานปฏิบัติงานของเราอยู่ที่นี่
-
7:59 - 8:03ที่นี่เป็นบ้านของจระเข้ gharial ชนิดหนึ่ง
-
8:03 - 8:06มันเป็นสัตว์ที่อยู่บนโลก
-
8:06 - 8:09มาประมาณ 100 ล้านปีแล้ว
-
8:09 - 8:13มันอยู่ได้แม้กระทั่งในวันที่ไดโนเสาร์ตาย
-
8:13 - 8:15มันมีองค์ประกอบที่น่าสนใจ
-
8:15 - 8:17ถึงแม้มันจะโตเต็มที่ขนาด 6 เมตรกว่า
-
8:17 - 8:20เพราะมันกินแค่ปลาจึงไม่เป็นอันตรายต่อคน
-
8:20 - 8:22แต่มันก็ยังมีฟันที่ค่อนข้างใหญ่
-
8:22 - 8:24มันจึงยากที่จะชวนให้คนเชื่อ
-
8:24 - 8:27ว่าสัตว์ที่มีฟันใหญ่เป็นสัตว์ที่ปลอดภัย
-
8:27 - 8:31แต่จริงๆ แล้ว ย้อนไปเมื่อช่วงต้นยุค 1970
-
8:31 - 8:33เราทำแบบสำรวจ
-
8:33 - 8:37และพบว่าจระเข้ gharial เป็นสัตว์หายาก
-
8:37 - 8:39ถ้าคุณดูแผนที่
-
8:39 - 8:41ถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมของมันคือ
-
8:41 - 8:44จากแถบอินดัสในปากีสถาน
-
8:44 - 8:46มาจึงถึงเมืองอิรวดีในพม่า
-
8:46 - 8:48แต่ตอนนี้เราพบมันแค่ไม่กี่ที่
-
8:48 - 8:50ในเนปาลและอินเดีย
-
8:50 - 8:53ดังนั้น ข้อเท็จจริงในตอนนี้
-
8:53 - 8:57มีจระเข้ gharial เหลือเพียง 200 ตัวเท่านั้น
-
8:57 - 8:59ดังนั้นตั้งแต่กลางยุค 1970
-
8:59 - 9:02เราทำการอนุรักษ์จระเข้ชนิดนี้อย่างจริงจัง
-
9:02 - 9:05เราได้เริ่มโครงการ
-
9:05 - 9:07ที่มีรัฐบาลสนับสนุน
-
9:07 - 9:10ด้วยการเก็บไข่จากรังที่เหลืออยู่
-
9:10 - 9:12แล้วปล่อยลูกจระเข้ 5,000 ตัว
-
9:12 - 9:14กลับคืนถิ่น
-
9:14 - 9:17แล้วในไม่ช้าเราก็จะได้เห็นภาพแบบนี้
-
9:17 - 9:20ผมหมายถึงเราจะได้เห็นจระเข้ gharial
-
9:20 - 9:22กลับมาในแม่น้ำอีกครั้ง
-
9:22 - 9:26แต่ก็ยังมีเรื่องความไม่พึงพอใจ
เรื่องการผสมพันธุ์บ้าง -
9:26 - 9:29เพราะด้วยองค์ประกอบอื่นๆใน แม่น้ำ
-
9:29 - 9:32เช่น การดูดทราย
-
9:32 - 9:36การทำไร่อย่างหนักไปตลอดลำน้ำ
-
9:36 - 9:38ทำให้สัตว์ไม่สามารถผสมพันธุ์ได้
-
9:38 - 9:41เรากำลังมองถึง
-
9:41 - 9:44ปัญหาการเพิ่มจำนวนจระเข้
-
9:44 - 9:46ถึงแม้เราจะมีเจตนาที่ดี
-
9:46 - 9:50รังฟักไข่ของพวกมันอยู่ริมแม่น้ำ
-
9:50 - 9:53ครั้งละขั้นต่ำ 100 ตัว ช่างเป็นเรื่องน่าชม
-
9:53 - 9:55ภาพนี้ถ่ายเมื่อปีที่แล้ว
-
9:55 - 9:59แล้วพายุมรสุมก็มาถึง
-
9:59 - 10:01โชคไม่ดีที่มีเขื่อนอยู่ปลายน้ำหรือ
-
10:01 - 10:03มีทางกั้นน้ำบางอย่างอยู่
-
10:03 - 10:07พวกมันจึงถูกพัดพาไปตามแม่น้ำสู่จุดจบ
-
