Return to Video

Abstract-ness (นามธรรม)

  • 0:01 - 0:04
    เราคงเคยได้ยินคำว่านามธรรม
    (Abstract) มาบ้าง
  • 0:04 - 0:08
    ผมเลยคิดว่าจะลองอธิบาย
    ความหมายของมัน
  • 0:08 - 0:09
    หรือยิ่งกว่านั้น
  • 0:09 - 0:12
    คำว่า Abstract หมายความว่ายังไงกันแน่
  • 0:12 - 0:14
    abstract เป็นคำคุณศัพท์
  • 0:14 - 0:16
    เรามีความคิดแบบ abstract
  • 0:16 - 0:19
    เราวาดภาพแนว abstract
  • 0:19 - 0:21
    ถ้าเป็นกริยา
  • 0:21 - 0:22
    เรา abstract บางสิ่ง
  • 0:22 - 0:25
    abstract แนวคิดจากแนวคิดอี่นๆ
  • 0:25 - 0:27
    หรือเป็นคำนาม
  • 0:27 - 0:28
    เรามี abstract
  • 0:28 - 0:30
    ส่วนมาก ถ้าเป็นคำนาม
  • 0:30 - 0:32
    ผมมักจะนึกถึง
  • 0:32 - 0:34
    Abstract ของงานวิจัย
  • 0:34 - 0:37
    ซึ่งกรั่นกรองเฉพาะส่วนสำคัญของงาน
  • 0:37 - 0:39
    ซึ่งหมายถึงบทสรุปของงานวิจัยนั้นๆ
  • 0:39 - 0:40
    และอีกอย่างที่คุณจะเจอ
  • 0:40 - 0:41
    ไม่ว่าคุณจะใช้คำนี้
  • 0:41 - 0:44
    ในรูปแบบไหนก็ตาม
  • 0:44 - 0:47
    ก็บ่งบอกถึงการดึงส่วนสำคัญ
  • 0:47 - 0:51
    จากวัตถุชิ้นหนึ่ง
  • 0:51 - 0:54
    ไม่ว่าจะใช้ในรูปคำนาม คุณศัพท์ หรือ กริยา
  • 0:54 - 0:56
    ตรงนี้ให้เป็นโลกแห่งความจริง
  • 0:56 - 0:58
    นี่คือโลกแห่งความเป็นจริง
  • 0:58 - 1:01
    และตรงนี้ให้เป็นโลก
  • 1:01 - 1:05
    ของแนวคิดและหลักการ
  • 1:05 - 1:08
    วิธีการสำคัญของ abstraction
  • 1:08 - 1:10
    หรือ abstract บางอย่าง
  • 1:10 - 1:11
    คือการที่เราดึงอะไรออกมา
  • 1:11 - 1:13
    จากวัตถุหนึ่งในโลกแห่งความจริง
  • 1:13 - 1:18
    ไปยังเส้นทางของโลกแห่งแนวคิดและหลักการ
  • 1:18 - 1:22
    สำหรับผมนะ ความหมายที่เป็นรูปธรรมของ
  • 1:22 - 1:26
    คำว่า abstraction ซึ่งอาจจะฟังดูสับสน
  • 1:26 - 1:28
    เพราะเรากำลังคิด abstraction ในรูปธรรม
  • 1:28 - 1:32
    นั่นคือรูปทรงเลขาคณิต
  • 1:32 - 1:35
    ถ้าผมบอกว่าให้มองหาลูกบาศก์
  • 1:35 - 1:38
    คุณอาจจะชี้ไปยัง borg vessel (ยานอวกาศ
    ในเรื่อง Star Trek)
  • 1:38 - 1:39
    borg vessel
  • 1:39 - 1:45
    หรือคุณชี้ไปยังลูกเต๋า
  • 1:45 - 1:47
    เราวาดรูปลูกเต๋ากัน
  • 1:47 - 1:49
    ถ้าเรามองหาลูกบาศก์
  • 1:49 - 1:52
