Return to Video

คำใหม่ที่สวยงาม บอกความคลุมเครือของอารมณ์

  • 0:01 - 0:05
    วันนี้ผมอยากพูดเกี่ยวกับ
    ความหมายของคำต่างๆ
  • 0:05 - 0:06
    ว่าพวกเราให้คำนิยามว่าอะไร
  • 0:06 - 0:08
    และคำเหล่านั้น สะท้อน
  • 0:08 - 0:09
    ความเป็นเราได้อย่างไร
  • 0:09 - 0:13
    ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
    ที่อาศัยภาษาอื่น
  • 0:13 - 0:15
    ผมชอบภาษาอังกฤษ
    และผมดีใจที่ผมพูดภาษานี้
  • 0:15 - 0:17
    แต่ก็ยังมีช่องโหว่มากมาย
  • 0:18 - 0:21
    ในภาษากรีก มีคำ ๆ หนึ่ง
    lachesism (ลา-เค-อิ-ซึม)
  • 0:21 - 0:24
    ซึ่งแปลว่า ภาวะกระหายต่อความหายนะ
  • 0:25 - 0:28
    แบบว่า เมื่อคุณเห็น
    ฝนฝ้าคะนองอยู่ที่เส้นขอบฟ้า
  • 0:28 - 0:31
    แต่พอรู้ตัวอีกทีคุณก็อยู่ในพายุซะแล้ว
  • 0:32 - 0:34
    ภาษาจีนแมนดาลิน มีคำว่า yù yī (โย่ว ยื่อ)
  • 0:34 - 0:36
    ผมอาจออกเสียงไม่ถูกต้องนะครับ
  • 0:36 - 0:40
    คำนี้แปลว่า ความต้องการ
    ที่จะรู้สึกอย่างลึกซึ้งอีกครั้ง
  • 0:40 - 0:42
    ในแบบเดียวกับที่คุณทำตอนเด็ก
  • 0:44 - 0:47
    ภาษาโปแลนด์ มีคำว่า jouska (เวอซุสกา)
  • 0:47 - 0:50
    แปลว่า บทสนทนาสมมติ
  • 0:50 - 0:53
    ที่สร้างขึ้นในหัวของคุณ
  • 0:54 - 0:58
    และสุดท้าย ในภาษาเยอรมัน
    และแน่นอน ในภาษานี้
  • 0:58 - 1:00
    มีคำว่า zielschmerz (ซีลชเมิร์ส)
  • 1:00 - 1:04
    แปลว่า ความหวาดหวั่นในสิ่งที่ต้องการ
  • 1:04 - 1:08
    (เสียงหัวเราะ)
  • 1:08 - 1:10
    ที่สุดของการเติมเต็มความฝันชั่วชีวิต
  • 1:12 - 1:15
    ผมเองเป็นคนเยอรมัน
    ผมจึงรู้ลึกซึ้งดีว่ามันรู้สึกยังไง
  • 1:15 - 1:18
    ปัจจุบัน ผมไม่แน่ใจว่า
    จะใช้คำเหล่านี้
  • 1:18 - 1:19
    ในชีวิตประจำได้อย่างไร
  • 1:19 - 1:22
    แต่ผมก็ดีใจที่มีคำเหล่านี้
  • 1:22 - 1:25
    แต่เหตุผลเดียวที่พวกมันคงอยู่
    คือผมสร้างพวกมันขึ้น
  • 1:25 - 1:29
    ผมเป็นผู้เขียนหนังสือ "The Dictionary
    of Obscure Sorrows"
  • 1:29 - 1:32
    หนังสือที่ผมใช้เวลา
    7 ปีที่ผ่านมาในการเขียน
  • 1:32 - 1:34
    และจุดมุ่งหมายของโครงการนี้
  • 1:34 - 1:39
    คือการตามหาช่องว่าง
    ของอารมณ์ในภาษา
  • 1:39 - 1:41
    และเติมเต็มความหมายมัน
  • 1:41 - 1:44
    เรามีการพูดถึงบาปน้อยๆ
    ของคน
  • 1:45 - 1:47
    และความประหลาดของข้อจำกัดคน
  • 1:47 - 1:51
    ที่พวกเรารู้สึกได้ แต่อาจไม่คิด
    จะพูดออกมา
  • 1:51 - 1:54
    เพราะเราไม่มีคำสำหรับสิ่งนั้น
  • 1:54 - 1:56
    ประมาณครึ่งทางของโครงการนี้
