1 00:00:00,590 --> 00:00:03,880 เรามาลองทำสมการ ที่เกี่ยวกับเรื่อง "ค่าสัมบูรณ์" บ้างดีกว่า 2 00:00:03,880 --> 00:00:05,119 ก่อนอื่นต้องทบทวนก่อน 3 00:00:05,119 --> 00:00:07,650 เวลาเราใส่เครื่องหมาย ค่าสัมบูรณ์ ไปให้ตัวเลข (เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์คือการใส่ l ... l ครอบลงไป) 4 00:00:07,650 --> 00:00:10,680 สมมติว่า ใส่ไปให้ เลข -1 5 00:00:10,680 --> 00:00:12,263 สิ่งที่เราต้องทำคือ 6 00:00:12,263 --> 00:00:16,090 เราจะคิดว่า "เลขนั้นห่างจากเลข 0 เท่าไหร่" 7 00:00:16,090 --> 00:00:20,620 ตอนนี้เรามี -1 , ถ้าลองเขียนเส้นจำนวนดู 8 00:00:20,620 --> 00:00:23,310 (เบี้ยวไปหน่อย) 9 00:00:23,310 --> 00:00:26,230 ถ้าเราเขียนเส้นจำนวน เลข0อยู่ตรงกลาง 10 00:00:26,230 --> 00:00:28,470 เราจะมี -1 อยู่ตรงนี้ 11 00:00:28,470 --> 00:00:30,230 จะเห็นได้ว่า ระยะห่างของมันจากเลข 0 คือ 1 หน่วย 12 00:00:30,230 --> 00:00:33,250 สรุปได้ว่า ค่าสัมบูรณ์ของ -1 คือ 1 13 00:00:33,250 --> 00:00:38,850 และค่าสัมบูรณ์ของ 1 ก็คือ 1 หน่วยห่างจาก 0 เช่นกัน 14 00:00:38,850 --> 00:00:40,610 เพราะฉะนั้น ค่าสัมบูรณ์ของ 1 ก็คือ 1 15 00:00:40,610 --> 00:00:43,500 สรุป ค่าสัมบูรณ์ คือ "ระยะห่าง ว่าเลขตัวนั้นห่างจาก 0 เท่าไหร่" 16 00:00:43,500 --> 00:00:45,587 อีกวิธีคิดที่ง่ายกว่าคือ 17 00:00:45,587 --> 00:00:48,600 เวลาใส่ค่าสัมบูรณ์ลงไป เลขจะกลายเป็นจำนวนบวกเสมอ 18 00:00:48,600 --> 00:00:59,360 ดังนั้น ค่าสัมบูรณ์ของ -7346 = 7346 19 00:00:59,360 --> 00:01:00,779 เรามาลองทำอีกอันดีกว่า 20 00:01:00,779 --> 00:01:05,050 ลองแก้สมการ ที่มีเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์อยู่ด้วย 21 00:01:05,050 --> 00:01:06,675 สมมติว่ามีสมการ 22 00:01:06,675 --> 00:01:14,500 l x-5 l = 10 23 00:01:14,500 --> 00:01:15,895 เราจะตีความอีกอย่างได้ว่า 24 00:01:15,895 --> 00:01:18,161 เราจะตีความอีกอย่างได้ว่า 25 00:01:18,161 --> 00:01:23,120 ระยะห่างระหว่าง x กับ 5 มีค่าเท่ากับ 10 26 00:01:23,120 --> 00:01:26,750 ดังนั้น จำนวนอีก 10 จำนวน ที่ห่างจาก 5 นั้น จะเป็นเท่าไหร่? 