    คุณอาจจะชี้ไปยังลูกเต๋า
  • 1:52 - 1:54
    ที่คล้ายๆแบบนี้
  • 1:54 - 1:56
    คุณอาจชี้ไปยังร Rublik's cube
  • 1:56 - 1:57
    อะไรก็ได้ที่หาเจอ
  • 1:57 - 1:59
    อาจจะมีตึกที่มีทรงลูกบาศก์ก็ได้
  • 1:59 - 2:01
    ตึกที่มีทรงลูกบาศก์
  • 2:01 - 2:03
    หรือกล่องในบ้านอาจเป็นทรงลูกบาศก์
  • 2:03 - 2:08
    แต่ในหัวของคุณ คุณรู้ว่าลูกบาศก์เป็นยังไง
  • 2:08 - 2:10
    เหมือนรู้ว่านั่นคือลูกบาศก์เมื่อเราเห็นมัน
  • 2:10 - 2:13
    แนวคิดกว้างๆนี่เองที่ทำให้ความคิด
    นั่นกระจ่างขึ้น
  • 2:13 - 2:16
    อย่างเช่นการนิยามลูกบาศก์
  • 2:16 - 2:17
    และหลายความคิดก็แตกต่างกันไป
  • 2:17 - 2:19
    นี่คือวัตถุพลาสติกที่ถูกถืออยู่
  • 2:19 - 2:21
    นี่คือสิ่งๆหนึ่งที่มีสีขาว
  • 2:21 - 2:23
    พวกมันก็ไม่ได้เป็นลูกบาศก์เสียทีเดียว
  • 2:23 - 2:26
    เพราะว่ามีมุมเว้าๆตรงขอบ
  • 2:26 - 2:29
    และยาน borg vessel
  • 2:29 - 2:31
    มันไม่มีอยู่จริงนะ
  • 2:31 - 2:33
    เป็นของสมมุติขึ้นมา
  • 2:33 - 2:35
    ก็มีความเป็นลูกบาศก์อยู่ในตัวมันเอง
  • 2:35 - 2:38
    สิ่งที่น่าสนใจของเลขาคณิตก็คือ
  • 2:38 - 2:42
    มันพยายามจะนิยามวัตถุหลายๆอย่างบนโลกนี้
  • 2:42 - 2:45
    ดังนั้นเราจึงมีคำนิยามเหล่านี้ในเรขาคณิต
  • 2:45 - 2:50
    อย่างเช่นวัตถุอย่างนี้
  • 2:50 - 2:53
    ที่ทุกด้านมีความยาวเท่ากัน
  • 2:53 - 2:55
    ถ้าตรงนี้ยาวหนึ่งหน่วย อีกด้านก็ยาวเท่ากัน
  • 2:55 - 2:57
    คือยาวหนึ่งหน่วย
  • 2:57 - 2:58
    แต่ไม่จำเป็นว่า
  • 2:58 - 3:00
    ไม่ว่าด้านนี้จะยาวเท่าไหร่
  • 3:00 - 3:01
    ในแกนนี้
  • 3:01 - 3:02
    หรือยาวเท่าไหร่ในแกนนี้
  • 3:02 - 3:04
    หรือแกนนี้ก็ตาม
  • 3:04 - 3:06
    และเราจะไม่เจาะลึกถึงนิยาม
    ของลูกบาศก์
  • 3:06 - 3:08
    แต่ที่ผมอยากจะเน้นก็คือ
  • 3:08 - 3:12
    มันมีแนวคิดเกี่ยวกับลูกบาศก์
  • 3:12 - 3:14
    ที่นิยามมันไว้
  • 3:14 - 3:17
    และในโลกของความเป็นจริง
  • 3:17 - 3:19
    ไม่มีทรงรูปบาศก์ที่เพอร์เฟคหรอก
  • 3:19 - 3:20
    ถ้าเราจะพยายามวัดอย่างละเอียด
  • 3:20 - 3:23
    ถ้าจะวัดขนาดที่ละเอียดมากๆ
  • 3:23 - 3:25
    ทุกด้านไม่มีทางเท่ากันหรอก
  • 3:25 - 3:32
    แต่แนวคิดที่บอกว่าทุกด้านยาวเท่ากัน
  • 3:32 - 3:35
