WEBVTT 00:00:06.140 --> 00:00:08.780 สวัสดีครับ พบกับผม โทนี่ และรายการ Every Frame A Painting 00:00:08.980 --> 00:00:11.389 รายการนี้ออกอากาศมาสักพักหนึ่งแล้ว ดังนั้นคงถึงเวลาแล้วที่จะ... 00:00:11.389 --> 00:00:13.340 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : เวลาที่จะสารภาพบาป? ] 00:00:13.440 --> 00:00:15.000 ครับ เวลาสำหรับการสารภาพบาป 00:00:15.000 --> 00:00:17.500 ผมขโมยความคิดมาจากหนังเรื่องนี้เยอะที่สุด ในบรรดาหนังที่ผมขโมยมา 00:00:17.779 --> 00:00:20.779 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : F for Fake ] [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : F for Fake ] [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : F for Fake ] 00:00:21.779 --> 00:00:24.170 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : ท่านสุภาพพบุรุษและสุภาพสตรี กระผมขอแนะนำ] 00:00:24.370 --> 00:00:26.580 [ว่าหนังเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับเกี่ยวกับ กลลวง] 00:00:27.870 --> 00:00:29.000 [การฉ้อฉล] 00:00:29.880 --> 00:00:31.240 [และ คำโกหก] 00:00:32.439 --> 00:00:35.010 เอ่อ ขออภัย ผมกำลังทำผิด เริ่มใหม่นะครับ 00:00:38.410 --> 00:00:41.710 F for Fake คือหนังความเรียงโดย Orson Welles 00:00:41.710 --> 00:00:43.739 ผมยึดถือหนังเรื่องนี้เป็นหนึ่งในคัมภีร์ของผม 00:00:44.200 --> 00:00:46.300 ทุกอย่างที่ผมรู้เกี่ยวกับการตัดต่อ มาจากหนังเรื่องนี้ทั้งหมด 00:00:47.000 --> 00:00:49.300 แต่วันนี้ ผมจะพูดถึงสิ่งหนึ่งที่เป็นเรื่องพื้นฐาน 00:00:50.420 --> 00:00:54.900 (STRUCTURE : โครงสร้าง) [Trey Parker ผู้สร้าง 'South Park' : เราค้นพบกฎง่ายๆ ที่ทุกคนอาจจะรู้กันหมดแล้วอ่ะนะ] 00:00:54.900 --> 00:00:57.000 [แต่มันก็นานทีเดียวละกว่าพวกผมจะรู้เกี่ยวกับมัน] 00:00:57.500 --> 00:00:59.040 เมื่อคุณวางโครงเรื่องของหนังความเรียง 00:00:59.040 --> 00:01:01.000 มีสิ่งหนึ่งที่คุณควรจะหลีกเลี่ยง 00:01:01.500 --> 00:01:03.400 (วัยรุ่น) : ผมว่าเราสั่งครบแล้วครับ (เครื่องตอบรับจากพนักงาน) : แล้ว? 00:01:03.750 --> 00:01:06.200 (วัยรุ่น) : ครบแล้วครับ (เครื่องตอบรับจากพนักงาน) : แล้ว? 00:01:06.700 --> 00:01:10.300 (วัยรุ่น) : ไม่มีอะไรแล้ว ผมสั่งครบแล้ว (เครื่องตอบรับจากพนักงาน) : แล้ว? 00:01:10.500 --> 00:01:11.500 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ(F for Fake) : ถ้าคุณเล่าเรื่อง] 00:01:11.500 --> 00:01:12.500 [โดยใช้คำว่า "แล้ว" ] 00:01:12.500 --> 00:01:13.400 [ "แล้ว" ] 00:01:13.400 --> 00:01:14.300 [และ "แล้ว" ] 00:01:14.300 --> 00:01:15.200 [คุณมีปัญหาใหญ่แล้วละ] 00:01:15.420 --> 00:01:19.000 นี้เป็นข้อผิดพลาดที่ผมทำบ่อยที่สุด 00:01:19.000 --> 