27 00:01:26,750 --> 00:01:29,430 เราก็จะสามารถหาคำตอบได้แล้ว 28 00:01:29,430 --> 00:01:31,960 แต่ฉันจะแสดงวิธีทำแบบเป็นระบบให้ดู 29 00:01:31,960 --> 00:01:36,510 ดังนั้น จำนวนนี้สามารถตีความได้สองแบบ 30 00:01:36,510 --> 00:01:41,800 แบบที่ 1 คือ x-5 = 10 31 00:01:41,800 --> 00:01:44,630 ดังนั้นถ้าเราคิดว่ามันเป็น +10 32 00:01:44,630 --> 00:01:46,610 ถ้าเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ลงไป 33 00:01:46,610 --> 00:01:48,380 เราก็จะได้ +10 อยู่ดี 34 00:01:48,380 --> 00:01:53,130 แต่ ในที่นี้ x-5 อาจจะเป็น -10 ก็ได้ 35 00:01:53,130 --> 00:01:58,700 ดังนั้น ถ้า x-5 คือ -10 ถ้าเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ลงไป 36 00:01:58,700 --> 00:01:59,950 เราก็จะได้ 10 อยู่ดี 37 00:01:59,950 --> 00:02:04,280 ดังนั้น x-5 ก็สามารถเท่ากับ -10 ได้เช่นกัน 38 00:02:04,280 --> 00:02:07,730 ทั้งสองคำตอบสามารถเป็นคำตอบของสมการได้ 39 00:02:07,730 --> 00:02:08,958 ดังนั้น ถ้าลองแก้สมการนี้ 40 00:02:08,958 --> 00:02:11,500 บวก 5 เข้าไปทั้งสองข้างของสมการ 41 00:02:11,500 --> 00:02:14,160 เราจะได้ x = 15 42 00:02:14,160 --> 00:02:17,830 วิธีการแก้สมการถัดมานี้ คือ ให้ +5 ทั้งสองข้างของสมการ 43 00:02:17,830 --> 00:02:20,900 ดังนั้น x = -5 44 00:02:20,900 --> 00:02:21,963 ดังนั้นคำตอบของเราคือ 45 00:02:21,963 --> 00:02:24,910 เราจะมี x 2 คำตอบ ที่เป็นจริง 46 00:02:24,910 --> 00:02:26,890 x อาจจะเป็น 15 47 00:02:26,890 --> 00:02:29,502 15-5 = 10 , ถ้าใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ลงไป 48 00:02:29,502 --> 00:02:32,690 เราก็จะได้ l 10 l = 10 49 00:02:32,690 --> 00:02:36,060 หรือ x อาจจะเป็น -5 -5 ลบอีก 5 = -10 50 00:02:36,060 --> 00:02:39,020 ถ้าใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์, l -10 l = 10 51 00:02:39,020 --> 00:02:41,632 และจะสังเกตเห็นว่า 52 00:02:41,632 --> 00:02:45,750 ทั้งสองตัวเลขนี้ จะห่างจากเลข 5 อยู่ 10 จำนวน 53 00:02:45,750 --> 00:02:48,050 ลองทำอีกสมการนึงดีกว่า 54 00:02:48,050 --> 00:02:51,130 สมมติว่า 55 00:02:51,130 --> 00:02:52,182 สมมติว่าเรามี 56 00:02:52,182 --> 00:02:58,580 ค่าสัมบูรณ์ของ x+2 = 6 57 00:02:58,580 --> 00:02:59,610 จำนวนนี้บอกอะไรเรา? 