-
-
-
ตอนนี้เราอยู่ที่โจทย์ข้อสี่, เขาบอกทฤษฎีบทเรามา
-
มันบอกว่า สามเหลี่ยม, มีอย่างมาก, มุมป้านเดียว
-
ใช้ได้
-
เอดูอาร์โด พิสูจน์ทฤษฎีข้างต้นด้วยการขัดแย้ง
-
-
-
วิธีการพิสูจน์ด้วยการขัดแย้ง, ก็คือว่า,
-
จะเกิดอะไรขึ้นหากมันไม่จริง
-
ขอผมพิสูจน์ว่านั่นไม่มีทางเกิดขึ้น
-
ลองดูว่าเขาทำยังไงแล้วกัน
-
เขาเริ่มต้นด้วยการสมมุติว่า, สามเหลี่ยม ABC, มุม A กับ B
-
ทั้งคู่เป็นมุมป้าน
-
ทฤษฎีใดที่เอดูอาร์โดจะใช้เพื่อให้ได้การขัดแย้ง?
-
ขอโอเค, ขอผมวาดนี่, สิ่งที่เอดูอาร์โดพยายามทำ
-
วิธีที่ผมวาดที่จะดูยาก
-
นี่ไม่ได้วาดให้ถูกสเกลเลย
-
เขาก็บอกว่ามุม A กับ B ทั้งคู่เป็นมุมป้าน
-
นี่หมายความว่ามุมนี้มากกว่า 90
-
สมมุติว่านั่นคือมุม A
-
นี่คือมุม B
-
และมันมากกว่า 90
-
นั่นคือสิ่งที่ ป้าน หมายถึง
-
ทฤษฎีใดที่เอดูอาร์โดใช้เพื่อให้ได้การขัดแย้ง?
-
ทีนี้, ก่อนที่เราจะอ่านตัวเลือก, คิดกันก่อน
-
เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับสามเหลี่ยม?
-
มุมทั้งหมดรวมกันได้ 180 องศา, จริงไหม?
-
หากนี่คือมุม A, นี่คือมุม B, แล้วเรียกนี่
-
ว่ามุม C
-
เรารู้ว่า A บวก B บวก C ต้องเท่ากับ
-
180 องศา, จริงไหม?
-
หรืออีกวิธีมองคือว่า C เท่ากับ 180
-
ลบ A ลบ B
-
หรือวิธีคิดอีกอย่างคือ, ผมแค่เขียน
-
มันหลาย ๆ แบบ
-
C เท่ากับ 180 ลบ A บวก B, จริงไหม?
-
ทีนี้, ขอผมถามคุณหน่อย
-
หากเราสมมุติจากที่ตั้งไว้, ตามที่เอดูอาร์โอทำ, หากเรา
-
สมมุติว่า A กับ B ทั้งคู่มากกว่า 90 องศา, A บวก B
-
จะต้องมีค่าอย่างน้อยมากกว่าเท่าไหร่?
-
หากนี่มากกว่า 90 และนั่นมากกว่า 90, แล้ว
-
A บวก B จะมากกว่า 90 บวก 90
-
นี่จะต้องมากกว่า 180
-
แล้วหากนี่มากกว่า 180, เราจะลบมัน
-
จาก 180, นี่ก็จะบอกเราว่า หากมุม A มากกว่า
-
90, มุม B มากกว่า 90, แล้วเราจะสรุป
-
ได้ว่า, จากประโยคนี่ตรงนี้
-
จากสมการนี่ตรงนี้
-
หากนี่กับนี่มากกว่า 90 แล้ว ทอมทั้งหมดนี่
-
จะมากกว่า 180
-
และข้อสรุปจะเป็นว่า C ต้องน้อยกว่า
-
ศูนย์, แต่เรามีมุมเป็นลบไม่ได้
-
ตรงนี้, นั่นเลยเป็นข้อขัดแย้ง
-
แล้วคุณก็บอกว่า, โอเค, ดังนั้น คุณเลยมี
-
มุมมากกว่า 90 องศา หรือมุมป้าน
-
สองมุมไม่ได้
-
และนั่นคือการพิสูจน์โดยการขัดแย้ง
-
ลองดูว่าเราสามารถพูดอันนี้
-
เป็นตัวเลือกไหนได้
-
หากมุมสองมุมของสามเหลี่ยมเท่ากัน, ด้านตรงข้าม
-
มุมพวกนั้นจะเท่ากัน
-
ไม่ใช่
-
หากมุมที่ติดกันสองมุมเท่ากัน, มุม
-
แต่ละมุมจะวัดได้ 90
-
เราไม่ได้ใช้อันนั้น
-
มุมที่ใหญ่ที่สุดของสามเหลี่ยม จะอยู่ตรงข้าม