00:01:21.400 ตัวอย่างเช่น ลองดูนะครับว่ามันซ้ำซากแค่ไหน 00:01:22.000 --> 00:01:23.500 เลือกที่จะเอาเงิน 00:01:23.500 --> 00:01:25.000 เลือกที่จะไม่สู้กลับ 00:01:25.000 --> 00:01:26.500 เลือกที่จะซ้อนความรู้สึก 00:01:26.500 --> 00:01:28.000 เลือกที่จะไม่เชื่อในคนบางคน 00:01:28.000 --> 00:01:29.500 เลือกที่จะหลบสิ่งกวนใจ 00:01:29.500 --> 00:01:30.300 เลือกที่จะ... 00:01:31.700 --> 00:01:35.450 เหล่านี้เป็นรายการที่คุณจะเรียงลำดับอย่างไรก็ได้ มันก็เลยดูน่าเบื่อ 00:01:35.750 --> 00:01:39.170 [Trey Parker : สิ่งที่ควรจะเกิดระหว่างเหตุการณ์] 00:01:39.170 --> 00:01:42.080 [คือ "จึง" หรือ "แต่"] 00:01:42.080 --> 00:01:46.500 [ที่ผมจะบอกคือประมาณว่า นี้เกิดขึ้น] 00:01:46.800 --> 00:01:49.500 (ตัวละครที่หนึ่ง : นั้นอะไรนะ ) (Cartman : ขนหมอยนะ ฉันซื้อมาจากเจ้า Scott Tenorman) 00:01:49.600 --> 00:01:51.300 [ "จึง"เกิดนี้] 00:01:51.400 --> 00:01:54.000 (เสียงการ์ตูนตัวละครที่หนึ่ง : Cartman แกไม่ต้องซื้อขนหมอยหรอก มันขึ้นเองนะ) 00:01:54.000 --> 00:01:56.300 (Cartman : นี้กำลังบอกว่าไอ้นี้ไม่มีค่าเลยงั้นหรอ) (ตัวละครที่หนึ่ง : ช่าย) 00:01:56.400 --> 00:01:58.000 [ "แต่" นี้เกิดขึ้น ] 00:01:58.200 --> 00:01:59.800 (Scott Tenorman : อะ เอาขนหมอยไป) (Cartman : เยี่ยม!!!) 00:01:59.800 --> 00:02:01.300 [ "จึง" เกิดนี้ ] 00:02:01.330 --> 00:02:02.700 (Cartman : ห่าเอ้ย!!!) 00:02:03.700 --> 00:02:05.900 ตลอดหนังเรื่องนี้ Orson Welles ทำอย่างนี้ 00:02:05.990 --> 00:02:09.110 แต่เขาไม่ได้เชื่อม"ฉาก" เขาเชื่อม"ความคิด" 00:02:09.110 --> 00:02:12.150 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : คุณเป็นนักวาดรูปนี้ ทำไมคุณอยากให้ผู้อื่นทำแต่ของปลอมๆล่ะ? ] 00:02:12.850 --> 00:02:17.500 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : เพราะของปลอมก็ดีพอๆกับของจริงนั่นแหละ แล้วตลาดก็มีความต้องการด้วย ] 00:02:18.100 --> 00:02:21.860 [เสียงจากภาพยนตร์ต้นฉบับ : ก็ถ้าเราไม่มีตลาดศิลปะเเล้วคนทำสิ่งปลอมๆนี้ก็ไม่มีที่อยู่นะสิ ] 00:02:22.100 --> 00:02:23.500 ถึงภาพยนตร์เรื่องนี้จะเป็นหนังความเรียง 00:02:23.700 --> 00:02:26.620 แต่ทุกๆวินาทีของหนังเรื่องนี้ก็ใช้หลักเดียวกันกับการ์ตูน South Park 00:02:27.200 --> 00:02:30.410 กฎที่สองก็คือต้องมีเรื่องราวมากกว่าหนึ่งดำเนินควบคู่กันไป 00:02:30.900 --> 00:02:33.630 [ผมจะขอใช้คำพูดของ HItchcock อีกครั้ง เขาบอกว่า ] 00:02:33.630 --> 00:02:37.320 [ "การทำหนังนะก็คือ ในขณะเดียวกัน กลับไปที่" ] NOTE Paragraph 00:02:37.320 --> 00:02:39.400 [เขาพูดได้ตรงเผง] 00:02:39.400 --> 00:02:41.140 [คุณต้องให้สองเรื่องดำเนินไป] 00:02:41.140 --> 00:02:44.060 [ถ้าอันหนึ่งถึงจุดที่สุดแล้ว