Return to Video

Distributive Property

  • 0:00 - 0:01
  • 0:01 - 0:04
    ลองทำโจทย์ที่ใช้สมบัติการกระจายกัน.
  • 0:04 - 0:07
    สมบัติการกระจายบอกรเาว่า
  • 0:07 - 0:12
    ถ้าเรามี สมมุติว่า a คูณ b บวก c, แล้วเรา
  • 0:12 - 0:15
    ต้องคูณ a กับอันนี้, เราต้องคูณ a
  • 0:15 - 0:16
    เข้ากับสองตัวนี้.
  • 0:16 - 0:21
    นี่ก็จะเท่ากับ a คูณ b บวก a คูณ c.
  • 0:21 - 0:26
    มันไม่ใช่แค่ a คูณ b แล้วก็บวก c.
  • 0:26 - 0:28
    และนั่นก็สมเหตุสมผล.
  • 0:28 - 0:28
    ผมยกตัวอย่างนะ.
  • 0:28 - 0:33
    ถ้าผมบอกว่า 5 คูณ 3 บวก
    7, ทีนี้, ถ้าคุณคิดออกมา
  • 0:33 - 0:35
    ตามลำดับการดำเนินการ คุณบอกว่า
  • 0:35 - 0:37
    5 คูณ 10.
  • 0:37 - 0:43
    คุณก็บอกว่า นี่คือ 5 คูณ 10
    ซึ่งเท่ากับ 50.
  • 0:43 - 0:44
    และเรารู้ว่ามันคือคำตอบที่ถูกต้อง.
  • 0:44 - 0:47
    ทีนี้ ใช้สมบัติการกระจาย ที่บอกเราว่า
  • 0:47 - 0:53
    มันจะเท่ากับ 5 คูณ 3, ซึ่งก็คือ 15
  • 0:53 - 0:56
    บวก 5 คูณ 7 ได้ 35,
  • 0:56 - 0:59
    และ 15 บวก 35 ได้ 50 พอดี.
  • 0:59 - 1:03
    ถ้าคุณคูณ 5 กับ 3, คุณจะได้ 15,
  • 1:03 - 1:05
    แล้วบวก 7, คุณจะได้คำตอบผิด.
  • 1:05 - 1:07
    คุณคูณ 5 กับพวกนี้ คุณต้อง
  • 1:07 - 1:09
    คูณ 5 เข้ากับทั้งสองอย่างนี้.
  • 1:09 - 1:12
    เพราะคุณกำลังคูณ
    ผลบวกเหล่านี้.
  • 1:12 - 1:12
    เอาล่ะ.
  • 1:12 - 1:16
    ลองใช้มันกับตัวอย่างโจทย์เหล่านี้.
  • 1:16 - 1:18
    ลองทำ A กัน.
  • 1:18 - 1:23
    เรามี 1/2 คูณ
    x ลบ y ลบ 4.
  • 1:23 - 1:25
    ทีนี้ เราคูณ 1/2 กับสองตัวนี้.
  • 1:25 - 1:30
    มันจะเท่ากับ 1/2 x ลบ 1/2 y ลบ
  • 1:30 - 1:32
    4, เสร็จแล้ว.
  • 1:32 - 1:36
    ลองทำ C.
  • 1:36 - 1:41
    เรามี 6 บวก x ลบ 5 บวก 7.
  • 1:41 - 1:43
    ทีนี้ เราไม่ต้องใช้สมบัติ
  • 1:43 - 1:44
    การกระจายด้วยซ้ำ.
  • 1:44 - 1:46
    เราแค่เอาวงเล็บออก.
  • 1:46 - 1:51
    6 บวกอันนี้ นั่นก็
    เหมือนกับ 6 บวก x บวก
  • 1:51 - 1:55
    ลบ 5 บวก 7.
  • 1:55 - 1:57
    หรือเรามองอันนี้เป็น 6 บวก --
  • 1:57 - 1:58
    อันนี้ก็คือ 2, จริงไหม?
  • 1:58 - 2:02
    ลบ 5 บวก 7 ได้ 2,
    2 บวก 6 ได้ 8,
  • 2:02 - 2:05
    มันจะกลายเป็น 8 บวก x.
  • 2:05 - 2:05
    เอาล่ะ.
  • 2:05 - 2:07
    ไม่แย่มาก.
  • 2:07 - 2:08
    นั่นคือ C.
  • 2:08 - 2:11
    ลองทำ E กัน
  • 2:11 - 2:21
    เรามี 4 คูณ m บวก 7 ลบ
    6 คูณ 4 ลบ m.
  • 2:21 - 2:22
    ลองใช้สมบัติการกระจาย.
  • 2:22 - 2:28
    4 คูณ m คือ 4m บวก
    4 คูณ 7 ได้ 28.
  • 2:28 - 2:31
    แล้วเราทำได้สองแบบ.
  • 2:31 - 2:36
    ลองทำแบบนี้ก่อน. เรามีลบ
  • 2:36 - 2:39
    6 คูณ 4 ได้ 24.
  • 2:39 - 2:43
    6 คูณลบ m ได้ลบ 6m.
  • 2:43 - 2:46
    สังเกตว่า ผมบอกได้ว่า
    คูณลบ 6,
  • 2:46 - 2:48
    และมีบวกตรงนี้ แต่ผม
    จะทำสองขั้น.
  • 2:48 - 2:51
    ผมจะทำ 6 ก่อน แล้วผมทำค่อยทำลบ 1.
  • 2:51 - 2:56
    และนี่จะเท่ากับ 4m บวก 28, แล้วคุณ
