-
เรามาพูดถึงหนึ่งใน
-
กระบวนการทางชีววิทยาที่สำคัญที่สุด
-
อันที่จริง ถ้ากระบวนการนี้ไม่เกิดขึ้น เราอาจจะ
-
ไม่มีชีวิตอยู่บนโลกก็ได้
-
และฉันก็คงไม่ได้อยู่ทำวิดิโอนี้ให้คุณ
-
เพราะฉันไม่รู้ว่าจะไปหาอาหารมาจากไหน
-
และกระบวนการนี้เรียกว่า "การสังเคราะห์แสง"
-
คุณอาจจะเคยได้ยินเรื่องนี้มาแล้ว
-
ทั้งหมดนี้เกี่ยวกับพืช
-
รวมถึงแบคทีเรีย สาหร่าย และสิ่งอื่นๆอีกด้วย
-
แต่ทั่วไปแล้วมันเกี่ยวกับพืช
-
พูดง่ายๆก็คือ
-
เรามักจะคิดว่ามันเกี่ยวกับพืช
-
และเป็นกระบวนการที่พืชใช้
-
และเราอาจเคยเรียนกันมาแล้วตอนเราเด็กๆ
-
มันคือกระบวนการที่พืชใช้ในการรับคาร์บอนไดออกไซด์
-
มีน้ำและแสงแดด
-
แล้วเปลี่ยนมันเป็นน้ำตาล หรือบ้างก็คาร์โบไฮเดรต
-
คาร์โบไฮเดรตหรือน้ำตาล กับออกซิเจน
-
แน่นอน มีสองสิ่งสำคัญในกระบวนการนี้
-
ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิต
-
สิ่งแรกคือ เราต้องการคาร์โบไฮเดรตหรือน้ำตาลเพื่อที่จะ
-
ให้พลังงานแก่ร่างกายของเรา
-
ดูได้จากวิดิโอเรื่องการหายใจระดับเซลล์
-
เราผลิตATPโดยการสร้าง
-
การหายใจระดับเซลล์ในกลูโคส ซึ่งเป็นผลพลอยได้ที่จำเป็นอย่างยิ่ง
-
หรือคาร์โบไฮเดรตแย่ๆ
-
เป็นกระบวนการที่ง่ายที่สุดในการหายใจระดับเซลล์
-
และส่วนที่สำคัญมากๆส่วนที่สอง
-
คือการรับออกซิเจน
-
เราต้องหายใจเพื่อเอาออกซิเจนมา
-
ทำลายกลูโคส เพื่อจะหายใจ
-
เพื่อที่จะทำการหายใจระดับเซลล์
-
ดังนั้น สองสิ่งนี้คือกุญแจสำคัญของชีวิต
-
โดยเฉพาะชีวิตที่ใช้ออกซิเจนในการหายใจ
-
ดังนั้นกระบวนการนี้ นอกเหนือที่ว่ามันน่าสนใจแล้ว
-
มีเหล่าสิ่งมีชีวิตรอบ ๆ ตัวเรา
-
ส่วนมากเป็นพืช ซึ่งต้องใช้แสงแดด
-
มีปฏิกิริยาฟิวชันบนดวงอาทิตย์
-
93ไมล์ออกไป และปล่อยโฟตอนออกมา
-
กลุ่มย่อย ๆ ของโฟตอนพวกนั้นมาถึง
-
พื้นผิวโลก
-
ผ่านหมู่เมฆและสิ่งอื่นๆ
-
แล้วพืช แบคทีเรีย และสาหร่ายก็
-
ใช้ประโยชน์จากมันได้ และเปลี่ยนมันเป็นน้ำตาลที่
-
เรากินได้ หรือที่วัวกินแล้วเราก็กินวัวอีกที
-
ถ้าเราไม่ได้เป็นมังสวิรัติ และเรานำมาใช้เป็นพลังงานได้
-
ไม่ได้หมายความว่าวัวเป็นคาร์โบไฮเดรต แต่นี่คือ
-
สิ่งสำคัญที่เราใช้เพื่อเป็นเชื้อเพลิงหรือพลังงานสำหรับ
-
สิ่งสำคัญที่เรากินเข้าไป
-
เราได้พลังงานทั้งหมดมาจากสิ่งเหล่านี้
-
เป็นพลังงานสำหรับสัตว์
-
หรือถ้าคุณกินมันฝรั่งโดยตรง คุณก็จะ
-
ได้รับคาร์โบไฮเดรตโดยตรง
-
อย่างไรก็ตาม มันคือความคิดพื้นฐานของการสังเคราะห์แสง
-
ซึ่งไม่ถูกต้อง
-