-
กับด้านที่ยาวที่สุด
-
ไม่ใช่
-
ผลรวมมุมของสามเหลี่ยมเท่ากับ 180
-
นั่นคือสิ่งแรกที่เราเขียนตรงนี้
-
คำตอบคือข้อ D
-
นั่นคือทฤษฎีที่เอดูอาร์โดใช้ในการขัดแย้ง
-
คำถามต่อไป
-
ข้อห้า
-
-
-
โอเค, อันนี้
-
-
-
โอเค, อันนี้ยาว
-
ลองดูว่าผมจะคัดลอกแล้ววางทั้งหมดนี่ได้ไหม
-
ผมลอกมาแล้ว
-
-
-
ใช้ได้
-
-
-
ผมว่านี่เต็มหน้าต่างพอดี
-
ลองดู, เขาบอกว่าให้ใช้บทพิสูจน์เพื่อ
-
ตอบคำถามข้างล่าง
-
กำหนดให้ด้าน AB คอนกรูเอนต์กับด้าน BC
-
เราเลยบอกว่า ด้านนั้นเท่ากับด้านนั่น
-
นั่นกำหนดมา
-
D เป็นจุดกึ่งกลางของ AC
-
นั่นหมายความว่า D แบ่ง AC เท่า ๆ กัน
-
นั่นหมายความว่า AD กับ DC ยาวเท่ากัน
-
ขอผมเขียนลงไปนะ
-
-
-
พิสูจน์ว่าสามเหลี่ยม ABD เท่ากันทุกประการกับสามเหลี่ยม CBD
-
-
-
ใช้ได้, แค่ให้คุณรู้ไว้, สามเหลี่ยมคอนกรูเอนต์ หรือ เท่ากันทุกประการ
-
คือสามเหลี่ยมที่เหมือนกันทุกอย่าง, ยกเว้นว่า
-
มันอาจหมุนคนละแบบ
-
มันอาจหมุนไปแบบนึง
-
หากคุณมีสามเหลี่ยมคล้าย, คุณก็อาจมี
-
ด้านยาวไม่เท่ากัน
-
มันประมาณว่ามีรูปร่างเหมือนกัน, แต่มันอาจ
-
ย่อหรือขยายได้
-
หากคุณเท่ากันทุกประการ, คุณก็มีสามเหลี่ยมคล้าย
-
แต่มันมีด้านยาวเท่ากันด้วย
-
และแม้ว่ามันจะมีด้านเท่ากัน, มันยัง
-
พลิกได้ด้วย
-
เช่น, คุณอาจดูที่อันนี้
-
ABD เหมือนกับภาพกระจกของ DBC
-
แค่มองด้วยตา, มันก็รู้สึกเหมือนกันว่า
-
มันเป็นสามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการแล้ว
-
ลองดูว่าเขาจะพิสูจน์มันยังไง
-
ประโยคแรก, AB คอนกรูเอนต์กับ BC
-
เขาให้เรามา
-
D คือ จุดกึ่งกลางด้าน AC
-
นั่นกำหนดมา, ใช้ได้
-
AD คอนกรูเอนต์กับ CD
-
-
-
นั่นเป็นเพราะ D เป็นจุดกึ่งกลางของด้าน AC
-
เราทำส่วนั่นตรงนี้, ตามนิยามของจุดกึ่งกลาง
-
ใช้ได้
-
BD คอนกรูเอนต์กับ BD, แน่นอน
-
อะไรก็ตามย่อมคอนกรูเอนต์กับตัวอย่าง
-
นั่นแค่บอกว่า BD สำหรับสามเหลี่ยนนั้น ยาว
-
เท่ากับ BD ของสามเหลี่่ยมนี้
-
ใช้ได้, สมบัติสะท้อน
-
เป็นคำหรู ๆ สำหรับแนวคิดธรรมดา ๆ
-
แล้วสุดท้าย, เขาบอกว่าสามเหลี่ยม ABD
-
คอนกรูเอนต์กับ CBD
-
โอเค, จากข้อมูลพวกนี้, ใช้ประโยคพวกนี้,
-
เราได้แสดงแล้วว่าพวกมันมี
-
ด้านสามด้านเท่ากัน
-
สามเหลี่ยมทั้งสองมีด้านยาว BD
-
ทั้งคู่มีด้าน AD หรือ DC เหมือนกัน
-
และสามเหลี่ยมทั้งคู่มีด้าน BA
-
ดังนั้นด้านทั้งหมด มีความยาวเท่ากัน
-
นั่นคือสิ่งที่เรารู้หลังจากสามขั้นแรกแล้ว
-
แล้วเหตุผลไหนสามารถใช้เพื่อพิสูจน์ว่า
-
สามเหลี่ยมคอนกรูเอนต์กัน?