คุณก็ไปเล่นอีกอันหนึ่ง] 00:02:44.060 --> 00:02:45.879 (เจ้าหญิง Leia : หวังว่าคุณจะรู้นะว่าคุณทำอะไรอยู่) 00:02:48.879 --> 00:02:52.970 [คุณเอามาใช้ตอนที่คุณต้องการ ถ้ามันไม่น่าสนใจแล้วก็ปล่อยมัน] 00:02:52.970 --> 00:02:55.970 [ "ในขณะเดียวกัน กลับไปที่" ] 00:02:56.500 --> 00:02:58.100 แล้วในหนังเรียงความวิธีนี้มันทำงานอย่างไร? 00:02:58.200 --> 00:03:01.500 ลองคิดว่าคุณมีเรื่องอยู่สองเรื่อง ก็ให้เรื่องหนึ่งเดินเรื่องมา 00:03:01.500 --> 00:03:06.019 พอมันถึงจุดที่สุด ก็เปลี่ยนไปเล่นอีกเรื่องหนึ่ง ให้เดินเรื่องขึ้นมา 00:03:06.019 --> 00:03:09.470 แล้วพอมันไปถึงจุดที่สุดก็กลับไปเรื่องแรก ง่ายมากใช่มั้ยล่ะ 00:03:11.000 --> 00:03:13.190 แต่ F for Fake ไม่ได้มีแค่สองเรื่อง 00:03:13.190 --> 00:03:16.340 ในหนังมีเรื่องเกี่ยวกับ Orson Welles, Howard Hughes 00:03:16.340 --> 00:03:19.160 ผู้หญิงที่ชื่อ Oja แล้วยังมีขั้นตอนการทำหนังเรื่องนี้อีกน่ะ 00:03:19.700 --> 00:03:23.540 และโดยการสร้างเรื่องแต่ละเรื่องอย่างระวังแล้ว Welles ก็สามารถโดดไปโดดมาระหว่างเรื่องหกเรื่องนี้ได้ 00:03:23.540 --> 00:03:25.500 โดยคนดูไม่เบื่อซะก่อน 00:03:25.700 --> 00:03:28.600 เพราะฉะนั้นเวลาผมทำวิดิโอเรียงความ นี้ก็เป็นสิ่งที่อยู่ในหัวผมตลอดเวลา 00:03:29.800 --> 00:03:33.300 (เครื่องตอบรับจากพนักงาน) : แล้ว? (วัยรุ่น) : ไม่มีแล้ว! 00:03:33.370 --> 00:03:35.470 และเรื่องทั้งหมดนี้ผมก็ได้มาจากาารดูหนังเรื่องนี้เรื่องเดียว 00:03:35.470 --> 00:03:38.870 ซึ่งมากกว่าที่ผมเคยเรียนมาซะอีก : มันไม่เกี่ยวกับว่าคุณได้อะไรมา 00:03:38.870 --> 00:03:42.300 มันขึ้นอยู่กับว่าคุณจะตัดยังไงและผลลัพธ์มันเป็นยังไง 00:03:45.170 --> 00:03:49.170 จำไว้ วิดิโอเรียงความไม่ใช่เรียงความ มันคือหนัง 00:03:49.170 --> 00:03:52.870 เพราะฉะนั้นคุณก็ต้องวางโครงสร้างและวางจังหวะให้เหมือนกับคนทำหนัง 00:03:52.870 --> 00:03:53.860 'จึง' และ 'เเต่' 00:03:53.860 --> 00:03:55.910 'ในขณะเดียวกัน กลับไปที่' 00:03:55.930 --> 00:03:58.500 แต่ถ้าเกิดคุณไม่เชื่อผม อย่างน้อยคุณก็น่าจะเชื่อ Orson Welles 00:03:58.800 --> 00:04:01.090 ที่คิดเรื่องนี้ออกมาตั้งแต่สี่สิบปีก่อนได้ไงก็ไม่รู้ 00:04:01.400 --> 00:04:04.190 [ ทำไมจะไม่ล่ะ? ผมมันพวกสิบแปดมงกุฎนี่ ] 00:04:04.190 --> 00:04:06.400 อย่างไรก็ตาม ผมต้องรวบความเรียงชิ้นนี้แล้วล่ะ 00:04:06.900 --> 00:04:08.300 [ตอนนี้ก็ได้เวลาสำหรับการแนะนำตัวแล้ว] 00:04:09.000 --> 00:04:13.600 สวัสดีครับ พบกับผม โทนี่ และนี้ก็เป็นการลงเอยของหนึ่งปีกับรายการ Every Frame A Painting 00:04:14.700 --> 00:04:15.910 ผมอยากขอบคุณทุกท่านที่มารับชม 00:04:15.910 --> 00:04:19.110 และขอให้ทุกท่านมีความสุข 00:04:19.110 --> 00:04:20.870 สวัสดีครับ