ฉันหมายถึง ถ้าคุณต้องรู้เรื่องการสังเคราะห์ด้วยแสง
-
นั่นก็ที่ได้กล่าวมาแล้ว
-
แต่เรามาพูดถึงมันให้ลึกลงไป และพยายามที่จะเข้าถึง
-
กึ๋นและดูว่าเราจะเข้าใจมันได้ดีขึ้นอีกได้ไหม
-
ว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร
-
ฉันว่ามันน่ามหัศจรรย์ที่โฟตอนของแสงถูกนำมาใช้
-
สร้างโมเลกุลน้ำตาลหรือคาร์โบไฮเดรตเหล่านี้
-
เรามาดูให้ลึกกว่านี้กันดีกว่า
-
เราจะเขียนหลักง่าย ๆ ของการสังเคราหะ์ด้วยแสง
-
ฉันเกือบจะเขียนลงไปแล้ว
-
แต่ฉันจะเขียนให้มันเจาะจงในทางวิทยาศาสตร์มากกว่านี้
-
เริ่มด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
-
ตามด้วยน้ำ แล้วตามด้วย
-
แสงแดด ฉันหมายถึงโฟตอน เพราะมัน
-
เป็นตัวกระตุ้นอิเล็กตรอนในคลอโรฟิลล์ที่
-
จมลงไป และคุณอาจจะเห็นกระบวนการนี้ใน
-
วิดีโอ และเราจะพูดถึงรายละเอียดในวิดิโอถัด ๆ ไป
-
อิเล็คตรอนที่ถูกกระตุ้นสู่ขั้นพลังงานสูง แล้วพอ
-
พลังงานต่ำลง เราก็จะได้
-
พลังงานมาผลิตเอทีพี และคุณจะเห็นNADPHs และ
-
ซึ่งใช้ผลิตคาร์โบไฮเดรต
-
แต่เดี๋ยวเราก็จะเห็นในอีกไม่ช้า
-
ภาพรวมของการสังเคราะห์แสง เริ่มจาก
-
องค์ประกอบเหล่านี้ และได้ออกมาเป็น
-
คาร์โบไฮเดรต
-
และคาร์โบไฮเดรตจะเป็นกลูโคสก็ได้
-
(ไม่จำเป็นต้องเป็นกลูโคส)
-
โดยทั่วไปเราเรียกคาร์โบไฮเดรตว่า CH2O
-
และนำ n ตัวหนึ่งมาใส่ จนมี n เพิ่มขึ้น
-
โดยปกติ จะมี n อยู่่อย่างน้อยสามตัว
-
สำหรับกลูโคส มี n อยู่ 6
-
มีคาร์บอน 6 12 และออกซิเจน 6
-
นี่คือหลักง่าย ๆ ของคาร์โบไฮเดรต
-
ซึ่งจะมีจำนวนมากก็ได้
-
เป็นคาร์โบไฮเดรตสายยาว ๆ
-
คุณได้คาร์โบไฮเดรต และได้
-
ก๊าซออกซิเจน
-
นี่ก็ไม่ได้ต่างจากที่ฉันบอกมาก่อนหน้านี้เท่าไรนัก
-
ว่ามันเป็นอย่างแรกที่เราคิดว่า
-
การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นอย่างไร
-
ในการทำให้สมการสมดุล เรามี n คาร์บอน
-
ดังนั้นเราต้องการ n คาร์บอน
-
เรามี 2 n ไฮโดรเจน
-
2 ไฮโดรเจน กับ n ดังนั้นเราจึงมี n
-
ไฮโดรเจน
-
ฉันจะใส่ n ตรงนั้น
-
มาดูว่ามีออกซิเจนเท่าไหร่
-
มีออกซฺเจนอยู๋ 2n เพิ่มไปอีก 1n
-
กลายเป็นมี 3 n ออกซิเจน
-
มาดูกัน ฉันมี 1 n คุณใส่ n เพิ่มอีกตัว
-
ฉันจึงมี 2 n ฉันคิดว่าสมการนี้สมดุลแล้ว
-
นี่คือมุมมองจาก 30000 ฟุตว่ามันเกิดอะไรขึ้นใน
-
กระบวนการสังเคราะห์แสง
-
แต่ถ้าคุณขุดให้ลึกลงกว่านั้น คุณจะเห็นว่ามัน
-
ไม่ได้เกิดขึ้นโดยตรง แต่เกิดขึ้นผ่านกระบวนการ
-
ต่าง ๆ ที่ทำให้เราได้คาร์โบไฮเดรต
-
โดยทั่วไปแล้วเราแยกการสังเคราะห์แสงออกได้
