< Return to Video

Number Sets 1

  • 0:00 - 0:01
  • 0:01 - 0:05
    เขาถามเราว่าจำนวน 8 อยู่ในเซตจำนวนใดบ้าง?
  • 0:05 - 0:06
    นี่เป็นการทบทวน
  • 0:06 - 0:09
    เซตจำนวนที่เรามักพูดถึงบ่อยๆ ได้ดี.
  • 0:09 - 0:11
    เซตแรกที่เราพิจารณา
  • 0:11 - 0:13
    คือจำนวนธรรมชาติ.
  • 0:13 - 0:17
  • 0:17 - 0:19
    และพวกมันก็คือจำนวนนับ
  • 0:19 - 0:21
    และคุณไม่นับ 0.
  • 0:21 - 0:23
    ถ้าคุณนับสิ่งของ
  • 0:23 - 0:25
    คุณมีอย่างน้อยหนึ่งอัน
  • 0:25 - 0:26
    เรากำลังพูดถึงจำนวนธรรมชาติ
  • 0:26 - 0:30
    มันจะเป็น 1, 2, 3 ไปเรื่อยๆ
  • 0:30 - 0:32
    แน่นอน 8 เป็นจำนวนธรรมชาติ.
  • 0:32 - 0:34
    คุณนับไปถึง 8 ได้ตรงนี้.
  • 0:34 - 0:36
    คุณนับของได้ 8 อย่าง.
  • 0:36 - 0:40
    8 จึงเป็นสมาชิกของจำนวนธรรมชาติ.
  • 0:40 - 0:44
  • 0:44 - 0:46
    อันต่อไปที่เราควรพิจารณา
  • 0:46 - 0:54
    ลองพิจารณาจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบตรงนี้.
  • 0:54 - 0:57
    ผมควรบอกว่าจำนวนธรรมชาติ.
  • 0:57 - 0:59
    ลองพิจารณาจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ.
  • 0:59 - 1:00
    จำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  • 1:00 - 1:04
    ก็เหมือนกับจำนวนธรรมชาติ
  • 1:04 - 1:06
    แต่ตอนนี้เราจะรวม 0 ด้วย.
  • 1:06 - 1:11
    นี่ก็คือ 0, 1, 2, 3 ไปเรื่อยๆ.
  • 1:11 - 1:13
    8 ก็อยู่ในนี้ชัดเจน.
  • 1:13 - 1:16
    คุณเพิ่มไปเรื่อยๆ ถึง 8 ได้.
  • 1:16 - 1:18
    เหมือนกับการนับจำนวนเต็ม
    ที่ไม่เป็นลบไปเรื่อยๆ.
  • 1:18 - 1:21
    วิธีมองอีกอย่างคือว่า มันเป็น
    จำนวนเต็มที่ไม่ติดลบ.
  • 1:21 - 1:25
    แน่นอน 8 ก็อยู่ในนี้.
  • 1:25 - 1:26
    ลองขยายเซตของเราหน่อย.
  • 1:26 - 1:27
    ลองคิดถึงจำนวนเต็ม.
  • 1:27 - 1:31
  • 1:31 - 1:34
    นี่ก็คือจำนวนทั้งหมด
  • 1:34 - 1:37
    เรานับลงไปเรื่อยๆ มาถึง
  • 1:37 - 1:44
    ลบ 3, ลบ 2, ลบ 1, 0, 1, 2, 3,
  • 1:44 - 1:45
    แล้วคุณก็ทำไปเรื่อยๆ ได้.
  • 1:45 - 1:47
    แน่นอน, 8 เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน.
  • 1:47 - 1:49
    คุณนับไปเรื่อยๆ ถึง 8 ได้.
  • 1:49 - 1:52
    ที่จริง ขอผมทำกล่องเช็คตรงนี้.
  • 1:52 - 1:55
    โดยทั่วไป จำนวนเต็ม
  • 1:55 - 1:59
    มีทั้งบวก ลบ และ 0,
  • 1:59 - 2:01
    ขึ้นอยู่กับว่าคุณจะนับมัน
  • 2:01 - 2:03
    เป็นบวกหรือลบ หรือไม่ใช่ทั้งคู่.
  • 2:03 - 2:06
    นั่นคือจำนวนเต็ม ตรงนั้น.
  • 2:06 - 2:08
    แล้วจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
    เป็นสับเซตของจำนวนเต็ม.
  • 2:08 - 2:14
  • 2:14 - 2:15
    ผมจะวาดมันแบบนี้.
  • 2:15 - 2:18
    จำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
    อยู่ตรงนี้
  • 2:18 - 2:20
    นั่นคือจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ.
  • 2:20 - 2:24
    เราแยกจำนวนลบทั้งหมดออกไปแล้ว.
  • 2:24 - 2:26
    พวกนี้คือจำนวนที่ไม่ใช่จำนวนลบ.
  • 2:26 - 2:28
    ผมควรบอกว่า จำนวนเต็ม
    ที่ไม่ใช่จำนวนลบ.
  • 2:28 - 2:29
    นี่คือจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ.
  • 2:29 - 2:34
    แล้วจำนวนธรรมชาติ
    คือสับเซตของเซตนั้น.
  • 2:34 - 2:35
    มันก็คือทุกอย่าง
  • 2:35 - 2:37
    จำนวนเดียวที่อยู่ในจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  • 2:37 - 2:41
    แต่ไม่อยู่ในจำนวนธรรมชาติ
    คือเลข 0.
  • 2:41 - 2:43
    พื้นที่ทั้งหมดนี่ตรงนี้
  • 2:43 - 2:44
    จึงตรงกับเลข 0.
  • 2:44 - 2:46
    มันควรเป็นแค่จุดจุดเดียว
  • 2:46 - 2:47
    ขอผมทำให้ชัดหน่อย.
  • 2:47 - 2:51
  • 2:51 - 2:53
    วงกลมนี้คือจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  • 2:53 - 2:55
    แล้วผมมีจำนวนธรรมชาติ
  • 2:55 - 2:57
    ซึ่งเป็นสับเซตของเซตนั้น.
  • 2:57 - 2:58
    แน่นอนผมไม่ได้วาดตามสัดส่วน.
  • 2:58 - 3:00
    จำนวนธรรมชาติเป็นสับเซต
    ของเซตนั้น.
  • 3:00 - 3:02
    8 เป็นสมาชิกของทุกเซต.
  • 3:02 - 3:04
    8 ยังอยู่ตรงนี้.
  • 3:04 - 3:06
    มันอยู่ในจำนวนธรรมชาติ
    จำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  • 3:06 - 3:07
    และจำนวนเต็ม.
  • 3:07 - 3:09
    ลองขยายออกไปอีก.
  • 3:09 - 3:12
    ลองพูดถึงจำนวนตรรกยะกัน.
  • 3:12 - 3:18
  • 3:18 - 3:23
    นี่คือจำนวนที่แสดงในรูป p
  • 3:23 - 3:27
    ส่วน q ได้ เมื่อ p และ q
    เป็นจำนวนเต็ม.
  • 3:27 - 3:29
    8 เขียนแบบนี้ได้ไหม?
  • 3:29 - 3:37
    คุณเขียน 8 เป็น 8 ส่วน 1 ได้.
  • 3:37 - 3:39
    หรือ 16 ส่วน 2 ได้.
  • 3:39 - 3:42
    หรือคุณทำไปเรื่อยๆ 32 ส่วน 4,
  • 3:42 - 3:45
    คุณแสดงมันเป็น p ส่วน q ได้หลายแบบ
  • 3:45 - 3:47
    โดยที่ p และ q เป็นจำนวนเต็ม.
  • 3:47 - 3:49
    มันเป็นจำนวนตรรกยะชัดเจน.
  • 3:49 - 3:53
    ที่จริง ทุกอย่างที่ว่ามานี้
    เป็นจำนวนตรรกยะ.
  • 3:53 - 3:54
    ขอผมวาดนะ.
  • 3:54 - 3:59
    นี่คือสับเซตของจำนวนตรรกยะ.
  • 3:59 - 4:02
    8 ก็เป็นสมาชิกในนั้นเช่นกัน.
  • 4:02 - 4:06
    จำนวนตรรกยะ ขอผมใส่กล่องเช็คตรงนี้.
  • 4:06 - 4:08
    ทีนี้ จำนวนอตรรกยะคืออะไร?
  • 4:08 - 4:12
    จำนวนอตรรกยะ.
  • 4:12 - 4:15
    ตามนิยามแล้ว มันคือจำนวน
    ที่ไม่ใช่ตรรกยะ.
  • 4:15 - 4:18
    มันคือจำนวนที่ไม่สามารถเขียน
    ในรูปนี้ได้
  • 4:18 - 4:20
    เมื่อ p และ q เป็นจำนวนเต็ม.
  • 4:20 - 4:23
    ถ้าจำนวนใดเป็นตรรกยะ