58 00:02:59,610 --> 00:03:03,132 จำนวนนี้บอกเรา ว่า x+2 = 6 59 00:03:03,132 --> 00:03:07,030 จำนวนนี้บอกเรา ว่า x+2 = 6 60 00:03:07,030 --> 00:03:10,380 หรือ x+2 อาจจะได้เท่ากับ 61 00:03:10,380 --> 00:03:12,050 หรือ x+2 อาจจะได้เท่ากับ -6 62 00:03:12,050 --> 00:03:13,910 เพราะถ้า x+2 = -6 เวลาเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ลงไป 63 00:03:13,910 --> 00:03:16,210 เราก็จะได้ 6 อยู่ดี 64 00:03:16,210 --> 00:03:20,340 ดังนั้น, x+2 อาจจะเป็น -6 ก็ได้ 65 00:03:20,340 --> 00:03:22,880 จากนั้นก็แก้สมการ , นำ 2 ไปลบออกจากทั้งสองข้าง 66 00:03:22,880 --> 00:03:25,850 เราจะได้ x=4 67 00:03:25,850 --> 00:03:29,780 ส่วนถ้าเรา นำ 2 ลบออกจากทั้งสองข้าง ของสมการตรงนี้ 68 00:03:29,780 --> 00:03:33,690 เราจะได้ x = -8 69 00:03:33,690 --> 00:03:37,240 ดังนั้นสองคำตอบนี้ คือคำตอบของสมการ 70 00:03:37,240 --> 00:03:39,740 และจากที่เรารู้มา ว่า 71 00:03:39,740 --> 00:03:42,500 เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ ก็คือ การหาระยะห่างระหว่างตัวเลขกับ 0 72 00:03:42,500 --> 00:03:43,940 เราอาจะเขียนโจทย์ใหม่ เป็น 73 00:03:43,940 --> 00:03:50,410 l x - (-2) l = 6 74 00:03:50,410 --> 00:03:52,759 วิธีการคิดก็คือ 75 00:03:52,759 --> 00:03:57,590 x คือจำนวนอะไร ที่ห่างจาก -2 อยู่ 6 76 00:03:57,590 --> 00:03:59,168 จำได้ไหม จากโจทย์แรกเราบอกว่า 77 00:03:59,168 --> 00:04:03,560 x คือจำนวนอะไร ที่ ห่างจาก 5 อยู่ 10 78 00:04:03,560 --> 00:04:05,990 ดังนั้นทั้งสองคำตอบที่เราได้ จะเห็นได้ว่า 79 00:04:05,990 --> 00:04:08,560 ทั้งสองคำตอบที่ได้มานี้ ก็ห่างจาก 5 อยู่ 10 ทั้งคู่ 80 00:04:08,560 --> 00:04:09,515 ดังนั้นคำถามนี้ก็คือ 81 00:04:09,515 --> 00:04:13,080 จำนวนอะไร ที่อยู่ห่างจาก -2 อยู่ 6 82 00:04:13,080 --> 00:04:15,510 ดังนั้น จำนวนทั้งสองคือ 4 หรือ -8 นั่นเอง 83 00:04:15,510 --> 00:04:17,959 จะลองนับไล่เลขดูก็ได้ 84 00:04:17,959 --> 00:04:20,459 เรามาลองทำโจทย์อีกข้อดีกว่า 85 00:04:20,459 --> 00:04:25,330 เรามาลองทำโจทย์อีกข้อดีกว่า 86 00:04:25,330 --> 00:04:30,190 ค่าสัมบูรณ์ของ 4x-1 87 00:04:30,190 --> 00:04:31,430 ให้ l 4x -1 l 88 00:04:31,430 --> 00:04:33,390 ให้ l 4x -1 l 89 00:04:33,390 --> 00:04:36,583 l 4x-1 l = 19 90 00:04:36,583 --> 00:04:40,200 l 4x-1 l = 19 91 00:04:40,200 --> 00:04:41,769 ก็เหมือนๆกับโจทย์ข้อก่อนๆที่ทำมาแล้ว 92 00:04:41,769 --> 00:04:47,640 4x-1 อาจจะเป็น 19 93 00:04:47,640 --> 00:04:51,670 หรือ 4x-1 อาจจะเป็น -19 94 00:04:51,670 --> 00:04:53,130 เพราะหลังจากที่ทำเป็นค่าสัมบูรณ์ออกมาแล้ว 95 00:04:53,130 --> 00:04:54,800 เราก็จะได้ 19 อยู่ดี 96 00:04:54,800 --> 00:04:59,100 ดังนั้น 4x-1 จะเท่ากับ -19 ก็ได้ 97 00:04:59,100 --> 00:05:00,970 จากนั้นก็คือการแก้สมการ 98 00:05:00,970 --> 00:05:02,945 +1 เข้าไปทั้งสองข้างของสมการ 99 00:05:02,945 --> 00:05:04,274 เราจะบวกเข้าไปพร้อมกัน 100 00:05:04,274 --> 00:05:08,510 บวก 1 เข้าไปทั้งสองข้าง , จะได้ 4x = 20 101 00:05:08,510 --> 00:05:11,005 อีกข้างก็ +1 เข้าไปทั้งสองข้างของสมการ 102 00:05:11,005 --> 00:05:15,340 เราจะได้ 4x = -18 103 00:05:15,340 --> 00:05:20,210 หารทั้งสองข้างด้วย 4 , เราจะได้ x=5 104 00:05:20,210 --> 00:05:23,920 มาอีกสมการ , หารทั้งสองข้างด้วย 4 เราจะได้ x = -18/4 105 00:05:23,920 --> 00:05:31,770 ซึ่งนั้นก็คือ -9/2 106 00:05:31,770 --> 00:05:35,730 ทั้งสองคำตอบนี้ คือคำตอบของสมการ 107 00:05:35,730 --> 00:05:36,587 ลองแทนค่ากลับดู เพื่อดูว่าถูกต้องไหม 108 00:05:36,587 --> 00:05:39,580 -9/2 คูณ 4 109 00:05:39,580 --> 00:05:41,570 จะได้ -18 110 00:05:41,570 --> 00:05:44,200 -18 ลบออกอีก 1 ก็จะได้ -19 111 00:05:44,200 --> 00:05:46,740 ใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ลงไป เราจะได้ 19 112 00:05:46,740 --> 00:05:49,920 ถ้า x = 5 ; 4 x 5 = 20 113 00:05:49,920 --> 00:05:51,960 20-1 = 19 114 00:05:51,960 --> 00:05:53,260 ถ้าเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ 115 00:05:53,260 --> 00:05:55,920 เราจะได้ l 19 l = 19 116 00:05:55,920 --> 00:05:58,580 เรามาลองเขียนกราฟหรือฟังค์ชั่นกันเล่นๆดีกว่า 117 00:05:58,580 --> 00:05:59,283 สมมติว่า 118 00:05:59,283 --> 00:06:04,990 ให้ y มีค่าเท่ากับ l x+3 l 119 00:06:04,990 --> 00:06:07,840 นี่จะเป็นกราฟ 120 00:06:07,840 --> 00:06:09,410 ที่มีค่าสัมบูรณ์อยู่ด้วย 121 00:06:09,410 --> 00:06:11,820 สมมติให้มี 2 เหตุการณ์ ละกัน 122 00:06:11,820 --> 00:06:13,136 เหตุการณ์ที่ 1 ; คือ 123 00:06:13,136 --> 00:06:16,430 เลขที่อยู่ในเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ เป็น จำนวนบวก 124 00:06:16,430 --> 00:06:18,873 เราจะได้ x+3 มีค่ามากกว่า 0 125 00:06:18,873 --> 00:06:23,420 x+3 มากกว่า 0 126 00:06:23,420 --> 00:06:29,370 และเหตุการณ์ที่ 2; คือ x+3 มีค่าน้อยกว่า 0 127 00:06:29,370 --> 00:06:32,658 เมื่อ x+3 มีค่ามากกว่า 0 128 00:06:32,658 --> 00:06:36,490 ในกราฟนี้ หรือ ในฟังค์ชั่นนี้ 129 00:06:36,490 --> 