-
ฉันจะพูดใหม่
-
เราจะแจกแจงกระบวนการสังเคราะห์แสง และจะ
-
เจาะลึกลงไปในวิดีโอต่อ ๆ ไป แต่ฉันอยากให้คุณเห็น
-
ภาพรวมก่อน ในสองขั้นตอน
-
เราเรียกมันว่าปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง
-
หรือบางทีก็เรียกว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยต้องใช้แสง
-
ซึ่งน่าจะดีกว่าถ้าจะ
-
เรียกแบบนี้
-
ฉันเรียกอย่างนี้ละกัน
-
การที่ต้องใช้แสง หมายความว่า มันต้องการแสงในการทำให้เกิด
-
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยต้องใช้แสง
-
และอีกอย่างหนึ่งคือปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง
-
ซึ่งมันเป็นชื่อที่แย่มาก เพราะมันก็
-
เกิดขึ้นด้วยแสงเหมือนกัน
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง ฉันเขียนด้วยสีที่เข้มกว่า
-
และที่ฉันบอกว่ามันเป็นชื่อที่แย่เพราะว่า
-
มันเกิดขึ้นในแสง
-
แต่ที่มันเรียกว่าปฏิกิริยาไม่ใช้แสง
-
เป็นเพราะว่า เราไม่ต้องการแสง หรือส่วนนั้นของ
-
การสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้ขึ้นอยู่กับโฟตอนให้เกิดขึ้น
-
ดังนั้น คำที่ดีกว่าจึงเป็น
-
"ปฏิกิริยาที่ไม่ขึ้นกับแสง"
-
เพื่อให้ชัดเจน ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง
-
ต้องการแสงแดด
-
มันต้องใช้โฟตอนในกระบวนการ
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ขึ้นกับแสง ไม่ต้องใช้โฟตอน
-
ถึงแม้ว่ามันเกิดขึ้นในขณะที่ไม่มีแสงแดด
-
มันไม่ต้องการโฟตอน แต่มันต้องการผลพลอยได้
-
จากปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงในการเกิดขึ้น นั่นคือเหตุผลที่ทำไม
-
เราเรียกมันว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นต้องใช้แสง
-
มันเกิดขึ้นตอนไม่มีแสงแดด
-
และไม่ต้องการดวงอาทิตย์
-
กระบวนการนี้ต้องการดวงอาทิตย์ ดังนั้นพูดให้ชัดก็คือ
-
มันต้องการแสงอาทิตย์
-
มันต้องการโฟตอน
-
ฉันจะอธิบายกระบวนการนี้คร่าว ๆ
-
เราจะเริ่มสร้างโครงร่างซึ่ง
-
เราจะลงลึกมากกว่านี้
-
ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสงต้องการโฟตอน
-
และน้ำ
-
น้ำจึงเข้าไปในปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง
-
และออกมาอีกด้าน
-
เราจะได้ออกซิเจนระดับโมเลกุล
-
นั่นคือสิ่งที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และฉันจะ
-
ลงลึกขึ้นไปถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ
-
ปฏิกิริยานี้ผลิตเอทีพี ซึ่งเรารู้กันว่าเป็น
-