    มันจะเป็นอตรรกยะไม่ได้.
  • 4:23 - 4:26
    8 จึงไม่ใช่สมาชิกของ
    จำนวนอตรรกยะ.
  • 4:26 - 4:29
    จำนวนอตรรกยะ เป็น
    เซตที่แยกออกมา
  • 4:29 - 4:30
    ตรงนี้.
  • 4:30 - 4:32
    ผมจะวาดมันแบบนี้.
  • 4:32 - 4:34
    พื้นที่นี่ตรงนี้
  • 4:34 - 4:36
    เป็นจำนวนอตรรกยะ.
  • 4:36 - 4:38
    อตรรกยะ.
  • 4:38 - 4:42
    ตรรกยะไม่ใช่สับเซตของอตรรกยะ
    พวกมันแยกกัน.
  • 4:42 - 4:45
    คุณอยู่ในสองเซตนี้พร้อมกันไม่ได้.
  • 4:45 - 4:47
    อตรรกยะอยู่ตรงนี้.
  • 4:47 - 4:53
    แล้วสุดท้าย เขาถามว่า 8
    เป็นสมาชิกของจำนวนจริงไหม?
  • 4:53 - 4:55
    ทีนี้ จำนวนจริงคือ
    ทั้งหมดนี้.
  • 4:55 - 4:58
    มันรวมทั้งจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ.
  • 4:58 - 5:03
    จำนวนจริงก็คือทั้งหมดนี่
    ตรงนี้.
  • 5:03 - 5:06
    ดังนั้น 8 แน่นอนเป็น
    สมาชิกของจำนวนจริง.
  • 5:06 - 5:09
    มันเป็นสมาชิกของจำนวนจริง
    และในจำนวนจริง
  • 5:09 - 5:11
    คุณเป็นจำนวนตรรกยะ
    หรืออตรรกยะ, 8 เป็นตรรกยะ.
  • 5:11 - 5:12
    เป็นจำนวนเต็ม.
  • 5:12 - 5:13
    เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ.
  • 5:13 - 5:15
    และเป็นจำนวนธรรมชาติ.
  • 5:15 - 5:18
    มันเป็นสมาชิกของจำนวนจริงด้วย.
  • 5:18 - 5:19
    คุณอาจถามว่า
  • 5:19 - 5:21
    แล้วจำนวนอตรรกยะคืออะไร?
  • 5:21 - 5:23
    ทุกจำนวนก็เขียนแบบนี้ได้ไม่ใช่เหรอ?
  • 5:23 - 5:26
    หรือ ทุกจำนวนที่คุณคิด
    เขียนได้แบบนี้เสมอหรือเปล่า?
  • 5:26 - 5:29
    ตัวอย่างจำนวนอตรรกยะ
  • 5:29 - 5:32
    ที่ดังที่สุดคือ ไพ.
  • 5:32 - 5:38
    ไพ เท่ากับ 3.14159 และบางคน
    ใช้เวลาทั้งชีวิต
  • 5:38 - 5:39
    จำเลขของไพ.
  • 5:39 - 5:42
    แต่สิ่งที่ทำให้มันเป็นจำนวนตรรกยะ
    คือว่า คุณไม่สามารถแสดง
  • 5:42 - 5:47
    มันเป็นอัตราส่วน หรือพจน์ตรรกยะ
  • 5:47 - 5:51
    ของจำนวนเต็มได้ อย่างที่
    ทำกับจำนวนตรรกยะ.
  • 5:51 - 5:53
    และอันนี้ตรงนี้ เป็นทศนิยมแบบไม่ซ้ำ.
  • 5:53 - 5:56
  • 5:56 - 5:57
    และถ้ามันซ้ำ คุณก็สามารถ
  • 5:57 - 5:59
    เขียนมันเป็นอัตราส่วนของจำนวนเต็มได้
  • 5:59 - 6:01
    และเราจะทำในวิดีโอหน้ากัน.
  • 6:01 - 6:05
    มันไม่ซ้ำ และไม่รู้จบ.
  • 6:05 - 6:10
    คุณไม่สามารถจบหลักทางขวา
    ของทศนิยมได้.
  • 6:10 - 6:12
    นี่คือตัวอย่างของจำนวนอตรรกยะ.
  • 6:12 - 6:14
    ไพจึงอยู่ในจำนวนอตรรกยะ.
  • 6:14 - 6:17
    เอาล่ะ หวังว่าคุณคงได้เรียนรู้
    จากเรื่องนี้นะ.
Title:
Number Sets 1
Description:

more » « less
Video Language:
English
Duration:
06:17
Umnouy Ponsukcharoen edited Thai subtitles for Number Sets 1

Thai subtitles

Incomplete

Revisions