-
เราแค่บอกว่า, สามขั้นนี้แสดงว่า
-
ด้านทุกด้านยาวเท่ากัน
-
และนี่คือ (s-s-s) ด-ด-ด อย่างที่เห็น
-
เหตุผลไหน?
-
นั่นหมายถึง ด้าน (side) , ด้าน, ด้าน
-
-
-
และนั่นคือเหตุผลที่คุณใช้ในวิชาเรขาคณิต
-
เพื่อบอกว่าทั้งสามของสามเหลี่ยม
-
นั้นคอนกรูเอนต์
-
นี่หมายความว่า หากคุณมีมุม, มุม, และด้าน
-
นี่หมายความว่าคุณมี มุม, แล้วก็ด้าน
-
ระหว่างมุมสองมุม
-
แล้วมุมต่อไปทั้งหมดคอนกรูเอนต์
-
และนี่บอกว่า ด้านด้านหนึ่ง กับมุม แล้วก็
-
อีกด้านนึง, ทั้งหมดคอนกรูเอนต์
-
เราอาจพูดถึงมัน
-
ในคำถามต่อ ๆ ไป
-
แต่ช่างเถอะ, นี่แสดงว่าด้านทั้งสามของสามเหลี่ยม
-
ทั้งสองเท่ากัน
-
แล้วก็, เราเรียกมันว่าการให้เหตุผล ด้าน ด้าน ด้าน
-
ผมไม่เก่งเรื่องคำศัพท์เลย
-
แต่ด้วยเหตุผลแบบ ด้าน ด้าน ด้าน, สองอันนี้
-
เป็นสามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ
-
และผมบอกว่า, นี่เป็นหนึ่งในวิธีคิดถึง
-
สามเหลี่ยมเท่ากับทุกประการ, ว่าด้านทุกด้าน
-
ต้องเท่ากัน
-
ข้อต่อไป
-
-
-
เอาล่ะ
-
-
-
ในภาพข้างล่างนี้, AB มากกว่า BC
-
โอเค, ด้านนี่ยาวกว่าด้านนั้น
-
แม้ว่าวิธีที่เขาวาดมัน, จะดูเท่ากันก็ตาม
-
ลองดูเราว่าเราทำอะไรได้
-
หากเราสมมุติว่าค่ามุม A เท่ากับค่ามุม C
-
มันจะได้ว่า AB เท่ากับ BC
-
AB เท่ากับ BC
-
ผมไม่รู้ว่าคุณมาถึงนี่หรือยัง, แต่คุณรู้แล้วว่า
-
หากคุณมีมุมสองมุมที่คอนกรูเอนต์กัน, หรือ
-
วัดได้เท่ากัน
-
นี่ก็จะบอกว่า มุม A
-
คอนกรูเอนต์กับมุม C
-
แทนที่จะทำอย่างนั้น เขาเขียนมันว่าค่า
-
ของมุมนั้นเท่ากัน
-
นั่นคือนิยามของคอนกรูเอนต์, ว่าค่า
-
ของมุมนั้นเท่ากัน
-
คุณอาจเขียนว่ามุม A คอนกรูเอนต์กับมุม C
-
แต่ช่างเถอะ, หากคุณมีมุมสองมุมเท่ากัน, แล้ว
-
ด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมพวกนั้น
-
จะเท่ากันด้วย
-
ดังนั้นด้านนี่ตรงนี้จะ
-
เท่ากับด้านนั้น
-
และนั่นคือสิ่งที่เขาเขียนไว้
-
มันตามมาว่า AB เท่ากับ BC
-
ใช้ได้
-
แล้วเขาบอกว่านี่ขัดแย้งกับประโยคที่กำหนดไว้ว่า AB
-
มากกว่า BC
-
ใช่แล้ว, เขาบอกว่า, มันตามมาว่า AB เท่ากับ BC และ
-
มันขัดแย้งกับประโยคนี้
-
แล้วเขาจะไปยังไงต่อ?