การหมุนเวียนระดับเซลล์หรือทางชีววิทยาของพลังงาน
-
มันผลิตเอทีพี และ NADPH
-
ตอนนี้ เมื่่อเราศึกษาการหายใจระดับเซลล์ เราจะเห็น
-
โมเลกุล NADH
-
ก็เหมือนกับ NADPH
-
เพียงแค่เพิ่มตัว P
-
มีกลุ่มของฟอสเฟต แต่พวกนี้ก็
-
มีกลไกเหมือนกัน คือตัวกระทำนี้
-
โมเลกุลนี้ สามารถให้ได้ เราลองมา
-
คิดกันว่ามันหมายความว่าอย่างไร ที่ว่ามันสามารถให้
-
ไฮโดรเจน และอิเลคตรอนที่สัมพันธ์กันกับไฮโดรเจนนี้
-
ดังนั้น ถ้าคุณให้อิเลคตรอนหนึ่งตัวแก่คนอื่น
-
เขาก็จะได้อิเลคตรอนตัวนั้น และก็จะมีอย่างอื่น
-
ถูกลดลงไป
-
ให้ฉันจดลงไปก่อน
-
มันเตือนความจำได้ดี
-
แท่นขุดเจาะน้ำมัน
-
การออกซิเดชั่นเสียอิเลคตรอน
-
การรีดักชั่นได้อิเลคตรอน
-
ประจุกจะลดลงเมื่อได้รับอิเฃ็กตรอนมา
-
มันเป็นประจุลบ
-
ดังนั้น นี่คือสารรีดิวส์
-
มันถูกออกซิไดส์โดยเสียไฮโดรเจนและ
-
อิเล็กตรอน
-
จะให้ฉันพูดถึงการออกซิเดชั่นทางชีววิทยา
-
หรือทางเคมีก็ได้ แต่มันก็เหมือน ๆ กัน
-
เมื่อเสียไฮโดรเจนไป ก็สูญเสียความสามารถที่จะใช้
-
อิเล็กตรอนของไฮโดรเจนด้วย
-
ตรงนี้ เมื่อมันแสดงปฏิกิริยากับตัวอื่น
-
มันคือตัวให้อิเล็กตรอน
-
ทำให้ไฮโดรเจนกับอิเล็กตรอนทำงานร่วมกับมัน
-
อีกอย่างจึงลดลงไปด้วย
-
สิ่งนี้คือสารรีดิวส์
-
มันมีประโยชน์คือ เมื่อไฮโดรเจน และ
-
โดยเฉพาะอีเลคตรอนที่สัมพันธ์กับไฮโดรเจนนั้น
-
เปลี่ยนจาก NADPH เป็น เรียกว่า โมเลกุลอื่น และเปลี่ยนไป
-
อยู่ในภาวะที่พลังงานต่ำลง พลังงานนั้นจะถูกใช้ใน
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงได้ด้วย
-
และเราได้เห็นการหายใจระดับเซลล์ในโมเลกุลที่
-
เหมือน ๆ กัน NADH ผ่านวัฏจักรเคร็บส์ หรือ
-
ที่สำคัญกว่านั้น เห็นผ่านลูกโซ่ของการขนส่งอิเลคตรอน
-
ช่วยผลิต ATP ได้ขณะที่มันปล่อยอิเลคตรอน
-
แล้วจึงอยู่ในภาวะที่พลังงานลดลง
-
แต่ฉันไม่อยากทำให้คุณสับสนมากนัก
-
ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง รับเอาโฟตอนเข้ามา รับเอา
-
น้ำ คายออกซิเจน และคาย ATP กับ NADPH
-
ซึ่งจะได้ใช้ในปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง
-
และปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงของพืชส่วนใหญ่ที่เรากล่าวถึง
-
เรียกว่าวัฏจักรคัลวิน
-
และฉันจะกล่าวถึงรายละเอียดมากกว่านี้เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ
-
ในวัฏจักรคัลวิน ได้รับATP กับ NADPH
-
แล้วผลิต...มันไม่ได้ผลิดกลูโคสโดยตรง
-
มันผลิต...โอ้ คุณอาจจะเห็นนี่
-