10:07 - 10:09แต่โชคดีที่มีคนสนใจมาก
-
10:09 - 10:12เพื่อนผมเป็นผู้เชี่ยวชาญจระเข้ของ IUCN
-
10:12 - 10:14องค์กรไม่แสวงหากำไรชื่อคลังจระเข้มัทราส
-
10:14 - 10:16กองทุนพิทักษ์สัตว์ป่าโลก
-
10:16 - 10:19สถาบันสัตว์ป่าอินเดีย กระทรวงป่าไม้
-
10:19 - 10:22และรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม พวกเราทำงานร่วมกัน
เพื่อช่วยเหลือพวกมัน -
10:22 - 10:26มันก็พอได้ แต่ก็ยังไม่ดีพอ
-
10:26 - 10:31ผมขอยกตัวอย่าง ช่วงหน้าหนาวปี 2007 - 2008
-
10:31 - 10:35มีจระเข้ gharial ตายในแม่น้ำชามบาลตัวหนึ่ง
-
10:35 - 10:37จู่ ๆ ก็มีจระเข้อีกนับโหลตายพร้อมกันด้วย
-
10:37 - 10:39ทำไม เกิดอะไรขึ้น
-
10:39 - 10:41แม่น้ำสายนี้ค่อนข้างสะอาด
-
10:41 - 10:44ถ้าคุณมองดูแม่น้ำชามบาลมีน้ำที่ใส
-
10:44 - 10:46ผู้คนตักน้ำขึ้นมาดื่มได้เลย
-
10:46 - 10:49ซึ่งเป็นสิ่งที่คนปกติไม่ทำในอินเดียเหนือ
-
10:49 - 10:52เพื่อหาคำตอบในเรื่องนี้
-
10:52 - 10:54เราได้พาสัตว์แพทย์จากทั่วโลก
-
10:54 - 10:57มาทำงานร่วมกับคณะทำงานที่อินเดียเพื่อค้นหา
ว่าเกิดอะไรขึ้น -
10:57 - 11:01ผมอยู่ตอนผ่าศพจระเขที่ริมแม่น้ำนั่นตลอด
-
11:01 - 11:03เราตรวจสอบอย่างละเอียด
-
11:03 - 11:06อวัยวะภายในทั้งหมดและพยายามหาสาเหตุ
-
11:06 - 11:09แล้วเราพบจุดจบกัยสิ่งที่เรียกว่า เกาท์
-
11:09 - 11:12ซึ่งเกิดจากไตพัง
-
11:12 - 11:15เป็นผลึกกรดยูริคไปทั้งลำตัว
-
11:15 - 11:18และแย่หนักที่ข้อกระดูก
-
11:18 - 11:21ทำให้จระเข้ไม่สามารถว่ายน้ำได้
-
11:21 - 11:23และต้องตายลงอย่างทรมาน
-
11:23 - 11:25ที่ปลายน้ำของแม่น้ำชามบาล
-
11:25 - 11:28มีแม่น้ำยมุนาศักดิ์สิทธิ์ที่สกปรก
-
11:28 - 11:32ผมไม่ชอบที่จะประชดในเรื่องนี้
-
11:32 - 11:35แต่มันเป็นความจริง สกปรกที่สุดที่จะนึกได้
-
11:35 - 11:39มันไหลผ่านเดลี มธุระ อัครา
-
11:39 - 11:42และได้รับน้ำทิ้งทั้งหมดเท่าที่จะนึกออก
-
11:42 - 11:46ดังนั้นมันเหมือนว่าสารพิษเป็นเหตุฆ่าจระเข้
-
11:46 - 11:48บางอย่างที่เห็นห่วงโซ่อาหาร
-
11:48 - 11:50บางอย่างในปลาที่พวกมันกิน
-
11:50 - 11:52อย่างที่รู้กันหากสารพิษอยู่ในห่วงโซ่อาหาร
-
11:52 - 11:55ทุกอย่างมีผลต่อกัน รวมถึงต่อพวกเราด้วย
-
11:55 - 11:59เพราะแม่น้ำสายนี้คือชีวิตของผู้คน
-
11:59 - 12:01เพื่อที่จะตอบคำถามเหล่านี้
-
12:01 - 12:03เราจึงหันไปพึ่งเทคโนโลยี
-
12:03 - 12:06ในกรณีนี้คือเทคโนโลยีชีวภาพ