00:06:41,690 ก็จะมีค่าเหมือน y = x+3 130 00:06:41,690 --> 00:06:44,370 ถ้ามันมีค่ามากกว่า 0 131 00:06:44,370 --> 00:06:46,750 ดังนั้นจะใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์หรือไม่ ก็ค่าเท่ากัน 132 00:06:46,750 --> 00:06:48,780 ดังนั้นในกรณีนี้ y=lx+3l ก็จะเท่ากับ y=x+3 133 00:06:48,780 --> 00:06:50,280 ดังนั้นในกรณีนี้ y=lx+3l ก็จะเท่ากับ y=x+3 134 00:06:50,280 --> 00:06:52,590 ถ้า x+3 มากกว่า 0 135 00:06:52,590 --> 00:06:56,366 ถ้าเรา ลบ 3 ออกจากทั้งสองข้าง 136 00:06:56,366 --> 00:06:59,910 เราจะได้ x มากกว่า -3 137 00:06:59,910 --> 00:07:02,249 และเมื่อ x มากกว่า -3 138 00:07:02,249 --> 00:07:08,460 กราฟก็จะมีลักษณะเป็น y = x+3 139 00:07:08,460 --> 00:07:11,500 แต่ถ้า x+3 น้อยกว่า 0 140 00:07:11,500 --> 00:07:13,328 เวลาที่จำนวนในเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์เป็น จำนวนลบ 141 00:07:13,328 --> 00:07:16,509 เวลาที่จำนวนในเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์เป็น จำนวนลบ 142 00:07:16,509 --> 00:07:20,356 เราก็จะได้ 143 00:07:20,356 --> 00:07:26,250 y = - (x+3) 144 00:07:26,250 --> 00:07:27,540 y = - (x+3) 145 00:07:27,540 --> 00:07:30,520 ดังนั้น ถ้ามันเป็นจำนวนลบ 146 00:07:30,520 --> 00:07:33,060 ถ้า x+3 เป็นจำนวนลบ 147 00:07:33,060 --> 00:07:36,010 ถ้า x+3 เป็นจำนวนลบ 148 00:07:36,010 --> 00:07:38,090 ถ้าเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ ให้ จำนวนลบ 149 00:07:38,090 --> 00:07:40,050 ถ้าเราใส่เครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ ให้ จำนวนลบ ก็คือการเปลี่ยนมันให้เป็นจำนวนบวก 150 00:07:40,050 --> 00:07:43,280 ก็เหมือนการ นำ -1 คูณเข้าไป 151 00:07:43,280 --> 00:07:45,870 ถ้าเราใส่เครืองหมายค่าสัมบูรณ์ให้จำนวนลบ 152 00:07:45,870 --> 00:07:48,890 ก็เหมือนกับการ นำ -1 ไปคูณ นั่นเอง 153 00:07:48,890 --> 00:07:51,010 เพราะเรากำลังจะทำให้มันเป็นจำนวนบวก 154 00:07:51,010 --> 00:07:53,870 ดังนั้น กลับมาดูที่สมการนี้ 155 00:07:53,870 --> 00:07:55,840 x +3 น้อยกว่า 0 156 00:07:55,840 --> 00:07:59,850 ถ้าเรานำ 3 ลบออกทั้งสองข้าง 157 00:07:59,850 --> 00:08:01,280 เรานำ 3 ลบออกทั้งสองข้าง เมื่อ x น้อยกว่า -3 158 00:08:01,280 --> 00:08:03,920 ดังนั้น เมื่อ x น้อยกว่า -3 , กราฟก็จะเป็นแบบนี้ 159 00:08:03,920 --> 