Return to Video

ทฤษฎีพื้นฐานของตัวเลข

  • 0:04 - 0:07
    ลองจินตนาการว่าเราอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
  • 0:07 - 0:09
    ลองคิดดูว่า
  • 0:09 - 0:13
    เราสามารถรู้เวลาได้อย่างไร โดยไม่มีนาฬิกา
  • 0:13 - 0:15
    นาฬิกาทุกเรือนมีพื้นฐานมาจากวัฎจักรที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กัน
  • 0:15 - 0:19
    ซึ่งแบ่งเวลาเป็นส่วนๆ ละเท่าๆ กัน
  • 0:19 - 0:21
    ในการหาวัฎจักรที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กันนั้น
  • 0:21 - 0:23
    เรามองไปยังท้องฟ้า
  • 0:23 - 0:25
    เราเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น และตกลงในทุกวัน
  • 0:26 - 0:29
    แต่หากเราต้องการรู้เวลาในระยะยาวกว่านี้
  • 0:29 - 0:31
    เรามองหาวัฎจักรที่ยาวนานกว่านี้
  • 0:31 - 0:33
    อย่างเช่น เรามองไปยังดวงจันทร์แทน
  • 0:33 - 0:34
    ซึ่งรูปร่างหน้าตาจะเปลี่ยนในแต่ละวัน
  • 0:37 - 0:38
    เมื่อเรานับจำนวนวัน ระหว่างพระจันทร์เต็มดวง
  • 0:39 - 0:41
    เราจะได้ 29 วัน
  • 0:41 - 0:43
    ซึ่งนี่คือที่มาของ เดือน
  • 0:43 - 0:46
    แต่ถ้าเราจะแบ่งตัวเลข 29 เป็นส่วนๆ ที่เท่าๆ กัน
  • 0:46 - 0:49
    เราจะพบว่ามันเป็นไปไม่ได้
  • 0:49 - 0:52
    ทางเดียวที่จะแตกเลข 29 เป็นส่วนเท่าๆ กันได้นั้น
  • 0:52 - 0:55
    คือแตกออกเป็น 1 หน่วย 29 อัน
  • 0:55 - 0:57
    เพราะ 29 คือจำนวนเฉพาะ
  • 0:57 - 0:59
    ซึ่งไม่สามารถแตกออกเป็นตัวเลขย่อยๆ ได้
  • 0:59 - 1:01
    ถ้าตัวเลขสามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้
  • 1:03 - 1:05
    เราเรียกว่า จำนวนประกอบ
  • 1:05 - 1:07
    ตอนนี้เราอาจจะสงสัยว่า
  • 1:07 - 1:08
    มีจำนวนเฉพาะจำนวนกี่ตัว
  • 1:08 - 1:10
    และมีขนาดใหญ่ได้ขนาดไหน
  • 1:10 - 1:14
    เราจะเริ่มโดยแบ่งตัวเลขเป็น 2 ประเภท
  • 1:14 - 1:16
    เราจะให้จำนวนเฉพาะอยู่ทางซ้าย
  • 1:16 - 1:18
    และจำนวนเฉพาะอยู่ทางขวา
  • 1:18 - 1:20
    ในตอนแรก เราอาจจะเห็นว่าตัวเลขนั้นไปๆ มาๆ ทั้งสองฝั่ง
  • 1:20 - 1:23
    เรายังไม่เห็นที่มาของการเรียงลำดับนี้ได้อย่างชัดเจนนัก
  • 1:23 - 1:24
    ทีนี้ เราจะใช้วิธีสมัยใหม่
  • 1:24 - 1:26
    เพื่อให้เราเห็นภาพ
  • 1:26 - 1:29
    ซึ่งเราจะใช้วงเกลียวของ Ulam
  • 1:29 - 1:32
    ซึ่งเราจะเรียงตัวเลขทุกตัวที่เป็นไปได้
  • 1:32 - 1:34
    เป็นก้นหอยที่เป็นวงออกไปเรื่อยๆ
  • 1:34 - 1:37
    แล้วเราจะระบายสีจำนวนเฉพาะเป็นสีน้ำเงิน
  • 1:37 - 1:41
    ทีนี้ เมื่อเราซูมออกมาจนสามารถเห็นตัวเลขได้เป็นล้านตัว
  • 1:41 - 1:43
    นี่คือลำดับของจำนวนเฉพาะ
  • 1:43 - 1:45
    ซึ่งออกไปเรื่อยๆ
  • 1:45 - 1:48
    ซึ่งโครงสร้างของวงเกลียวนี้
  • 1:48 - 1:50
    ยังไม่เคยมีใครพิสูจน์ได้
  • 1:50 - 1:52
    เราจะเริ่มเรื่องของเราแล้ว
  • 1:52 - 1:53
    ทีนี้เราจะ
  • 1:53 - 1:56
    ไปในช่วง 300 ก่อนคริสต์กาล ในกรีกโบราณ