-
12:06 - 12:10อีกครั้งที่เราใส่เครื่องจับสัญญาณ
ในจระเข้ 10 ตัว -
12:10 - 12:12เราเฝ้ามองและติดตามการเคลื่อนไหวของมัน
-
12:12 - 12:14ทุกวันแม้กระทั่งเดี๋ยวนี้ เพื่อหาคำตอบ
-
12:14 - 12:17ว่าสารลึกลับนี้คืออะไรกันแน่
-
12:17 - 12:21แม่น้ำชามบาลเป็นสถานที่ที่วิเศษสุด
-
12:21 - 12:24มันมีชื่อเสียงสำหรับทุกคนที่รู้เรื่อง
-
12:24 - 12:27พวกผู้ร้ายและฝูงโจรพื้นเมือง
-
12:27 - 12:30ที่เคยดักปล้นอยู่แถวนี้ก็ยังพอมีอยู่บ้าง
-
12:30 - 12:33ที่พูลแลนเทวีเป็นหนึ่งในนั้น
ที่ซึ่งจักรคา คาปูร์ -
12:33 - 12:36นำมาสร้างเป็นหนังเรื่องราชนีโจร
ซึ่งคุณควรหามาดู -
12:36 - 12:39คุณจะได้เห็นภูมิทัศน์ที่สวยงามของชามบาล
-
12:39 - 12:43ซึ่งอีกนั่นแหละยิ่งทำให้เราอยากไปตกปลาอย่างแรง
-
12:43 - 12:46ที่นี่เป็นหนึ่งในสถานที่สุดท้ายของ
-
12:46 - 12:48ปลาโลมาน้ำจืดในแม่น้ำคงคา
-
12:48 - 12:50เต่าหลายเผ่าพันธุ์
-
12:50 - 12:52นกอพยพนับพันตัว
-
12:52 - 12:55และการตกปลาเป็นตัวสร้างปัญหาทั้งหมด
-
12:55 - 13:00และปัจจัยใหม่ที่มนุษย์กลัว
-
13:00 - 13:03คือสัตว์น้ำอย่างจระเข้ gharial
-
13:03 - 13:06คือถ้าพวกมันไม่ถูกจับในแหอวน
-
13:06 - 13:08ก็ถูกจับตัดปาก
-
13:08 - 13:10สัตว์อย่างโลมาลุ่มแม่น้ำคงคา
-
13:10 - 13:12มีเหลือเพียงแค่ไม่กี่ตัว
-
13:12 - 13:14และยังใกล้สูญพันธุ์
-
13:14 - 13:16แล้วใครเป็นรายต่อไป พวกเราเหรอ
-
13:16 - 13:19เพราะเราต้องอาศัยโดยพึ่งพาแหล่งน้ำพวกนี้
-
13:19 - 13:21พวกเรารู้เรื่องแม่น้ำนาร์มาดาใช่ไหมครับ
-
13:21 - 13:24เรื่องเศร้าจากเขื่อนและโครงการใหญ่
-
13:24 - 13:27ที่มาแทนที่คนและทำลายระบบนิเวศแม่น้ำ
-
13:27 - 13:29ทำให้ไม่มีช่องทางทำมาหากิน
-
13:29 - 13:32และการพัฒนาต่อยอดก็บ้ามาก
-
13:32 - 13:36เพื่อการเติบโตของตัวเลขสองเท่า
-
13:36 - 13:40คือพวกเราไม่รู้ว่าเรื่องนี้จะจบเมื่อไหร่
-
13:40 - 13:42ว่ามันจะได้จบแบบดีหรือร้าย
-
13:42 - 13:44อากาศเปลี่ยนแปลงก็เกิดขึ้นอยู่
-
13:44 - 13:47ทำให้ทั้งทฤษฎีและการคาดคะเนเปลี่ยนไปเสมอ
-
13:47 - 13:49พวกเรายังทำงานอย่างหนักอยู่เสมอ
-
13:49 - 13:52พวกเรามีพวกพ้องและทีมงานที่ดีที่นั่น
-
13:52 - 13:55และที่สำคัญคือคนตัดสินใจ
-
13:55 - 13:57คนที่มีอำนาจ
-
13:57 - 13:59พวกเขานั่งอยู่ในบังกาโลที่เดลี
-
13:59 - 14:02ในเมืองหลวงที่มีน้ำใช้เยอะแยะ ก็ดีนะ
-