  • 2:56 - 2:57
    จะกระจายเครื่องหมายลบ.
  • 2:57 - 3:00
    คุณมองมันเป็นลบ 1 คูณทั้งหมดนี้.
  • 3:00 - 3:03
    แล้วลบ 1 คูณ 24 ได้ลบ 24.
  • 3:03 - 3:07
    ลบ 1 คูณลบ 6m คือบวก 6m.
  • 3:07 - 3:13
    ตอนนี้เรามีเทอม m,
    4m บวก 6m เท่ากับ 10m.
  • 3:13 - 3:17
    แล้วบวกเทอมคงที่. 28 ลบ 24,
  • 3:17 - 3:22
    นั่นเท่ากับบวก 4.
  • 3:22 - 3:23
    ลองเขียนลงไปตรงนี้.
  • 3:23 - 3:26
    ลองใช้สมบัติการกระจายเพื่อเขียน
  • 3:26 - 3:27
    เศษส่วนในรูปอย่างง่าย.
  • 3:27 - 3:28
    ผมจะทำอันเว้นอันอีกที.
  • 3:28 - 3:37
    อันแรกก็คือ 8x บวก 12 ส่วน 4.
  • 3:37 - 3:38
    สาเหตุที่เราบอกว่า สมบัติ
  • 3:38 - 3:40
    การกระจาย คุณบอกว่า ลองหาร
  • 3:40 - 3:42
    ทั้งหมดนี้ด้วย 4.
  • 3:42 - 3:45
    และเวลาหารทั้งหมดด้วย 4, คุณต้องหาร
  • 3:45 - 3:45
    แต่ละตัวด้วย 4.
  • 3:45 - 3:48
    คุณมองนี่เป็น, นี่ก็เหมือนกับ
  • 3:48 - 3:52
    การคูณด้วย 1/4 เข้ากับ 8x บวก 12.
  • 3:52 - 3:54
    สองอันนี้เทียบเท่ากัน.
  • 3:54 - 3:56
    ตรงนี้ คุณหารแต่ละตัวด้วย 4,
  • 3:56 - 3:57
    ตรงนี้คุณคูณแต่ละตัวด้วย 4.
  • 3:57 - 4:02
    ถ้าคุณทำอย่างนี้ มันก็
    เหมือนกับ 8x ส่วน 4
  • 4:02 - 4:04
    บวก 12 ส่วน 4.
  • 4:04 - 4:07
    มันเหมือนกับบวกเศษส่วนย้อนกลับ.
  • 4:07 - 4:11
    แล้ว 8 นี่หารด้วย 4 จะเท่ากับ
  • 4:11 - 4:13
    มันจะเท่ากับ 2x บวก 3.
  • 4:13 - 4:15
    นั่นคือวิธีทำวิธีหนึ่ง.
  • 4:15 - 4:16
    หรือคุณทำแบบนี้ได้.
  • 4:16 - 4:23
    1/4 คูณ 8x คือ 2x, บวก
    1/4 คูณ 12 คือ 3.
  • 4:23 - 4:27
    ไม่ว่าแบบไหน เราก็ได้คำตอบเหมือนกัน.
  • 4:27 - 4:29
    C.
  • 4:29 - 4:34
    เรามี 11x บวก 12 ส่วน 2.
  • 4:34 - 4:35
    แบบนี้.
  • 4:35 - 4:38
    เราบอกได้ว่า นี่เท่ากับ 11 -- เราเขียน
  • 4:38 - 4:40
    มันเป็น 11 ส่วน 2x, ถ้าต้องการ.
  • 4:40 - 4:43
    หรือ 11x ส่วน 2, แบบไหนก็ได้.
  • 4:43 - 4:48
    บวก 12 ส่วน 2 บวก 6.
  • 4:48 - 4:50
    ลองทำอีกข้อกัน.
  • 4:50 - 4:52
    E. น่าสนใจ.
  • 4:52 - 4:53
  • 4:53 - 4:57
    เรามีลบอยู่ข้างหน้า แล้วเรามี 6z
  • 4:57 - 5:00
    ลบ 2 ส่วน 3.
  • 5:00 - 5:03
    วิธีหนึ่งที่เราอมงคือ อันนี้เท่ากับ
  • 5:03 - 5:09
    นี่เท่ากับ, ลบ 1/3 คูณ 6z ลบ 2.
  • 5:09 - 5:13
    สองอย่างนี้เท่ากัน. จริงไหม?
  • 5:13 - 5:13
  • 5:13 - 5:15
    นี่เท่ากับลบ 1/3.
  • 5:15 - 5:17
    คุณนึกว่ามี 1 ตรงนี้ก็ได้. ใช่ไหม?
  • 5:17 - 5:17
  • 5:17 - 5:21
    ลบ 1/3 คูณ 6z ลบ 2.
  • 5:21 - 5:22
    แล้วคุณก็ใช้สมบัติการกระจาย.
  • 5:22 - 5:28
    ลบ 1/3 คูณ 6z จะเท่ากับลบ 2z.
  • 5:28 - 5:32
    แล้วลบ 1/3 คูณลบ 2, ลบตัดกัน
  • 5:32 - 5:36
    คุณจึงได้บวก 2/3.
  • 5:36 - 5:38
    แล้วก็เสร็จ.
  • 5:38 - 5:38
Title:
Distributive Property
Video Language:
English
Duration:
05:39
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Distributive Property

Thai subtitles

Incomplete

Revisions