WEBVTT 00:00:06.716 --> 00:00:10.397 วัสดุที่เย็นที่สุดในโลก ไม่ได้อยู่ในทวีปแอนตาร์กติกา 00:00:10.397 --> 00:00:12.521 พวกมันไม่ได้อยู่บนยอดเขาเอเวอเรสต์ 00:00:12.521 --> 00:00:14.376 หรือถูกฝังอยู่ในก้อนธารน้ำแข็ง 00:00:14.376 --> 00:00:15.897 พวกมันอยู่ในห้องทดลองทางฟิสิกส์ 00:00:15.897 --> 00:00:20.382 กลุ่มก้อนแก๊สที่มีอุณหภูมิสูงกว่า อุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์เพียงเล็กน้อย 00:00:20.382 --> 00:00:25.367 ซึ่งเย็นกว่าตู้เย็นของคุณถึง 395 ล้านเท่า 00:00:25.367 --> 00:00:28.073 เย็นกว่าไนโตรเจนเหลวถึง 100 ล้านเท่า 00:00:28.073 --> 00:00:31.240 และเย็นกว่าอวกาศส่วนนอก 4 ล้านเท่า 00:00:31.240 --> 00:00:35.901 อุณหภูมิที่ต่ำขนาดนั้นทำให้นักวิทยาศาสตร์ เห็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในสสาร 00:00:35.901 --> 00:00:39.437 และทำให้วิศวกร สามารถสร้างเครื่องมือมีความไวสัมผัสสูง 00:00:39.437 --> 00:00:41.292 ที่จะบอกเราเกี่ยวกับทุก ๆ สิ่ง 00:00:41.292 --> 00:00:43.130 ตั้งแต่การบอกตำแแหน่ง ของเราบนโลกใบนี้อย่างแม่นยำ 00:00:43.130 --> 00:00:46.135 ไปจนถึงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในเอกภพที่ห่างไกล NOTE Paragraph 00:00:46.135 --> 00:00:48.928 เราสร้างอุณหภูมิเย็นจัดเช่นนั้นได้อย่างไร 00:00:48.928 --> 00:00:51.989 โดยสรุปคือ โดยการชะลออนุภาคที่กำลังเคลื่อนที่ 00:00:51.989 --> 00:00:55.951 เมื่อเราพูดถึงอุณหภูมิ สิ่งที่เราหมายถึงจริง ๆ ก็คือ การเคลื่อนที่ 00:00:55.951 --> 00:00:57.716 อะตอมที่ประกอบขึ้นเป็นของแข็ง 00:00:57.716 --> 00:00:58.458 ของเหลว 00:00:58.458 --> 00:00:59.338 และแก๊สนั้น 00:00:59.338 --> 00:01:00.869 เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา 00:01:00.869 --> 00:01:05.616 เมื่ออะตอมเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว เรารับรู้ได้ว่าสสารนั้นร้อน 00:01:05.616 --> 00:01:09.147 เมื่อพวกมันเคลื่อนที่ช้าลง เรารับรู้ได้ว่ามันเย็น NOTE Paragraph 00:01:09.147 --> 00:01:12.563 ในชีวิตประจำวัน เพื่อที่จะทำให้วัตถุร้อน หรือทำให้แก๊สเย็น 00:01:12.563 --> 00:01:15.960 เราจะนำมันไปไว้ในสภาพแวดล้อมที่เย็นกว่า อย่างเช่นในตู้เย็น 00:01:15.960 --> 00:01:20.498 บางการเคลื่อนที่ของอะตอมในวัตถุที่ร้อน ถูกถ่ายโอนออกไปยังสภาพแวดล้อม 00:01:20.498 --> 00:01:22.251 และทำให้มันเย็นลง 00:01:22.251 --> 00:01:23.788 แต่มันมีข้อจำกัดอยู่ 