  • 1:56 - 1:58
    ผมให้นิยามคำว่า sonder (ซอนเดอร์)
  • 1:58 - 2:01
    ความคิดที่ว่า เราต่างคิดว่าตัวเอง
    เป็นตัวแสดงหลัก
  • 2:01 - 2:04
    และคนอื่นเป็นเพียงตัวประกอบ
  • 2:04 - 2:07
    แต่ในความเป็นจริงแล้ว
    พวกเราต่างเป็นตัวละครเอกกันทั้งนั้น
  • 2:07 - 2:10
    และตัวคุณเองก็เป็นตัวประกอบใน
    ชีวิตใครบางคนด้วย
  • 2:11 - 2:14
    หลังจากหนังสือของผมวางแผงไม่นาน
  • 2:14 - 2:16
    ผมก็ได้รับเสียงตอบรับมากมาย
  • 2:16 - 2:21
    บ้างพูดว่า ขอบคุณที่ผมช่วย
    อธิบายบางอย่างที่รู้สึกมาตลอดชีวิต
  • 2:21 - 2:24
    แต่ไม่มีคำไหนใช้แทนคำนั้นได้
  • 2:24 - 2:25
    มันช่วยให้พวกเขารู้สึกโดดเดี่ยวน้อยลง
  • 2:26 - 2:28
    นี่คือพลังของคำต่างๆ
  • 2:29 - 2:32
    ที่ทำให้เรารู้สึกโดดเดี่ยวน้อยลง
  • 2:32 - 2:34
    และหลังจากนั้นอีกไม่นาน
  • 2:34 - 2:36
    ที่ผมเริ่มสังเกตคำว่า ซอนเดอร์
  • 2:36 - 2:40
    ได้ถูกใช้อย่างจริงจัง
    ในบทสนทนาบนโลกออนไลน์
  • 2:40 - 2:43
    และหลังจากนั้นผมก็สังเกต
  • 2:43 - 2:47
    ผมได้ยินบทสนทนาข้างตัวผม
  • 2:47 - 2:49
    ไม่รู้สึกเป็นคนแปลกหน้า
    มากไปกว่าการได้สร้างคำๆหนึ่ง
  • 2:49 - 2:53
    แล้วเห็นว่า มันมีความหมายในตัวมันเอง
  • 2:54 - 2:56
    ผมยังหาคำที่ตรงกับคำนี้ไม่ได้
    แต่เดี๋ยวผมคงมี
  • 2:56 - 2:57
    (เสียงหัวเราะ)
  • 2:57 - 2:58
    ผมพยายามอยู่
  • 3:00 - 3:02
    ผมเริ่มคิดว่า อะไร
    ที่ทำให้คำเป็นจริงขึ้นมา
  • 3:04 - 3:05
    เพราะคนถามผมงั้นเหรอ
  • 3:05 - 3:07
    โดยส่วนใหญ่คนมักจะถามผมว่า
  • 3:07 - 3:11
    คำเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นมาหรือเปล่า
    ฉันไม่เข้าใจมันเลย
  • 3:11 - 3:13
    แล้วผมก็ไม่รู้ว่าจะบอกพวกเขาอย่างไร
  • 3:13 - 3:15
    เพราะเมื่อสำรวจว่ามีการเริ่มใช้
  • 3:15 - 3:17
    ผมเป็นใครกันที่จะบอกว่าคำเหล่านี้
    ว่าจริงหรือไม่จริง
  • 3:18 - 3:22
    ผมเลยรู้สึกเหมือนเป็นสตีฟ จ๊อบ
    ที่ได้อธิบายทางสว่างของเขา
  • 3:22 - 3:26
    เมื่อเขาตระหนักได้ว่าเราส่วนใหญ่
    สิ่งที่เราผ่านไปในแต่ละวันนั้น
  • 3:26 - 3:29
    พวกเราพยายามหลีกเลี่ยง
    การกระแทกกับกำแพงมากไป
  • 3:29 - 3:32
    แล้วพยายามไหลไปตามน้ำ
  • 3:32 - 3:34
    แต่เมื่อคุณได้รู้ว่า
  • 3:36 - 3:40
    คนที่สร้างโลกใบนี้ขึ้น
    คือคนที่ไม่ได้ฉลาดไปกว่าคุณเลย
  • 3:40 - 3:42
    คุณสามารถเอื้อม
    และสัมผัสกำแพงนั้นได้
  • 3:42 - 3:44
    หรือแม้แต่เอามือทะลุผ่านได้
  • 3:44 - 3:46
