WEBVTT 00:00:00.099 --> 00:00:05.060 ผมชื่อ เจ็น เบอร์เจนสเต็น รู้จักกันในชื่อเล่นๆว่าเจบบ์ ผมเป็นหัวหน้านักพัฒนาให้กับ Minecraft 00:00:05.060 --> 00:00:13.390 ตอนมาอยู่ที่ mojang.com ผมอายุประมาณ 11 หรือ 12 และผมเริ่มเขียนโปรแกรมเพราะว่า 00:00:13.390 --> 00:00:17.750 ผมต้องการสร้างเกม เพื่อนของคุณพ่อคนหนึ่งบอกผมว่า จะสร้างเกมได้นั้น 00:00:17.750 --> 00:00:26.090 คุณต้องเรียนรู้วิธีการเขียนโปรแกรม นี่คือการเริ่มต้นของผม ผมชอบการออกแบบและหาวิธี 00:00:26.090 --> 00:00:33.329 สร้างสรรค์สิ่งของต่างๆขึ้นมา นี่เป็นสาเหตุที่ทำให้ผมชอบ Minecraft จริงๆ 00:00:33.329 --> 00:00:39.219 ในชั่วโมงถัดจากนี้ คุณจะได้เรียนรู้พื้นฐานของความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์โดยการใช้โปรแกรม Alex หรือ Steve 00:00:39.219 --> 00:00:45.940 เพื่อให้วัตถุที่จำลองขึ้นมาเคลื่อนไหวในโลกของ Minecraft วิธีการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิมนั้นเป็นการเขียนโค้ดด้วยตัวอักษร 00:00:45.940 --> 00:00:51.019 แต่สมัยนี้เราใช้บล็อกแทน ซึ่งเป็นระบบที่ใช้บล็อกต่างๆ ที่คุณสามารถลากและวางแทน 00:00:51.019 --> 00:00:57.620 การเขียนโปรแกรม ที่จริงแล้ว คุณกำลังสร้างโค้ดด้วย จาวา-สคริปต์ ซึ่งเป็นหลักการที่คุณ 00:00:57.620 --> 00:01:02.530 กำลังเรียนรู้สิ่งที่นักโปรแกรมเมอร์ใช้อยู่ และเป็นพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ในทุกวันนี้ 00:01:02.530 --> 00:01:09.890 เช่นเดียวกับที่ Mojang นี่ เราก็ใช้หลักการเดียวกัน ในการสร้างให้ Minecraft ทำตามที่เราต้องการ 00:01:09.890 --> 00:01:15.299 ก่อนที่เราจะเริ่มกัน ให้คุณเลือกผู้แสดงมาหนึ่งสักคนหนึ่ง ผมจะเลือก Alex โดยเราจะมาเขียนโค้ดเป็นโปรแกรม 00:01:15.299 --> 00:01:22.810 ที่จะทำให้ Alex เคลื่อนไหวไปรอบๆ จอ โดยจอภาพของคุณนั้นจะถูกแบ่งออกเป็นสามส่วนหลักๆ 00:01:22.810 --> 00:01:28.579 ด้านซ้ายเป็นบริเวณที่ใช้เล่น Minecraft เป็นที่ที่โปรแกรมของคุณจะใช้ทำงาน คำสั่งสำหรับ 00:01:28.579 --> 00:01:34.740 แต่ละลำดับนั้นจะถูกเขียนด้านล่าง บริเวณตอนกลางเป็นทูลบอกซ์หรือกล่องเครื่องมือ และบล็อกเหล่านี้แต่ละอัน 00:01:34.740 --> 00:01:40.899 เป็นคำสั่งที่กำกับการทำงานของ Alex ส่วนบริเวณสีขาวทางขวานั้นเราเรียกว่า 00:01:40.899 --> 00:01:46.920 พื้นที่ทำงานและเป็นที่ซึ่งเราใช้สร้างโปรแกรม โดยถ้าหากเราลากบล็อก moveForward(); ไปที่ 00:01:46.920 --> 00:01:53.340 พื้นที่ทำงานของเราแล้วคลิก Run จะเกิดอะไรขึ้น Alex ก็จะเคลื่อนไปข้างหน้าหนึ่งช่องตาราง 00:01:53.340 --> 00:01:59.770 และถ้าหากเราต้องการทำบางอย่างหลังจากที่ Alex เคลื่อนที่ไปหนึ่งช่อง เราจะทำอย่างไร? 00:01:59.770 --> 00:02:05.140 เราสามารถเำพิ่มบล็อกเข้าไปในโปรแกรมของเรา ผมจะเลือกใช้บล็อก turnRight(); โดยทีผมจะลากบล็อกนี้ 00:02:05.140 --> 00:02:11.380 ไปไว้ต่อจากบล็อก moveForward(); ของผม แล้วรอจนเส้นสีส้มปรากฎขึ้นมา ต่อจากนั้นผมก็จะวางมันลง 00:02:11.380 --> 00:02:17.260 โดยที่บล็อกทั้งสองจะประกบเข้าหากัน เมื่อผมกดปุ่ม Run อีกครั้งหนึ่ง Alex จะทำตาม 00:02:17.260 --> 00:02:22.670 คำสั่งต่างๆที่ซ้อนกันจากด้านบนลงมาด้านล่างในพื้นที่ทำงานของเรา และหากว่าคุณต้องการลบบล็อกทิ้ง 00:02:22.670 --> 00:02:28.700 ก็แค่เพียงลากบล็อกนั้นจากกองคำสั่งกลับไปที่กล่องเครี่องมือ หากต้องการเปลี่ยนกลับไปให้เหมือนเดิม 00:02:28.700 --> 00:02:33.790 และกลับไปตอนที่เริ่มต้นใหม่อีกครั้ง คุณสามารถใช้ปุ่ม Start Over ที่อยู่มุมบนขวาของพื้นที่ทำงาน 00:02:33.790 --> 00:02:41.170 อ้อมีอีกอย่างหนึ่ง คุณเห็นสามเหลี่ยมเล็กๆ ที่อยู่บนบล็อกให้เลี้ยวใหม? 00:02:41.170 --> 00:02:46.620 เมื่อใดก็ตามที่คุณเห็นสามเหลี่ยมเหล่านี้ หมายความว่าคุณมีตัวเลือกอื่นๆอีก 00:02:46.620 --> 00:02:48.750 เรามาเริ่มเขียนโค้ดกันเถอะ!