00:01:23.788 --> 00:01:27.865 แม้แต่อวกาศก็ยังอุ่นเกินไป ต่อการสร้างอุณหภูมิที่เย็นจัด 00:01:27.865 --> 00:01:32.823 ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงได้หาทาง ในการชะลออะตอมโดยตรงแทน 00:01:32.823 --> 00:01:34.204 ด้วยลำแสงเลเซอร์ NOTE Paragraph 00:01:34.204 --> 00:01:35.751 ภายใต้สภาวะส่วนใหญ่ 00:01:35.751 --> 00:01:38.464 พลังงานในลำแสงเลเซอร์ทำให้วัตถุร้อนขึ้น 00:01:38.464 --> 00:01:40.533 แต่ถ้าถูกใช้ในวิธีการที่เฉพาะเจาะจง 00:01:40.533 --> 00:01:44.813 โมเมนตัมของลำแสงสามารถหยุดการเคลื่อนที่ ของอะตอม และทำให้มันเย็นลงได้ 00:01:44.813 --> 00:01:49.403 นั่นคือสิ่งที่เกิดในอุปกรณ์ที่เรียกว่า กับดักทางทัศนศาสตร์แม่เหล็ก 00:01:49.403 --> 00:01:51.954 อะตอมถูกฉีดเข้าสู่ช่องห้องสุญญากาศ 00:01:51.954 --> 00:01:55.415 และสนามแม่จะดึงพวกมันเข้าสู่ศูนย์กลาง 00:01:55.415 --> 00:01:58.090 ลำแสงเลเซอร์ที่เล็งไปที่ใจกลางห้อง 00:01:58.090 --> 00:02:00.623 ถูกปรับให้มีความถี่ที่เหมาะสม 00:02:00.623 --> 00:02:06.170 ทำให้อะตอมที่เคลื่อนเข้าหามันดูดกลืนโฟตอน ของลำแสงเลเซอร์และเคลื่อนที่ช้าลง 00:02:06.170 --> 00:02:09.089 ปรากฏการณ์เคลื่อนที่ช้าลงนี้ เกิดจากการถ่ายโอนโมเมนตัม 00:02:09.089 --> 00:02:11.108 ระหว่างอะตอมกับโฟตอน 00:02:11.108 --> 00:02:14.208 ลำแสงทั้งหมดหกทิศ ที่ถูกจัดเรียงแบบตั้งฉากกัน 00:02:14.208 --> 00:02:18.375 เพื่อให้อะตอมที่ไม่ว่าจะเคลื่อนที่ในทิศทางใด เคลื่อนที่ตัดผ่านมัน 00:02:18.375 --> 00:02:21.018 ที่ศูนย์กลาง บริเวณที่ลำแสงตัดกันนั้น 00:02:21.018 --> 00:02:24.840 อะตอมเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ ราวกับว่ามันติดอยู่ในของเหลวข้นเหนียว 00:02:24.840 --> 00:02:29.924 เป็นปรากฏการณ์ที่นักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้น อธิบายว่าเป็น "น้ำเชื่อมข้นเชิงแสง" 00:02:29.924 --> 00:02:32.315 กับดักทางทัศนศาสตร์แม่เหล็กเช่นนี้ 00:02:32.315 --> 00:02:35.405 สามารถทำให้อะตอมเย็นลงได้ จนถึงระดับไม่กี่ไมโครเคลวิน 00:02:35.405 --> 00:02:38.785 ประมาณ -273 องศาเซลเซียส NOTE Paragraph 00:02:38.785 --> 00:02:41.609 เทคนิคนี้ถูกพัฒนาขึ้นในราว ๆ ปี ค.