00:08:05,040 ดังนั้น เมื่อ x น้อยกว่า -3 , กราฟก็จะเป็นแบบนี้ 160 00:08:05,040 --> 00:08:08,280 ถ้า x มากกว่า -3 , กราฟก็จะเป็นแบบตรงนี้ 161 00:08:08,280 --> 00:08:09,600 ถ้า x มากกว่า -3 , กราฟก็จะเป็นแบบตรงนี้ 162 00:08:09,600 --> 00:08:11,300 มาดูกันว่า ทั้งสองสมการนั้น จะทำให้กราฟเป็นยังไง 163 00:08:11,300 --> 00:08:13,670 มาดูกันว่า ทั้งสองสมการนั้น จะทำให้กราฟเป็นยังไง 164 00:08:13,670 --> 00:08:21,520 เริ่มวาดกราฟ โดยเขียนแกน x และ แกน y ขึ้นมา 165 00:08:21,520 --> 00:08:26,070 เริ่มวาดกราฟ โดยเขียนแกน x และ แกน y ขึ้นมา 166 00:08:26,070 --> 00:08:29,090 จากสมการนี้ เราจะได้ y = -x - 3 167 00:08:29,090 --> 00:08:29,870 จากสมการนี้ เราจะได้ y = -x - 3 168 00:08:29,870 --> 00:08:36,070 จากสมการนี้ เราจะได้ y = -x - 3 169 00:08:36,070 --> 00:08:37,409 มาดูกันดีกว่า ว่า กราฟนี้จะเป็นยังไง 170 00:08:37,409 --> 00:08:38,620 มาดูกันดีกว่า ว่า กราฟนี้จะเป็นยังไง 171 00:08:38,620 --> 00:08:42,020 จาก y = -x -3 172 00:08:42,020 --> 00:08:47,380 ที่แกน y ก็จะต้องเป็น -3 173 00:08:47,380 --> 00:08:51,060 และ -x หมายความว่า เป็น เส้นเอียงลงไปทางขวา แบบนี้ 174 00:08:51,060 --> 00:08:52,290 ความชันเส้น เป็น 1 175 00:08:52,290 --> 00:08:53,540 เส้นมันจะเอียงไปประมาณนี้ 176 00:08:56,840 --> 00:09:02,830 ต่อมา คือ ต้องดูว่าเส้นนี้ตัดแกน x ที่ไหน 177 00:09:02,830 --> 00:09:07,740 ถ้าเราให้ y ในสมการเป็น 0 , 178 00:09:07,740 --> 00:09:08,575 x จะเท่ากับ -3 179 00:09:08,575 --> 00:09:10,380 เวลาลากเส้นต่อทั้งสองจุดเข้าด้วยกัน มันก็จะเป็นแบบนี้ 180 00:09:10,380 --> 00:09:11,920 เวลาลากเส้นต่อทั้งสองจุดเข้าด้วยกัน มันก็จะเป็นแบบนี้ 181 00:09:11,920 --> 00:09:14,190 และถ้ากราฟไม่ได้มีข้อจำกัดอะไร 182 00:09:14,190 --> 00:09:15,600 ก็ต่อเส้นออกมาตามปกติ กราฟก็จะเป็นแบบนี้ 183 00:09:19,890 --> 00:09:22,760 (แบบนี้คือเราไม่ได้จำกัดช่วงที่แน่นอนในแกน x) 184 00:09:22,760 --> 00:09:23,880 (แบบนี้คือเราไม่ได้จำกัดช่วงที่แน่นอนในแกน x) 185 00:09:23,880 --> 00:09:27,080 มาดูอีกกราฟกัน ว่าจะเป็นยังไง 186 00:09:27,080 --> 00:09:27,480 มาดูอีกกราฟกัน ว่าจะเป็นยังไง 187 00:09:27,480 --> 00:09:31,810 จุดที่แกน y ของมัน จะมีค่าเท่ากับ 3 แบบนี้ 188 00:09:31,810 --> 00:09:33,230 จุดที่แกน y ของมัน จะมีค่าเท่ากับ 3 แบบนี้ 189 