    ด้านนี้และด้านนี้ และทุกด้านต้อง
  • 3:35 - 3:37
    ยาวเท่ากัน
  • 3:37 - 3:39
    ดังนั้นเราพยายามคิดให้ออก
  • 3:39 - 3:41
    มาจากโลกแห่งความจริง
  • 3:41 - 3:44
    ถ้าเรานึกถึงศตวรรษที่ 24 หรือ 25
  • 3:44 - 3:49
    ไปยังแนวคิดที่ซ้อนอยู่ หลักการที่กว้างๆ
  • 3:49 - 3:52
    และคุณอาจจะเคยได้ยินคำว่า abstract
  • 3:52 - 3:54
    จากงานศิลปะ อย่างเช่น abstract art
  • 3:54 - 3:56
    ดังนั้น abstract art
  • 3:56 - 3:58
    ก็ใช้หลักการเดียวกัน
  • 3:58 - 3:59
    ถ้าหาความหมายดู
  • 3:59 - 4:01
    เราจะเจออย่างน้อย 20 ความหมาย
    ของ abstract
  • 4:01 - 4:04
    แต่สุดท้าย ก็สื่อถึงสิ่งเดียวกัน
  • 4:04 - 4:09
    abstract art คือศิลปะที่ไม่พยายาม
  • 4:09 - 4:12
    วาดตามความเป็นจริง
  • 4:12 - 4:15
    ถ้าเรามองงานศิลปะยุค Renaissance
  • 4:15 - 4:17
    นักศิลปะเหล่านี้เก่งในการวาด
  • 4:17 - 4:19
    ที่เสมือนของจริง
  • 4:19 - 4:20
    แต่นักศิลปะแนว abstract
  • 4:20 - 4:22
    เขาไม่ได้พยายามจะ
  • 4:22 - 4:24
    แสดงจินตนาการของโลกความจริง
  • 4:24 - 4:27
    แต่เขาพยายามแสดงจินตนาการออก
  • 4:27 - 4:31
    มาในรูปสีสัน รูปทรง หรือ ลาย
  • 4:31 - 4:33
    นี่คือ ผลงานรูปวาดของ Jackson Pollock
  • 4:33 - 4:36
    อยู่ตรงนี้
  • 4:36 - 4:39
    เอามากจาก Steven Zucker
    นักประวัติศาสตร์ศิลปะ
  • 4:39 - 4:42
    จะเห็นว่ารูปนี้ไม่ชัดเจน
  • 4:42 - 4:44
    แจ๊คสัน โพลอค ไม่ได้พยายามจะวาด
  • 4:44 - 4:47
    รูปสุนัขหรือม้า
  • 4:47 - 4:49
    แต่เขาวาดรูปแบบอิสระ
  • 4:49 - 4:51
    ไม่มีต้นแบบจากที่ไหน
  • 4:51 - 4:56
    ไม่มีวัตถุในเหมือนในรูป
  • 4:56 - 4:58
    และคำว่า abstract
  • 4:58 - 5:02
    ไม่ได้ใช้เฉพาะในเลขาคณิตหรือศิลปะ
  • 5:02 - 5:05
    แต่ใช้กับทุกสิ่งที่เราเจอทุกๆวัน
  • 5:05 - 5:06
    เมื่อเราพูดถึงบางอย่าง
  • 5:06 - 5:09
    เราใช้คำศัพท์หรือสัญลักษณ์
  • 5:09 - 5:11
    จริงๆเราก็ abstracting บางอย่าง
  • 5:11 - 5:16
    เราดึงเนื้อหาจากวัตถุที่เราเห็น
  • 5:16 - 5:20
    ถ้าใช้คำว่าสุนัข
  • 5:20 - 5:24
    มันเป็นเพียงสัญลักษณ์ที่อยู่ในสมองเรา
  • 5:24 - 5:26
    ที่เกี่ยวข้องกับสุนัข
  • 5:26 - 5:27
    ในสมองเราพอจะรู้ว่า
  • 5:27 - 5:30