14:02 - 14:05แต่ในเขตลุ่มน้ำมีคนอีกเป็นล้าน
-
14:05 - 14:08ที่กำลังมีปัญหา
-
14:08 - 14:10และมีอนาคตที่มืดมัว
-
14:10 - 14:13เราจึงมีโครงการทำความสะอาดคงคาและยมุนา
-
14:13 - 14:15เราใช้เงินไปหลายล้านเหรียญ
-
14:15 - 14:18แต่ไม่มีอะไรจะแสดงให้เห็น เยี่ยมมาก
-
14:18 - 14:21คนจึงเริ่มพูดเรื่องการเมือง
-
14:21 - 14:24ในช่วงที่มีการตายมากขึ้น
เรารณรงค์หาการร่วมมือมากขึ้น -
14:24 - 14:26แม้แต่รัฐบาลก็ร่วมมือมากขึ้นด้วย
-
14:26 - 14:28เราได้สัตว์แพทย์ต่างชาติเข้ามาช่วยเหลือ
-
14:28 - 14:30เพื่อให้เราบรรลุเป้าหมายนี้
-
14:30 - 14:32แต่ถ้าคุณเดินทางลงไปที่ยมุนา
-
14:32 - 14:34หรือแม่น้ำโกมาติที่ลัคเนา
-
14:34 - 14:37หรือที่แม่น้ำอัทยาร์ที่เชนไน
-
14:37 - 14:40หรือที่แม่น้ำมุละมุธะในเมืองปูเน่
-
14:40 - 14:44ไปดูสิ่งที่คนกับกับแม่น้ำ มันน่าเศร้ามาก
-
14:44 - 14:47แต่สุดท้ายแล้ว
-
14:47 - 14:50ผมว่าพวกเราทำได้
-
14:50 - 14:53ทั้งบริษัท ศิลปิน นักบ้าชีวิตสัตว์ป่า
-
14:53 - 14:55และพวกชาวบ้านในพื้นที่ทุกคน
-
14:55 - 14:58สามารถฟื้นฟูชีวิตสู่แม่น้ำได้
-
14:58 - 15:00และคำสุดท้ายที่ผมขอพูด
-
15:00 - 15:04มีงูจงอางมองอยู่บนไหล่คุณ
-
15:04 - 15:07และมีจระเข้มองจากในแม่น้ำ
-
15:07 - 15:09และตัวแทนที่ทรงพลังของแม่น้ำต่าง ๆ
-
15:09 - 15:13พวกเขาจะมาทำให้คุณฝันร้าย
จนกว่าเราจะทำสิ่งที่ถูกต้อง -
15:13 - 15:15นมัสเต
-
15:15 - 15:21(เสียงปรบมือ)
-
15:21 - 15:24คริส แอนเดอร์สัน: ขอบคุณครับ รอม ขอบคุณมาก
-
15:24 - 15:27คุณรู้ไหม คนส่วนมากกลัวงู
-
15:27 - 15:29และคงมีคนบางคนในที่นี้
-
15:29 - 15:32โล่งใจที่จะเห็นงูจงอางหายไปจากโลก
-
15:32 - 15:35คุณจะอยากคุยกับคนเหล่านี้ไหม
-
15:35 - 15:37จะทำอย่างไรให้พวกเขาใส่ใจล่ะ
-
15:37 - 15:42โรมูลัส วิทเทคเกอร์: ผมจะทำอย่างนอบน้อม
-
15:42 - 15:46ผมคงพูดได้ว่างูก็ไม่ได้น่ากอดเท่าไหร่นัก
-
15:46 - 15:49พวกมันไม่ใช่ตุ๊กตาหมีเท็ดดี้
-
15:49 - 15:53แต่ผมว่าทำนองนั้น มีความบริสุทธิ์ใจ
ในพวกสัตว์เหล่านี้ -
15:53 - 15:55เวลาที่คนทั่วไปมองดูงูจงอาง
-
15:55 - 15:57ทำเสียงขู่ แล้วคนก็ร้อง "โอ้พระเจ้า
-
15:57 - 15:59ดูสัตว์ที่กำลังโกรธและน่ากลัวตัวนั้นสิ"
-
15:59 - 16:02ผมกลับมองว่างูคงกำลังกลัวเรามากกว่า
-
16:02 - 16:05สิ่งที่น่ากลัวมากกว่าคือมนุษย์
-
16:05 - 16:08และนั่นเป็นความจริงที่ผมอยากบอก
-
16:08 - 16:12(เสียงปรบมือ)
