1 00:00:01,020 --> 00:00:02,216 ดวงจันทร์ของดาวพลูโต 2 00:00:02,876 --> 00:00:06,789 วันนี้ดาวพลูโตเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดสำหรับการ การสูญเสียสถานะของการเป็นดาวเคราะห์ 3 00:00:07,259 --> 00:00:11,772 แต่ที่จริงแล้วเราได้ค้นพบสิ่งใหม่ ๆ เกี่ยวกับ เรื่องนี้ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา 4 00:00:12,002 --> 00:00:14,903 อย่างหนึ่ง คือ มันมีดวงจันทร์ มากกว่าที่เราคิด 5 00:00:15,423 --> 00:00:18,034 อย่างน้อยห้า แต่ว่า อาจจะมีมากยิ่งขึ้น! 6 00:00:18,984 --> 00:00:20,514 ชารอนได้ครอบงำดวงจันทร์อื่นๆ ที่เหลือ 7 00:00:20,894 --> 00:00:24,954 เนื่องจากขนาดและมวลของมัน มีอิทธิพลที่มากกว่าอีกสี่ดวง 8 00:00:25,464 --> 00:00:28,120 ชารอนมวลใหญ่มีความสัมพันธ์กับดาวพลูโต 9 00:00:28,120 --> 00:00:32,625 ที่จุดศูนย์กลางมวลของระบบดาวพลูโต นั้นอยู่นอกดาวเคราะห์แคระดวงนี้ 10 00:00:33,016 --> 00:00:36,420 ดังนั้นดวงจันทร์ไม่ได้โคจรรอบดาวพลูโต แต่โคจรรอบจุดศูนย์กลางมวลระบบดาวพลูโต 11 00:00:36,720 --> 00:00:38,633 นี่เป็นสิ่งพิเศษอย่างหนึ่งในระบบสุริยะ 12 00:00:38,633 --> 00:00:43,126 และนักวิทยาศาสตร์บางคนยังจัดหมวดหมู่ ดาวพลูโตและชารอนเป็นระบบดาวคู่ 13 00:00:43,126 --> 00:00:45,819 แทนที่จะเป็นดาวเคราะห์แคระที่มี ดวงจันทร์โคจรรอบ 14 00:00:47,709 --> 00:00:53,144 ชารอนอาจประกอบด้วยชั้นน้ำแข็ง และหิน หรือ มันอาจเป็นก้อนน้ำแข็งยักษ์สกปรก 15 00:00:53,434 --> 00:00:57,149 ถ้ามันไม่ได้โคจรรอบพลูโต มันจะ เป็นดาวเคราะห์แคระโดยตัวมันเอง 16 00:00:57,729 --> 00:00:59,301 แล้วดวงจันทร์ดวงอื่น ๆ ล่ะ? 17 00:00:59,861 --> 00:01:02,453 เอาจริงๆนะ ตอนนี้ เราก็ไม่ค่อยรู้จัก พวกมันมากนัก 18 00:01:03,033 --> 00:01:07,595 ดาวพลูโตอยู่ห่างไกลจากโลกอย่างมาก ดังนั้นจึงเป็นเรื่องยากที่จะได้รับข้อมูลรายละเอียด 19 00:01:08,195 --> 00:01:10,387 แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงเร็ว ๆ นี้ 20 00:01:10,677 --> 00:01:13,588 ในปี 2015 ยานนิวฮอไรซั่น 21 00:01:13,588 --> 00:01:15,909 ไปถึงระบบดาวพลูโต หลังจากการเดินทาง 9 ปี 22 00:01:15,909 --> 00:01:20,382 และในที่สุดก็ทำให้เรามีข้อมูลรายละเอียด เกี่ยวกับดาวพลูโตและเพื่อนดวงจันทร์ของมัน 23 00:01:21,272 --> 00:01:23,421 มาดู อินโฟกราฟฟิคเล่น ๆ กัน 24 00:01:24,081 --> 00:01:28,240 นี่คือดาวพลูโตและดวงจันทร์ตามสเกล รวมถึงช่องว่างระหว่างพวกมัน 25 00:01:28,730 --> 00:01:30,056 นี่คือระบบดาวพลูโต 26 00:01:31,976 --> 00:01:33,462 และนี่คือดาวพฤหัสบดี 27 00:01:34,982 --> 00:01:37,600 มันมีขนาดใหญ่กว่าดาวพลูโตทั้งระบบ 28 00:01:38,110 --> 00:01:40,091 ดาวพฤหัสบดีใหญ่ซะ! 29 00:01:40,751 --> 00:01:42,122 เอาล่ะ เรามารวบรัด ตัดสรุป 30 00:01:42,342 --> 00:01:44,691 แม้ว่าดาวพลูโตไม่ได้เป็นดาวเคราะห์ 31 00:01:44,691 --> 00:01:47,327 มันก็ยังคงเป็นที่น่าสนใจมาก และควรค่าแก่การสำรวจ 32 00:01:47,777 --> 00:01:50,363 ในปี 2015 เราจะได้ทราบข้อมูลเพิ่มเติม 33 00:01:51,043 --> 00:01:53,949 ถ้าคุณอยากเรียนรู้เกี่ยวกับดวงจันทร์อีก ดูวิดีโอดวงจันทร์อื่น ๆ ได้เพิ่มเติม 34 00:01:54,970 --> 00:02:02,090 คำบรรยายไทยโดย ytuaeb sciencemath คำบรรยายโดยชุมชน Amara.org