    สุนัขมันเป็นยังไง
  • 5:30 - 5:32
    มันต้องมีสี่ขา
  • 5:32 - 5:35
    กระดิกหู และเราชอบลูบหัวมัน
  • 5:35 - 5:37
    มันเป็นเพื่อนสนิทของมนุษย์
  • 5:37 - 5:40
    เราก็คิดว่านี่แหละคือสุนัข
  • 5:40 - 5:42
    และนี่คืิอคุณสมบัติสำคัญของมัน
  • 5:42 - 5:44
    เมื่อเรามองดูสุนัขจริงๆ
  • 5:44 - 5:47
    สุนัขไม่ได้เหมือนกันหมด
  • 5:47 - 5:48
    ถ้ามองไปที่พันธุ์ great dane
  • 5:48 - 5:52
    หรือพันธุ์พุดเดิ้ลจิ๋ว
  • 5:52 - 5:55
    แต่เราจะตระหนักถึงคุณสมบัติของมัน
  • 5:55 - 5:58
    จุดนี้เราก็ได้ abstract สิ่งนี้และ
    เรียกว่าสุนัข
  • 5:58 - 6:01
    เรา abstract ออกมาในรูปของสัญลักษณ์
  • 6:01 - 6:03
    และเห็นออกมาเป็นภาพ
  • 6:03 - 6:05
    แม้แต่เราจะเขียนตัวเลข
  • 6:05 - 6:09
    ถ้าเขียนเลข 5
  • 6:09 - 6:12
    เราเขียนบ่อยมากจนกระทั่ง
  • 6:12 - 6:14
    เลข 5 เหมือนเป็นวัตถุชิ้นหนึ่งๆเลย
  • 6:14 - 6:16
    แต่จริงๆมันคือนามธรรม
  • 6:16 - 6:17
    เป็นเพียงจำนวนของวัตถุ
  • 6:17 - 6:19
    และมีสัญลักษณ์แบบนี้
  • 6:19 - 6:22
    เราจะเขียนเลขห้าอีกแบบก็ได้
  • 6:22 - 6:25
    อย่างเลขห้าของโรมัน
  • 6:25 - 6:27
    จะเขียนแบบนี้ก็ได้
  • 6:27 - 6:29
    จะเขียนแบบไหนก็ตาม
  • 6:29 - 6:32
    ก็แสดงถึงจำนวนห้าอย่าง
  • 6:32 - 6:36
    เราอาจจะบอกว่า ห้าเป็นยังไง
  • 6:36 - 6:38
    เราก็อาจจะวาด หรือชี้ให้เห็นได้
  • 6:38 - 6:41
    แต่ว่าเราแสดงสัญลักษณ์ของห้า
  • 6:41 - 6:45
    นั่นก็เป็นเพียงนามธรรมนั่นเอง
  • 6:45 - 6:47
    หวังว่าคุณจะเข้าใจมากขึ้น
  • 6:47 - 6:49
    สำหรับคำว่า abstract
  • 6:49 - 6:50
    ก็อย่างที่ได้สอนมา
  • 6:50 - 6:53
    ไม่มีคำไหนแทนคำนี้ได้
  • 6:53 - 6:56
    เพราะมันเป็นนามธรรม
  • 6:56 - 6:59
    อาจจะดูสับสนนิดหน่อย
Title:
Abstract-ness (นามธรรม)
Description:

จริงๆแล้วคำว่า Abstract (นามธรรม) หมายถึงอะไร

more » « less
Video Language:
English
Duration:
07:00
Un (Suthee) Chaidaroon edited Thai subtitles for Abstract-ness
Un (Suthee) Chaidaroon edited Thai subtitles for Abstract-ness
Un (Suthee) Chaidaroon edited Thai subtitles for Abstract-ness
Un (Suthee) Chaidaroon edited Thai subtitles for Abstract-ness

Thai subtitles

Revisions