1 00:00:08,480 --> 00:00:11,420 สิ่งหนึ่งที่เจ๋งที่สุดที่ฉันเจอ เกี่ยวกับวงจรก็คือ 2 00:00:11,780 --> 00:00:18,440 วงจรสามารถเป็นศิลปะได้ ถ้าสร้างสรรค์ ก็จะได้ไอเดียสร้างสรรค์จากการใช้วงจร 3 00:00:20,300 --> 00:00:24,700 ฉะนั้นหากมีไอเดีย ก็ใช้เทคโนโลยีช่วย ทำให้ไอเดียนั้นเป็นจริง 4 00:00:26,860 --> 00:00:32,340 ทุกข้อมูลที่นำเข้าและนำออกจากคอมพิวเตอร์ นับเป็นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ 5 00:00:32,340 --> 00:00:37,240 ซึ่งนำเสนอผ่านการปิดและเปิด ของสัญญาณไฟฟ้า 6 00:00:37,240 --> 00:00:39,060 หรือเลขหนึ่งกับศูนย์ 7 00:00:39,400 --> 00:00:46,360 หากจะประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไป ก่อนส่งข้อมูลนั้นออกมา 8 00:00:46,360 --> 00:00:49,920 คอมพิวเตอร์ต้องดัดแปลง และรวมสัญญาณนำเข้านั้น 9 00:00:50,540 --> 00:00:58,520 ซึ่งคอมพิวเตอร์ต้องใช้องค์ประกอบทางไฟฟ้าเล็ก ๆ ซึ่งอยู่ด้วยกันในรูปแบบเพื่อสร้างวงจร 10 00:01:03,040 --> 00:01:08,460 มาดูกันครับว่าวงจรสามารถดัดแปลงและประมวล ผลข้อมูลที่ถูกนำเสนอด้วยเลขหนึ่งกับศูนย์ยังไง 11 00:01:09,460 --> 00:01:12,280 นี่เป็นวงจรอย่างง่าย 12 00:01:12,280 --> 00:01:15,820 มันใช้สัญญาณไฟฟ้าดูว่าปิดหรือเปิด ก่อนจะสลับ 13 00:01:15,820 --> 00:01:20,580 หากคุณให้สัญญาณ 1 ไป วงจรจะให้ 0 14 00:01:20,580 --> 00:01:23,620 ถ้าคุณให้ 0 กับวงจร มันจะให้ 1 กับคุณ 15 00:01:23,630 --> 00:01:29,680 สัญญาณที่เข้าไปไม่เหมือนสัญญาณที่ออกมา เราเลยเรียกมันว่าวงจร Not 16 00:01:30,040 --> 00:01:36,580 วงจรที่ซับซ้อนกว่าสามารถรับและรวมได้หลายสัญญาณ และมอบผลลัพธ์ที่ต่างออกไปให้คุณ 17 00:01:36,580 --> 00:01:43,480 ตัวอย่างนี้ วงจรจะใช้สองสัญญาณ แต่ละอันจะเป็น 1 หรือ 0 18 00:01:43,880 --> 00:01:49,580 ถ้าอันใดอันหนึ่งเป็น 0 ผลลัพธ์ก็จะเป็น 0 19 00:01:49,580 --> 00:01:52,720 วงจรนี้จะเป็น 1 ได้ 20 00:01:52,780 --> 00:02:00,760 เมื่อสัญญาณที่หนึ่งและสัญญาณที่สอง เป็น 1 เหมือนกัน เราจึงเรียกว่าวงจร And 21 00:02:01,220 --> 00:02:06,600 จะมีวงจรเล็ก ๆ แบบนี้มากมาย ที่ช่วยคำนวณตรรกะอย่างง่าย 22 00:02:06,600 --> 00:02:13,400 เมื่อเชื่อมวงจรเหล่านี้เข้าด้วยกัน ก็สร้างวงจร ที่ซับซ้อนขึ้น จนคำนวณอะไรที่ซับซ้อนขึ้นได้ 23 00:02:13,940 --> 00:02:19,760 เช่นเมื่อทำวงจรที่เพิ่มสองบิทเข้าด้วยกัน เรียกว่า แอดเดอร์ 24 00:02:19,840 --> 00:02:27,040 วงจรนี้คำนวณจากสองบิท แต่ละอันจะเป็น 1 