  • 1:56 - 1:58
    นักปรัชญาที่ชื่อว่ายูคลิด
  • 1:58 - 1:59
    เข้าใจว่าตัวเลขทุกตัวนั้น
  • 1:59 - 2:03
    สามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท
  • 2:03 - 2:05
    เขาเข้าใจว่าตัวเลขทุกตัว
  • 2:05 - 2:07
    สามารถหารลงไปเรื่อยๆ
  • 2:07 - 2:11
    จนถึงกลุ่มตัวเลขที่เล็กที่สุด
  • 2:11 - 2:13
    ซึ่งกลุ่มตัวเลขที่เล็กที่สุดนี้
  • 2:13 - 2:16
    คือจำนวนเฉพาะ
  • 2:16 - 2:17
    ซึ่งเขากล่าวว่าตัวเลขทุกตัว
  • 2:17 - 2:21
    นั้นเกิดจากการรวมตัวกันของจำนวนเฉพาะ
  • 2:21 - 2:23
    เพื่อให้เข้าใจกัน ลองจินตนาการตัวเลขทุกตัว
  • 2:23 - 2:26
    ที่ไม่ใช่จำนวนเฉพาะ
  • 2:26 - 2:28
    ทีนี้ ลองนำจำนวนประกอบตัวใดก็ได้มาแตกออก
  • 2:31 - 2:33
    แล้วเราจะเหลือไว้แค่จำนวนเฉพาะ
  • 2:33 - 2:35
    ซึ่งยูคลิดรู้ว่าตัวเลขทุกตัว
  • 2:35 - 2:38
    สามารถแสดงออกมา โดยกลุ่มจำนวนเฉพาะ
  • 2:38 - 2:40
    ซึ่งเราสามารถเปรียบเทียบได้ว่ามันคือ โครงสร้าง
  • 2:40 - 2:42
    ซึ่งตัวเลขทุกตัวที่คุณเลือก
  • 2:42 - 2:46
    สามารถสร้างขึ้นมาจากกลุ่มจำนวนเฉพาะที่เล็กกว่า
  • 2:46 - 2:48
    ซึ่งนี่คือที่มาของ
  • 2:48 - 2:51
    ทฤษฎีพื้นฐานของตัวเลข
  • 2:51 - 2:52
    แล้วนำตัวเลขอะไรก็ได้ เช่น 30
  • 2:54 - 2:56
    แล้วหาจำนวนเฉพาะทุกตัว
  • 2:56 - 2:57
    ที่มันสามารถหารได้ลงตัว
  • 2:57 - 3:00
    ซึ่งกระบวนการนี้เป็นการแยกตัวประกอบ
  • 3:00 - 3:02
    จะทำให้เรารู้จำนวนเฉพาะ
  • 3:02 - 3:06
    ในกรณีนี้ 2, 3 และ 5 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 30
  • 3:06 - 3:08
    ยูคลิดรู้ว่า คุณสามารถคูณ
  • 3:08 - 3:11
    ตัวเลขเหล่านี้ในจำนวนครั้งที่ถูกต้อง
  • 3:11 - 3:13
    เพื่อสร้างตัวเลขเดิม
  • 3:13 - 3:14
    ในกรณีนี้ คุณเพียงแค่
  • 3:14 - 3:16
    คูณตัวประกอบเฉพาะแต่ละตัวด้วยกันเพื่อสร้างตัวเลข 30
  • 3:16 - 3:20
    2 คูณ 3 คูณ 5 คือตัวประกอบเฉพาะของ 30
  • 3:20 - 3:23
    คิดว่า มันเป็นคีย์พิเศษ
  • 3:23 - 3:25
    ซึ่งไม่มีวิธีอื่นในการสร้างตัวเลข 30
  • 3:25 - 3:27
    โดยยนำจำนวนเฉพาะกลุ่มอื่น ๆ
  • 3:27 - 3:29
    มาคูณเข้าด้วยกัน
  • 3:29 - 3:31
    ดังนั้นตัวเลขทุกตัวจะมี
  • 3:31 - 3:34
    วิธีการแยกตัวประกอบเพียง 1 วิธีเท่านั้น
  • 3:34 - 3:36
    การเปรียบเทียบที่ดีคือ ลองจินตนาการว่าตัวเลขแต่ละตัวเลข
  • 3:36 - 3:38
    คือล็อคที่แตกต่างกัน
  • 3:38 - 3:40
    กุญแจของมัน
  • 3:40 - 3:42
    คือการแยกตัวประกอบที่เฉพาะเจาะจง
  • 3:42 - 3:44
    ไม่มีล็อคสองอันที่จะใช้กุญแจเหมือนกัน
  • 3:44 - 3:48
    ไม่มีตัวเลข 2 ตัวที่ใช้วิธีการแยกตัวประกอบเฉพาะเหมือนกัน
Title:
ทฤษฎีพื้นฐานของตัวเลข
Description:

ทฤษฎีพื้นฐานของตัวเลข

more » « less
Video Language:
English
Duration:
03:52
chaichontat added a translation

Thai subtitles

Incomplete

Revisions