-
-
ข้อ c หาค่า x บนช่วงลบ 4
-
น้อยกว่า x น้อยกว่า 3 ที่กราฟของ g
-
มีจุดเปลี่ยนเว้า
-
และให้เหตุผลคำตอบ
-
จุดเปลี่ยนเว้าคือจุด
-
ที่เครื่องหมายของอนุพันธ์อันดับสองเปลี่ยน
-
ถ้าคุณมีอนุพันธ์อันดับสองที่จุดนั้น
-
หรือเมื่อเราเข้าใกล้จุดน้้น
หรือเมื่อเราผ่านจุดนั้น
-
มันจะไปจากบวกเป็นลบ
-
หรือลบเป็นบวก
-
และเวลาคิดเป็นภาพ
-
คุณคิดถึงตัวอย่างได้
-
ถ้าคุณมีเส้นโค้งที่เป็นแบบนี้
-
คุณจะสังเกตตรงนี้ได้ว่าความชันเป็นลบ
-
แต่มันกำลังเพิ่ม
-
มันจะเป็นลบน้อยลง ลบน้อยลง
-
แล้วมันเป็น 0
-
แล้วมันเพิ่มต่อไป
-
ความชันเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น จนถึงตรงนี้
-
แล้วมันกลายเป็นลบอีก
-
มันเริ่มลดลง
-
มันเพิ่มขึ้น
-
ความชันเพิ่มขึ้นตรงจุดนี่ตรงนี้
-
แม้แต่ตอนความชันเป็นลบ
-
มันก็ยังลบน้อยลงตรงนี้
-
มันจึงเพิ่มขึ้น
-
แล้วความชันก็เพิ่มขึ้น
-
มันเป็นบวกมากขึ้น มากขึ้น
-
ถึงจุดนี้
-
แล้วความชันเป็นบวก แต่มัน
-
เป็นบวกน้อยลง
-
ความชันเริ่มลดลงหลังจากนั้น
-
-
จุดนี่ตรงนี้ก็คือจุดเปลี่ยนเว้า
-
ความชันเปลี่ยนจากเพิ่มเป็นลด
-
และถ้าเป็นอีกอย่าง ถ้าความชันเปลี่ยน
-
จากลดเป็นเพิ่ม
-
มันก็ยังเป็นจุดเปลี่ยนเว้า
-
ถ้ากราฟนี้เป็นเส้นโค้งตรีโกณมิติ
-
คุณอาจจะเห็นอะไรแบบนี้
-
จุดนี้ก็เป็นจุดเปลี่ยนเว้าด้วย
-
แต่สำหรับอันนี้ g ของ x ของเรา
มองภาพได้ยาก
-
จากที่เขานิยามมาตรงนี้
-
วิธีคิดที่ดีที่สุดคือ
-
หาว่าอนุพันธ์อันดับสองตรงไหน
เปลี่ยนเครื่องหมาย
-
แล้วคิดดู เราต้องหาอนุพันธ์อันดับสอง
-
ลองเขียน g ของ x ตรงนี้
-
เรารู้ว่า g ของ x เท่ากับ 2x
บวกอินทิกรัลจำกัดเขต
-
จาก 0 ถึง x ของ f ของ t dt
-
เราหาอนุพันธ์ของมันไปแล้ว
-
แต่เราจะทำอีกครั้ง
-
g ไพรม์ของ x เท่ากับ 2 บวก --
ทฤษฎีบทพื้นฐาน
-
ของแคลคูลัส
-
อนุพันธ์ของตัวนี้ตรงนี้ก็แค่ f ของ x
-
และถ้ารามีอนุพันธ์อันดับสองของ g --
g ไพรม์ไพรม์
-
ของ x อันนี้เท่ากับ -- อนุพันธ์ของ 2 ก็แค่ 0
-
แล้วอนุพันธ์ของ f ของ x คือ f ไพรม์ของ x
-
การถามว่าฟังก์ชันนี้
เปลี่ยนเครื่องหมายตรงไหน
-
อนุพันธ์อันดับสองมี
การเปลี่ยนเครื่องหมายตรงไหน
-
ลองนึกก่อนว่า อนุพันธ์อันดับหนึ่งของ f
-
เปลี่ยนเครื่องหมายตอนไหน?
-
และการถามว่าอนุพันธ์อันดับหนึ่งของ f
-
เปลี่ยนเครื่องหมายตรงไหน ก็เหมือนกับถามว่า
-
ความชันของ f เปลี่ยนเครื่องหมายตรงไหน?
-
คุณมองอันนี้เป็นความชัน
หรือความชันชั่วขณะของ f ได้
-
-
เราอยากรู้ว่าความชันของ f
เปลี่ยนเครื่องหมายที่ไหน
-
ลองคิดดู
-
ตรงนี้ความชันเป็นบวก
-
มันเพิ่มขึ้น
-
มันขึ้น
-
มันเพิ่มขึ้น แต่มันเป็นบวก
-
และนั่นคือสิ่งที่เราสนใจ
-
ลองเขียนมันดู
-
ผมจะใช้สีเขียวนะ
-
ความชันเป็นบวกตลอดเวลา
-
มันเพิ่มขึ้น
-
มันเพิ่มขึ้น
-
มันเป็นบวก
-
มันเป็นบวกน้อยลงแล้ว
-
มันเริ่มลดลง แต่ความชันยังเป็นบวก
-
ความชันจะยังเป็นบวกจนกระทั่ง
-
เราได้ตรงนี้
-
คุณเห็นได้ว่ามันใกล้กับศูนย์ทีเดียว
-
แล้วความชันก็เป็นลบ
-
แล้วตรงนี้ ความชันเป็นลบ
-
-
ความชันเป็นลบตรงนี้
-
อันนี้น่าสนใจ
-
เพราะถึงแม้ f จะหาอนุพันธ์ไม่ได้
-
ตรงนี้ -- f หาอนุพันธ์ไม่ได้ที่จุดตรงนั้น
-
-
และคุณเห็นได้ว่าความชันเข้าใกล้ 0
-
แล้วกระโดดไปเป็นลบ 3
-
คุณจึงมีความไม่ต่อเนื่องของอนุพันธ์
-
ตรงนี้ แต่เรามีเครื่องหมายเปลี่ยน
-
เราไปจากความชันเป็นบวก
-
บนส่วนนี้ของเส้นโค้ง กลายเป็น
-
ความชันเป็นลบบนช่วงนี้ของเส้นโค้ง
-
เราเจอเครื่องหมายเปลี่ยนตรงนี้
-
ที่ x เท่ากับ 0 เครื่องหมายเปลี่ยน
ในอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
-
ของ f ซึ่งเหมือนกับบอกว่าเครื่องหมาย
-
ของอนุพันธ์อันดับสองของ g เปลี่ยน
-
และเครื่องหมายเปลี่ยน
ในอนุพันธ์อันดับสองของ g
-
บอกเราว่า เมื่อ x เท่ากับ 0 กราฟของ g
-
จะมีจุดเปลี่ยนเว้า
-