หรือ 0 แล้วนำมารวมกันเพื่อคำนวณผลลัพธ์ 25 00:02:27,350 --> 00:02:29,829 ผลลัพธ์อาจเป็น 0 บวก 0 ได้ 0 26 00:02:30,340 --> 00:02:34,340 0 บวก 1 ได้ 1 หรือ 1 บวก 1 ได้ 2 27 00:02:34,360 --> 00:02:39,440 ต้องต่อสายไฟออกมาสองเส้นเพื่อแทนหน่วยเลขฐานสอง สองหน่วยในการเสนอผลลัพธ์ 28 00:02:40,060 --> 00:02:44,500 เมื่อมีหนึ่งแอดเดอร์เพื่อเพิ่มข้อมูลสองบิท 29 00:02:44,500 --> 00:02:50,340 ก็ใส่แอดเดอร์เข้าไปอีกหลาย ๆ อันได้ เพื่อคำนวณตัวเลขที่มากกว่านั้นมาก 30 00:02:51,170 --> 00:02:56,229 เช่นแอดเดอร์ 8-บิท จะบวกเลข 25 และ 50 แบบนี้ 31 00:02:57,260 --> 00:03:03,730 แต่ละเลขนำเสนอด้วย 8 บิท ทำให้มีสัญญาณไฟฟ้าที่ต่างกัน 16 สัญญาณเข้าวงจร 32 00:03:04,920 --> 00:03:10,760 ในวงจรสำหรับแอดเดอร์ 8 บิทมีแอดเดอร์เล็ก ๆ อีกมาก ซึ่งพอมารวมกันแล้วก็คำนวณผลลัพธ์ได้ 33 00:03:12,500 --> 00:03:17,340 วงจรไฟฟ้าที่ต่างกันสามารถ คำนวณแบบง่ายอื่น ๆ ได้เช่น ลบ คูณ 34 00:03:17,340 --> 00:03:24,720 ที่จริงข้อมูลทั้งที่คอมพิวเตอร์ประมวล ก็เป็นเพียงการทำงานเล็ก ๆ มารวมกัน 35 00:03:24,720 --> 00:03:30,520 แต่ละการทำงานที่คอมพิวเตอร์ทำนั้น เรียบง่ายมากจนมนุษย์เองก็ทำได้ 36 00:03:30,520 --> 00:03:34,100 แต่วงจรในคอมพิวเตอร์นั้นไวกว่ามาก 37 00:03:34,820 --> 00:03:38,660 วงจรสมัยก่อนทั้งใหญ่และเทอะทะ 38 00:03:38,660 --> 00:03:44,780 แอดเดอร์ 8 บิทอาจใหญ่เท่าตู้เย็น ใช้เวลาหลายนาทีกว่าจะคำนวณง่าย ๆ ได้ 39 00:03:45,100 --> 00:03:50,060 วงจรคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีจนาวจิ๋ว และไวกว่ามาก 40 00:03:50,580 --> 00:03:53,200 ทำไมเล็กกว่าแล้วยังไวกว่า 41 00:03:53,200 --> 00:03:58,140 เพราะยิ่งวงจรเล็ก สัญญาณไฟฟ้ายิ่งไม่ต้องเดินทางไกล 42 00:03:58,360 --> 00:04:04,340 สัญญาณไฟฟ้าเดินทางไวพอกับแสง วงจรยุคนี้จึงคำนวณหลักพันล้านได้ใน 1 วินาที 43 00:04:05,320 --> 00:04:10,720 ฉะนั้นไม่ว่าคุณจะเล่นเกม บันทึกวีดีโอ หรือ สำรวจจักรวาล 44 00:04:11,860 --> 00:04:18,019 ทุกสิ่งที่คุณใช้เทคโนโลยีทำ ต้องประมวลผลมากมายอย่างรวดเร็ว 45 00:04:18,860 --> 00:04:24,900 เบื้องหลังความซับซ้อนนี้คือ วงจรจิ๋วมากมายที่เปลี่ยนสัญญาณฐานสอง 46 00:04:24,900 --> 00:04:27,720 เป็นเว็บไซต์ วีดีโอ เพลงและเกมส์ 47 00:04:27,720 --> 00:04:31,960 วงจรพวกนี้ยังช่วยเราถอดรหัสดีเอ็นเอ เพื่อวินิจฉัยและรักษาโรคด้วย 48 00:04:31,960 --> 00:04:34,920 แล้วคุณล่ะ อยากใช้วงจรพวกนี้ทำอะไร