-
เราสามารถสรุปอะไรได้จากการขัดแย้งนี้?
-
-
-
ลองดู, ค่าของมุม A เท่ากับ
-
ค่าของมุม B
-
-
-
ไม่, ไม่ใช่อันนั้น
-
ผมคิดตัวอย่างนึงได้
-
พวกนี้ทั้งคู่เท่ากับ 30 องศา
-
หากทั้งคู่เป็นมุม 30 องศา, รวมกันได้ 60, แล้ว
-
นี่จะต้องเป็น 120 เพื่อให้รวมกันได้ 180
-
แล้วมันก็เข้ากับ
-
ทุกอย่างที่เรามีมา
-
ดังนั้น A ไม่ใช่ข้อที่ถูก
-
A ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ B
-
ขนาดของ A ไม่เท่ากับขนาดของมุม B
-
-
-
มันเท่ากันได้, จริงไหม?
-
มุมทุกมุมอาจเท่ากับ 60 องศา
-
เราไม่ต้องบอกว่า B ไม่เท่ากับ A แน่นอน
-
นี่อาจเป็น 60, นั่นอาจเป็น 60 แล้วนั่น
-
ก็เป็น 60
-
และเราจะได้สามเหลี่ยมด้านเท่า
-
ผมไม่คิดว่านี่ถูกเหมือนกัน
-
ค่าของมุม A เท่ากับค่าของมุม C
-
-
-
ผมเห็นสิ่งที่เขากำลังบอกแล้ว
-
โทษที, ผมผิดเอง
-
เขาบอกว่า, AB มากกว่า BC แน่นอน
-
-
-
ทีนี้, เขาบอกว่า หากเราสมมุติว่ามุม A
-
เท่ากับ C, มันจะได้ว่า
-
AB เท่ากับ BC
-
เขาไม่ได้บอกว่านี่เป็นจริงแน่นอน
-
เขาแค่บอกว่า หากเราสมมุติว่านี่เป็นจริง
-
แต่เขาไม่ได้บอกว่า นี่ใช่แน่ ๆ
-
และนั่นคือตอนที่การขัดแย้งเกิดขึ้น
-
เพราะหากเราสมมุตินี่มา, แล้ว AB
-
จะไม่มากกว่า BC
-
เพราะ AB จะเท่ากับ BC
-
ตอนนี้ผมเลยเห็นว่าเขาบอกอะไร
-
งั้นนี่คือสิ่งสมมุติ
-
มันไม่ได้พิสูจน์ว่าเป็นจริง
-
แล้วนี่ขัดแย้งกับประโยคที่กำหนดไว้ ว่า AB
-
มากกว่า BC
-
ใช่, ใช่แล้ว
-
แล้วเราสรุปอะไรได้จากการขัดแย้งนี้?
-
เราสมมุติว่ามุม A
-
เท่ากับมุม C
-
แล้วมันตามมาว่า ด้านสองด้านนี้เท่ากัน, ซึ่ง
-
ทำให้ขัดแย้งกับประโยคที่กำหนด
-
ดังนั้น, เรารู้ว่ามุมสองมุมไม่
-
สามารถมีค่าเท่ากันได้
-
เพราะหากมันเป็นจริง, เราจะขัดแย้ง
-
กับข้อมูลที่กำหนด
-
ดังนั้น เรารู้จากการขัดแย้งว่า มุม
-
A ไม่มีทางเท่ากับมุม C
-
เราไม่สามารถสมมุติเช่นนั้นได้ เพราะมันนำไปสู่
-
การขัดแย้ง
-
คำตอบที่ถูกต้องคือ D
-
เอาล่ะ, แล้วพบกันใหม่ในวิดีโอหน้าครับ