-
16:12 - 16:14คริส: ในคลิปที่เราเห็นงูกำลังโดนฆ่า
-
16:14 - 16:17คุณกำลังบอกว่าไม่มีใครถ่ายมาก่อนเลยเหรอ
-
16:17 - 16:20รอม:ใช่ครับนี่เป็นครั้งแรกที่เรารู้เรื่อง
พวกมันก็เรื่องหนึ่งล่ะ -
16:20 - 16:23และอย่างที่ผมบอกว่านั่นเป็นเพียงของว่าง
-
16:23 - 16:25เพราะมันกินงูที่ตัวใหญ่กว่าเช่นงูสิง
-
16:25 - 16:27หรือแม้แต่งูเห่า
-
16:27 - 16:30แต่เพราะตัวที่เราตามไปนี้ได้เข้าไปในป่าลึก
-
16:30 - 16:32ในขณะที่งูจงอางตัวอื่น
-
16:32 - 16:34พบเจอมนุษย์บ่อยมาก
-
16:34 - 16:37แบบในสวนที่คุณเจอพวกงูสิงและของอื่น ๆ
-
16:37 - 16:40ชายคนนี้เชี่ยวชาญด้านงูเขียวหางไม้
-
16:40 - 16:42และคนที่ทำงานกับเขา
-
16:42 - 16:45เขามาจากมหาราชพูดว่า
"ผมคิดว่าหลังจากมันได้นัชชะ" -
16:45 - 16:47(เสียงหัวเราะ)
-
16:47 - 16:49นัชชะหมายถึงการเมายา
-
16:49 - 16:52เวลามันกินงูเขียวหางไม้มันจะเมาพิษงูนิด ๆ
-
16:52 - 16:54(เสียงหัวเราะ)
-
16:54 - 16:56คริส: ขอบคุณครับรอม
-
16:56 - 16:58(เสียงปรบมือ)
- Title:
- อันตรายที่ซอนอยู่ในแม่น้ำที่แท้จริง
- Speaker:
- รอมมูลัว วิทเทคเกอร์ (Romulus Whitaker)
- Description:
-
จระเข้และงูจงอางเป็นสัตว์เลื้อยคลานสองชนิดที่เป็นเอกลักษณ์ของอินเดีย และพวกมันก็กำลังจะสูญพันธุ์สาเหตุจากน้ำเน่าเสีย นักอนุรักษ์อย่างรอมมูลัว วิทเทคเกอร์แสดงให้เราเห็นภาพถ่ายหายากของสัตว์ที่สวยงามเหล่านี้ และพยายามชี้น้ำให้พวกเรารักษาแม่น้ำเพื่อสร้างชีวิตที่ยั่งยืนยิ่งขึ้นของพวกสัตว์เหล่านี้และทั้งของพวกเรา
- Video Language:
- English
- Team:
closed TED
- Project:
- TEDTalks
- Duration:
- 16:58
![]() |
TED Translators admin approved Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Rawee Ma accepted Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Rawee Ma edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Thanapon Chaivanichakul edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Thanapon Chaivanichakul edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Thanapon Chaivanichakul edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Thanapon Chaivanichakul edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water | |
![]() |
Thanapon Chaivanichakul edited Thai subtitles for The real danger lurking in the water |