WEBVTT 00:00:15.330 --> 00:00:17.449 คุณอาจเคยได้ยินมาว่า แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่ง 00:00:17.449 --> 00:00:18.947 และสีของวัตถุหนึ่งๆ 00:00:18.947 --> 00:00:22.133 มีความสัมพันธ์กับความถี่ของคลื่นแสง ที่มันสะท้อนออกมา 00:00:22.133 --> 00:00:24.216 คลื่นแสงความถี่สูงจะมีสีออกม่วง 00:00:24.216 --> 00:00:26.019 คลื่นแสงความถี่ต่ำจะมีสีออกแดง 00:00:26.019 --> 00:00:27.931 แสงความถี่ที่อยู่ตรงกลางจะมีสีออกเหลือง 00:00:27.931 --> 00:00:28.383 เขียว 00:00:28.383 --> 00:00:29.020 ส้ม 00:00:29.020 --> 00:00:30.662 และสีอื่นๆ 00:00:30.662 --> 00:00:32.988 คุณอาจเรียกแนวคิดนี้ว่าเป็นสีทางกายภาพ 00:00:32.988 --> 00:00:36.677 เพราะว่าสีคือคุณสมบัติทางกายภาพของแสงนั่นเอง 00:00:36.677 --> 00:00:39.085 โดยไม่ขึ้นกับการรับรู้ของมนุษย์ 00:00:39.085 --> 00:00:41.245 ถึงแม้ว่าคำกล่าวนี้จะไม่ผิด 00:00:41.245 --> 00:00:43.748 มันก็ยังไม่ครอบคลุมเรื่องราวทั้งหมดเสียทีเดียว 00:00:43.748 --> 00:00:47.322 เช่น คุณอาจเคยเห็นภาพนี้มาก่อน 00:00:47.322 --> 00:00:51.781 จะเห็นว่า บริเวณคาบเกี่ยว ระหว่างสีแดงและเขียวนั้นคือ สีเหลือง 00:00:51.781 --> 00:00:54.156 ลองคิดดูดีๆ นี่มันดูแปลกๆ อยู่นะ 00:00:54.156 --> 00:00:56.733 เพราะว่า แสงนั้นเป็นคลื่น คลื่นแสงสองความถี่ที่ต่างกัน 00:00:56.733 --> 00:00:58.895 ไม่ควรจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันเลย 00:00:58.895 --> 00:01:00.212 ทั้งคู่ควรจะปรากฏอยู่ร่วมกันมากกว่า 00:01:00.212 --> 00:01:02.468 เหมือนนักร้องร้องเพลงประสานเสียง 00:01:02.468 --> 00:01:04.501 ดังนั้นบริเวณดูเป็นสีเหลือง 00:01:04.501 --> 00:01:07.372 มีคลื่นแสงสองชนิดที่แตกต่างกันนั้นปรากฏ 00:01:07.372 --> 00:01:08.907 คลื่นนึงมีความถี่ของแสงสีแดง 00:01:08.907 --> 00:01:10.667 อีกคลื่นหน่งมีความถี่ของแสงสีเขียว 00:01:10.667 --> 00:01:13.122 มันไม่มีแสงสีเหลืองอยู่เลยซักนิด 00:01:13.122 --> 00:01:14.473 แล้วทำไม 00:01:14.473 --> 00:01:16.620 ที่ที่ซึ่งแสงสีแดงและเขียวมาผสมกัน 00:01:16.620 --> 00:01:18.542 จึงปรากฎเป็นสีเหลืองให้เราเห็นล่ะ? 00:01:18.542 --> 00:01:22.054 การทำความเข้าใจเรื่องนี้ ต้องอาศัยความรู้ทางชีววิทยาสักเล็กน้อย 00:01:22.054 --> 00:01:25.131 โดยเฉพาะเรื่องที่ว่า มนุษย์มองเห็นสีได้อย่างไร 00:01:25.131 --> 00:01:28.463 การรับแสงเกิดขึ้นที่บริเวณชั้นเซลล์บางๆ 00:01:28.463 --> 00:01:29.422 ที่เรียกว่า เรตินา (retina) 00:01:29.422 --> 00:01:31.672 ที่บุอยู่ด้านหลังของลูกตา 00:01:31.672 --> 00:01:35.532 เรตินา ประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด ที่แตกต่างกัน: 00:01:35.532 --> 00:01:37.855 เซลล์รูปแท่ง (rod) และเซลล์รูปกรวย (cone) 00:01:37.855 --> 00:01:40.437 เซลล์รูปแท่งจะใช้ในการมองเห็นในที่ที่มีแสงน้อย 00:01:40.437 --> 00:01:42.680 และเซลล์ชนิดนี้มีอยู่แบบเดียวเท่านั้น 00:01:42.680 --> 00:01:45.672 ส่วนเซลล์รูปกรวยจะต่างออกไป 00:01:45.672 --> 00:01:47.984 