ศ. 1980 00:02:41.609 --> 00:02:43.913 และนักวิทยาศาสตร์ที่พัฒนามันขึ้นมา 00:02:43.913 --> 00:02:47.931 ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1997 สำหรับการค้นพบนี้ 00:02:47.931 --> 00:02:52.751 ตั้งแต่นั้น เลเซอร์ที่ทำให้เย็นนี้ ได้รับการพัฒนาเพื่อทำให้เย็นได้มากขึ้นอีก NOTE Paragraph 00:02:52.751 --> 00:02:55.990 แต่ทำไมเราถึงอยากทำให้ อะตอมมันเย็นมากขนาดนั้น 00:02:55.990 --> 00:02:59.786 ประการแรก อะตอมที่เย็น สามารถทำเป็นตัวตรวจจับได้ดี 00:02:59.786 --> 00:03:01.530 ด้วยพลังงานที่น้อย 00:03:01.530 --> 00:03:04.961 พวกมันไวต่อความผันผวน ในสภาพแวดล้อมได้อย่างน่าเหลือเชื่อ 00:03:04.961 --> 00:03:09.562 ดังนั้น มันจึงถูกใช้ในอุปกรณ์สำหรับสำรวจ แหล่งน้ำมันหรือแหล่งสะสมแร่ธาตุใต้ดิน 00:03:09.562 --> 00:03:12.203 พวกมันยังสามารถถูกใช้ เป็นนาฬิกาอะตอมที่แม่นยำสูงได้ด้วย 00:03:12.203 --> 00:03:15.093 เช่น นาฬิกาอะตอมของ ดาวเทียมการหาตำแหน่งต่าง ๆ บนโลก NOTE Paragraph 00:03:15.093 --> 00:03:18.152 ประการที่สอง อะตอมที่เย็นมีศักยภาพสูงมาก 00:03:18.152 --> 00:03:20.243 ในการบุกเบิกความรู้ใหม่ทางฟิสิกส์ 00:03:20.243 --> 00:03:22.662 ความไวสัมผัสของมันทำให้มันเป็นตัวเลือก 00:03:22.662 --> 00:03:27.300 ที่จะถูกใช้ในการตรวจจับคลื่นความโน้มถ่วง ในเครื่องตรวจจับบนอวกาศในอนาคต 00:03:27.300 --> 00:03:31.624 พวกมันมียังประโยชน์ต่อการศึกษา ปรากฏการณ์ระดับอะตอมและที่เล็กกว่านั้น 00:03:31.624 --> 00:03:35.894 ซึ่งต้องการการวัดความผันผวน ของพลังงานของอะตอมที่มีค่าน้อยมาก 00:03:35.894 --> 00:03:38.046 ทั้งหมดนี้ไม่สามารถกระทำได้ที่อุณหภูมิปกติ 00:03:38.046 --> 00:03:41.090 เมื่อความเร็วของอะตอมมีค่าประมาณ หลายร้อยเมตรต่อวินาที 00:03:41.090 --> 00:03:45.265 การทำให้เย็นด้วยเลเซอร์สามารถทำให้อะตอมช้าลง เหลือเพียงไม่กี่เซนติเมตรต่อวินาที 00:03:45.265 --> 00:03:49.122 ซึ่งเพียงพอต่อการสังเกตการเคลื่อนที่ ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางควอนตัมระดับอะตอม 00:03:49.122 --> 00:03:53.599 อะตอมที่เย็นจัดทำให้นักวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ 00:03:53.599 --> 00:03:56.150 เช่น การควบแน่นแบบโบส-ไอสไตน์ 00:03:56.150 --> 00:03:59.631 ซึ่งอะตอมถูกทำให้เย็นเกือบถึงศูนย์สัมบูรณ์ 00:03:59.631 --> 00:04:02.200 และกลายมาเป็นสสารในสถานะใหม่ที่พบได้ยาก NOTE Paragraph 00:04:02.200 --> 00:04:05.791 ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์ยังคงทำการค้นหา เพื่อเข้าใจกฏของฟิสิกส์ 00:04:05.791 --> 00:04:07.925 และเปิดเผยความลึกลับของเอกภพ 00:04:07.925 --> 00:04:12.161 พวกเขาก็จะได้รับความข่วยเหลือ จากอะตอมที่เย็นที่สุดในนั้นด้วย