    แล้วรู้สึกถึงพลังในการเปลี่ยนแปลง
  • 3:47 - 3:51
    และเมื่อคนถามผมว่า
    คำเหล่านั้นมีจริงไหม
  • 3:51 - 3:53
    ผมมีคำตอบมากมายให้ลองตอบ
  • 3:53 - 3:55
    บางคำตอบก็เข้าใจได้
    บางคำตอบก็ไม่ใช่
  • 3:55 - 3:57
    แต่คำตอบหนึ่งที่ผมพยายามบอกไปคือ
  • 3:57 - 4:00
    คำๆหนึ่งจะมีจริงได้
    ถ้าคุณอยากให้มันเป็นจริง
  • 4:00 - 4:04
    สิ่งที่ทำให้คำนี้เป็นจริงได้
    เพราะคนนั่นแหละที่อยากให้มันเป็นจริง
  • 4:04 - 4:06
    (เสียงหัวเราะ)
  • 4:06 - 4:08
    มันเกิดขึ้นตลอดเวลา
    ในวิทยาเขตต่างๆของมหาลัย
  • 4:08 - 4:10
    เรียกว่า เส้นทางที่ปรารถนา
  • 4:10 - 4:11
    (เสียงหัวเราะ)
  • 4:11 - 4:13
    จากนั้นผมก็ได้ตัดสินใจ
    ว่าสิ่งที่คนต้องการถามจริงๆ
  • 4:13 - 4:16
    คือคำนั้นมีจริงหรือไม่
    พวกเขากำลังถามจริงๆ
  • 4:16 - 4:20
    ว่านี่จะเป็นสื่อเข้าถึงได้สักกี่สมองนะ
  • 4:21 - 4:24
    เพราะผมคิดว่านี่คือสิ่งที่พวกเรา
    หวังกับภาษา
  • 4:24 - 4:27
    คำ คือกุญแจสำคัญ
  • 4:27 - 4:30
    ที่ไขเข้าสมองคนได้
  • 4:30 - 4:32
    และเมื่อได้เข้าไปในหัวหนึ่งคน
  • 4:33 - 4:34
    ไม่ค่อยคุ้มสักเท่าไหร่
  • 4:34 - 4:35
    มันยังไม่คุ้มที่จะรู้
  • 4:35 - 4:38
    สองหัวหรอ ก็แล้วแต่ว่าเป็นของใคร
  • 4:38 - 4:40
    เป็นล้านๆหัว โอเค นี่แหละที่ต้องการ
  • 4:41 - 4:47
    และคำที่ดีจริงต้องนำพาคุณสู่
    หัวสมองอีกมากมาย
  • 4:47 - 4:51
    และนั่นทำให้คุ้มค่าที่จะรู้
  • 4:51 - 4:54
    คำที่เจ๋งสุดคือ
  • 4:54 - 4:57
    (โอ เค)
  • 4:57 - 4:58
    นี่ไง
  • 4:58 - 4:59
    คำจริงที่สุดที่เรามี
  • 4:59 - 5:02
    มันเป็นคำที่ใกล้เคียงกุญแจสำคัญที่สุด
  • 5:02 - 5:04
    เป็นคำที่เข้าใจกันดีที่สุดทั่วโลก
  • 5:04 - 5:06
    ไม่ว่าคุณจะอยู่ไหน
  • 5:06 - 5:07
    ปัญหาก็คือ
  • 5:07 - 5:10
    ดูเหมือนจะไม่มีใครรู้
    ว่าตัวหนังสือสองตัวนั้นย่อมาจากอะไร
  • 5:10 - 5:12
    (เสียงหัวเราะ)
  • 5:12 - 5:14
    ซึ่งก็ประหลาดดี ว่าไหมครับ
  • 5:14 - 5:17
    แบบว่า อาจจะเป็นการสะกดผิด
    ของคำว่า all correct ละมั้ง
  • 5:17 - 5:19
    หรือย่อมาจาก
    old kinderhook
  • 5:19 - 5:23
    ดูเหมือนจะไม่มีใครรู้
    แต่จริงๆแล้วมันก็
  • 5:23 - 5:26
    ไม่ได้บอกว่าเรา
    ให้ความหมายคำอย่างไร
  • 5:26 - 5:29
    คำต่าง ๆ นั้นไม่มีความหมายอยู่ในตัวเอง
  • 5:30 - 5:33
    พวกเรานี่แหละ
    ใส่มันเข้าไปเอง
  • 5:33 - 5:37
    และผมคิดว่า เวลาที่พวกเรา
    ตามหาความหมายของชีวิตเรา
  • 5:38 - 5:40
    และความหมายของชีวิต
  • 5:40 - 5:43
    ผมว่าคำต่างๆ ก็
    มีส่วนเกี่ยวข้อง
  • 5:44 - 5:47
    และถ้าคุณตามหาความหมาย
    บางอย่าง
  • 5:47 - 5:49
    พจนานุกรมเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
  • 5:50 - 5:52
    มันให้ความรู้สึกเป็นระเบียบ
  • 5:52 - 5:54
    ในจักรวาลอันแสนวุ่นวาย
  • 5:55 - 5:57
    มุมมองเราต่อสิ่งต่างๆ มีจำกัด
  • 5:58 - 6:00
    เราจึงต้องมีแบบแผน
  • 6:00 - 6:03
    เพื่อที่จะหาทาง
    แปลความหมาย
  • 6:03 - 6:05
    และดำเนินชีวิตในแต่ละวันได้
  • 6:05 - 6:09
    เราต้องการคำต่างๆ
    เพื่ออธิบายตัวเรา
  • 6:09 - 6:11
    ผมว่าเราหลายๆ คนรู้สึกอึดอัด
  • 6:12 - 6:14
    ว่าจะใช้คำเหล่านี้อย่างไร
  • 6:14 - 6:16
    พวกเราลืมไปว่า เราสร้างมันขึ้นมา
  • 6:16 - 6:19
    ไม่ใช่แค่คำที่ผมสร้าง
    ทุกคำถูกสร้างขึ้นมาหมด
  • 6:19 - 6:21
    แต่ไม่ใช่ทุกคำมีความหมาย
  • 6:22 - 6:26
    พวกเราเหมือนถูกกัก
    ไว้ในพจนานุกรม
  • 6:26 - 6:31
    ที่ไม่จำเป็นว่าจะเกี่ยว
    ข้องกับคนที่ไม่ได้เป็นเช่นเรา
  • 6:31 - 6:35
    และเหตุนี้เราก็ดูจะโดนฉีกห่าง
    ออกไปทุกๆ ปี
  • 6:35 - 6:37
    เมื่อเราจริงจังกับคำต่างๆมากขึ้น
  • 6:40 - 6:43
    จำไว้ว่า คำต่างๆ มันไม่จริง
  • 6:44 - 6:46
    มันไม่มีความหมาย แต่เรามี
  • 6:46 - 6:49
    ผมขอทิ้งท้ายด้วยการอ่าน
  • 6:50 - 6:52
    หนังสือของหนึ่งในนักปรัชญาที่ผมชอบ
  • 6:52 - 6:55
    บิล วัตเตอร์สัน ผู้สร้าง
    "Calvin and Hobbes."
  • 6:55 - 6:56
    เขากล่าวว่า
  • 6:57 - 7:01
    การสร้างชีวิตสะท้อนคุณค่า
    และความต้องการของจิตวิญญาณคุณ
  • 7:01 - 7:03
    เป็นความสำเร็จอันหาได้ยาก
  • 7:03 - 7:05
    การสร้างความหมายให้กับชีวิตตัวเอง
  • 7:05 - 7:07
    ไม่ใช่เรื่องง่าย
  • 7:07 - 7:08
    แต่ก็ไม่ได้ยากเกินไป
  • 7:08 - 7:11
    และผมคิดว่าคุณจะ
    สุขยิ่งขึ้นกับปัญหา
  • 7:11 - 7:13
    ขอบคุณครับ
  • 7:13 - 7:15
    (เสียงปรบมือ)
Title:
คำใหม่ที่สวยงาม บอกความคลุมเครือของอารมณ์
Speaker:
จอห์น เคอนิก
Description:

จอห์น เคอนิก หลงรักการค้นหาคำต่างๆ ที่บ่งบอกความรู้สึกอันหมองหม่นของเรา อย่างเช่น "lachesism" หรือ ภาวะกระหายหายนะ และ "sonder" หรือการตระหนักรู้ว่าชีวิตคนอื่นดูซับซ้อนกว่าตนเอง และ ณ ที่นี่ จอห์นจะเป็นสื่อกลางระหว่างความหมายของคำ และความหมายซ่อนที่เกี่ยวข้องกับเรา

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TEDTalks
Duration:
07:28

Thai subtitles

Revisions