มันมีด้วยกัน 3 แบบ ซึ่งทำหน้าที่ตอบสนองต่อแสง 00:01:47.984 --> 00:01:49.338 สีแดง 00:01:49.338 --> 00:01:49.824 สีเขียว 00:01:49.824 --> 00:01:51.318 และสีน้ำเงิน 00:01:51.318 --> 00:01:52.934 เมื่อคุณมองดูสีสีหนึ่ง 00:01:52.934 --> 00:01:56.758 เซลล์รูปกรวยแต่ละแบบก็จะส่งสัญญาณ ที่แตกต่างกันไปยังสมอง 00:01:56.758 --> 00:01:58.985 เช่น สมมติว่าแสงสีเหลือง 00:01:58.985 --> 00:02:01.548 แสงสีเหลืองจริงๆ ที่มีความถี่แสงสีเหลือง 00:02:01.548 --> 00:02:03.155 กระทบเข้าตาคุณ 00:02:03.155 --> 00:02:06.052 คุณไม่มีเซลล์รูปกรวยเฉพาะสำหรับจับแสงสีเหลือง 00:02:06.052 --> 00:02:08.088 แต่สีเหลืองนั้นถือว่าใกล้เคียงกับสีเขียว 00:02:08.088 --> 00:02:09.553 และก็ใกล้เคียงกับสีแดงด้วย 00:02:09.553 --> 00:02:12.152 ดังนั้นเซลล์รูปกรวยสำหรับสีแดงและเขียว จึงถูกกระตุ้น 00:02:12.152 --> 00:02:16.179 ต่างส่งสัญญาณไปยังสมอง 00:02:16.179 --> 00:02:18.145 แน่นอนว่า มันมีวิธีอื่นเช่นกันที่จะกระตุ้นการทำงาน 00:02:18.145 --> 00:02:21.142 ของเซลล์รูปกรวยสำหรับแสงสีแดงและเขียว พร้อมๆ กัน 00:02:21.142 --> 00:02:24.742 ถ้ามีแสงสีแดงและแสงสีเขียว ปรากฏอยู่ในเวลาเดียวกัน 00:02:24.742 --> 00:02:28.120 ประเด็นคือ สมองคุณได้รับสัญญาณไม่ต่างกัน 00:02:28.120 --> 00:02:31.642 ไม่ว่าคุณจะมองแสงที่มีความถี่ของแสงสีเหลือง 00:02:31.642 --> 00:02:35.189 หรือ แสงผสมที่มีความถี่ของแสงสีแดงและสีเขียว 00:02:35.189 --> 00:02:39.328 นี่จึงเป็นเหตุผลว่าทำไม สีแดง บวก สีเขียว ได้ สีเหลือง 00:02:39.328 --> 00:02:42.781 แล้วทำไมคุณถึงมองไม่เห็นสีในที่มืด? 00:02:42.781 --> 00:02:45.360 นั่นก็เพราะ เซลล์รูปแท่งจะทำงานแทน 00:02:45.360 --> 00:02:46.987 ในที่ที่มีแสงน้อย 00:02:46.987 --> 00:02:48.989 คุณมีเซลล์รูปแท่งอยู่แบบเดียว 00:02:48.989 --> 00:02:50.976 ดังนั้นจึงมีสัญญาณแบบเดียว 00:02:50.976 --> 00:02:52.598 ที่ส่งไปยังสมอง 00:02:52.598 --> 00:02:54.591 คือ มีแสง กับ ไม่มีแสง 00:02:54.591 --> 00:02:57.059 การที่มีเซลล์รับแสงเพียงแบบเดียว 00:02:57.059 --> 00:02:59.713 ทำให้หมดโอกาสในการมองเห็นสี 00:02:59.713 --> 00:03:02.122 สีทางกายภายมีมากมายนับไม่ถ้วน 00:03:02.122 --> 00:03:04.830 แต่เพราะเรามีเซลล์รูปกรวยเพียง 3 แบบ 00:03:04.830 --> 00:03:07.744 สมองจึงถูกลวงให้คิดไปว่า มันสามารถเห็นสีอะไรก็ได้ 00:03:07.744 --> 00:03:10.813 โดยการผสมผสานอย่างละเอียดลงตัว 00:03:10.813 --> 00:03:12.419 ของสีเพียงแค่สามสี 00:03:12.419 --> 00:03:14.065 แดง เขียว น้ำเงิน 00:03:14.065 --> 00:03:17.789 คุณสมบัติการมองเห็นของมนุษย์นี้ เป็นประโยชน์ในชีวิตจริง 00:03:17.789 --> 00:03:20.079 เช่น การผลิตทีวี 00:03:20.079 --> 00:03:23.156 แทนที่จะใช้สีจำนวนนับไม่ถ้วนในการสร้างทีวี 00:03:23.156 --> 00:03:24.600 เพื่อให้ได้ภาพที่สมจริง 00:03:24.600 --> 00:03:27.154 ผู้ผลิตทีวีกลับใช้สีเพียงแค่ 3 สี 00:03:27.154 --> 00:03:29.291 แดง เขียว น้ำเงิน 00:03:29.291 --> 00:03:31.614 ถือว่าพวกเขาโชคดีจริงๆ