00:09:33,230 --> 00:09:35,260 จากนั้นก็หาจุดตัดที่แกน x 190 00:09:35,260 --> 00:09:37,970 ถ้า y=0 , x จะเท่ากับ -3 191 00:09:37,970 --> 00:09:39,760 มันจะก็ตัดที่จุด -3 ที่แกน x เหมือนสมการแรกเช่นเดียวกัน 192 00:09:39,760 --> 00:09:40,620 และมีความชัน เป็น 1 193 00:09:40,620 --> 00:09:43,710 มันก็จะมีลักษณะประมาณนี้ 194 00:09:43,710 --> 00:09:45,330 นี่คือลักษณะกราฟ จากสมการที่เรามี 195 00:09:45,330 --> 00:09:48,100 แต่ที่เราต้องคิด คือ จากสมการสีม่วงข้างบน เราจะเห็นว่า 196 00:09:48,100 --> 00:09:52,030 ที่เส้นแรก x ต้องมีค่า น้อยกว่า -3 เท่านั้น 197 00:09:52,030 --> 00:09:53,830 ที่เส้นแรก x ต้องมีค่า น้อยกว่า -3 เท่านั้น 198 00:09:53,830 --> 00:09:57,070 ดังนั้น ถ้า x ต้องมีค่า น้อยกว่า -3 199 00:09:57,070 --> 00:09:59,593 ดังนั้น ถ้า x ต้องมีค่า น้อยกว่า -3 200 00:09:59,593 --> 00:10:03,170 มันก็จะเขียนในกราฟได้ แค่ช่วงเส้นสีม่วงตรงนี้ 201 00:10:03,170 --> 00:10:04,570 มันก็จะเขียนในกราฟได้ แค่ช่วงเส้นสีม่วงตรงนี้ 202 00:10:04,570 --> 00:10:07,390 มันก็จะเขียนในกราฟได้ แค่ช่วงเส้นสีม่วงตรงนี้ 203 00:10:07,390 --> 00:10:10,830 แต่อีกสมการ บอกว่า x ต้องมากกว่า -3 204 00:10:10,830 --> 00:10:12,160 ดังนั้นเส้นที่สอง เราต้องให้ x มากกว่า -3 เท่านั้น 205 00:10:12,160 --> 00:10:14,640 ดังนั้นเส้นที่สอง เราต้องให้ x มากกว่า -3 เท่านั้น ก็จะเป็นแบบนี้ 206 00:10:14,640 --> 00:10:17,480 เมื่อนำมาไว้ด้วยกัน กราฟจะดูเหมือนตัว V 207 00:10:17,480 --> 00:10:21,430 เมื่อ x มีค่ามากกว่า -3, 208 00:10:21,430 --> 00:10:24,950 ดังนั้นความชันจะเป็นบวก เส้นจะเอียงไปอีกทาง 209 00:10:24,950 --> 00:10:28,270 แต่ถ้า x มีค่าน้อยกว่า -3 , 210 00:10:28,270 --> 00:10:30,550 ความชันของเส้น ก็จะเป็นลบ เส้นจะเอียงแบบนี้ 211 00:10:30,550 --> 00:10:32,280 ความชันของเส้น ก็จะเป็นลบ เส้นจะเอียงแบบนี้ 212 00:10:32,280 --> 00:10:35,060 ดังนั้นฟังค์ชั่น ที่เราได้นั้น ก็จะเป็น ฟังค์ชั่นรูปตัว V แบบนี้ ซึ่งเป็นลักษณะของกราฟของสมการค่าสัมบูรณ์นั่นเอง 213 00:10:35,060 --> 00:10:38,250 ดังนั้นฟังค์ชั่น ที่เราได้นั้น ก็จะเป็น ฟังค์ชั่นรูปตัว V แบบนี้ ซึ่งเป็นลักษณะของกราฟของสมการค่าสัมบูรณ์นั่นเอง 214 00:10:38,250 --> 00:10:39,950 ดังนั้นฟังค์ชั่น ที่เราได้นั้น ก็จะเป็น ฟังค์ชั่นรูปตัว V แบบนี้ ซึ่งเป็นลักษณะของกราฟของสมการค่าสัมบูรณ์นั่นเอง