คุณอาจจะเรียกมันว่า PGAL
-
หรืือเรียกว่า G3P
-
พวกนี้ย่อมาจาก..ขอเขียนก่อน...มันคือ
-
ฟอสโฟกลีเซอรัลดีไฮด์
-
ลายมือฉันเละแล้ว
-
หรือคุณอาจเรียกมันว่า กลีเซอรัลดีไฮด์ 3-ฟอสเฟต
-
โมเลกุลเดียวกัน
-
คุณอาจพอนึกภาพออก มันเป็นการพูดง่ายๆ
-
อย่างหยาบๆ คาร์บอน3ตัวกัลฟอสเฟตกลุ่มหนึ่ง
-
ประกอบอยู่กับมัน
-
นี่ก็ใช้เพื่อผลิตคาร์โบไฮเดรตได้
-
รวมถึงกลูโคสด้วย
-
ถ้าคุณมีสองตัวนี้ ก็ใช้
-
ผลิตกลูโคสได้
-
มาดูคร่าวๆอีกที เพราะว่ามัน
-
สำคัญมาก
-
ฉันจะถ่ายวิดิโอเกี่ยวกับปฏิกิริยาที่ใช้แสงและ
-
ปฏิกิริยาที่ไม้่ต้องใช้แสง
-
มันจะเป็น2วิดิโอถัดไปที่ฉันจะทำ
-
ดังนั้น การสังเคราะห์แสงเริ่มจากโฟตอน
-
ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นเมื่อไม่มีแดด เฉพาะปฏิกิริยา
-
ที่ใช้แสงเท่านั้นที่ต้องการโฟตอน
-
ปฏิกิริยาที่ใช้แสงใช้โฟตอน เราจะ
-
พูดถึงรายละเอียดมากกว่านี้เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
-
และมันก็ใช้น้ำ
-
ออกซิเจนถูกคายออกมา
-
ATP กับ NADPH ถูกคายออกมา ซึ่งภูกใช้ใน
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง หรือวัฏจักรคัลวิน หรือ
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสงในการทำให้เกิดขึ้น เพราะพวกนี้ยัง
-
เกิดขึ้นด้วยแสง
-
มันไม่ต้องการโฟตอน
-
ดังนั้นมันเป็นปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสงในการทำให้เกิดขึ้น
-
และใช้ในการเชื่อม และเราพูดถึง
-
โมเลกุลที่ใช้เชื่อม
-
โอ้ ฉันลืมองค์ประกอบที่สำคัญของ
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสงไป
-
มันต้องการคาร์บอนไดออกไซด์
-
ซึ่งคุณต้องทำให้คาร์บอนผลิต
-
ฟอสโฟกลีเซอรัลดีไฮด์ หรือ กลีเซอรัลดีไฮด์ 3-ฟอสเฟต
-
นี่สำคัญมาห
-
มันรับเอาคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นผลผลิตจาก
-
ปฏิกิริยาที่ใช้แสง และใช้มันในวัฏจักรคัลวิน
-
ผลิตโครงสร้างง่ายๆของ
-
คาร์โบไฮเดรต
-
และถ้าคุณจำไกลโคไลสิสได้ คุณก็จะจำ
-
โมเลกุล PGAL หรือ G3P ได้ เหมือนกันเลย
-
เป็นสิ่งแรกๆที่แยกกลูโคสออกเป็น2
-
เมื่อเราทำการไกลโคไลสิส
-
และตอนนี้เรากำลังพูดอีกอย่างหนึ่ง
-
เรากำลังสร้างกลูโคสซึ่งเราจะแยกมันออกจากกันทีหลัง
-
เพื่อให้ได้พลังงาน
-
ดังนั้น นี่คือภาพรวมของการสังเคราะห์ด้วยแสง
-
วิดิโอต่อๆไป ฉันจะลงรายละเอียดให้มากกว่านี้
-
คุณจะได้รู้เกี่ยวกับการเกิดขึ้นของปฏิกิริยาที่ใช้แสงและ
-
ปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสง