1 00:00:15,584 --> 00:00:17,074 ภาพ เดอะวิทรูเวียนแมน (the Vitruvian Man) 2 00:00:17,074 --> 00:00:18,326 ที่นำมาจากภาพร่างของ เลโอนาโด (Leonardo) 3 00:00:18,326 --> 00:00:20,037 ได้กลายมาเป็นภาพที่ถูกจดจำได้มากที่สุด 4 00:00:20,037 --> 00:00:21,649 ในฐานะสัญลักษณ์ของยุคฟื้นฟูศิลปะ (Renaissance) 5 00:00:21,649 --> 00:00:22,743 แต่ทำไมล่ะ ? 6 00:00:22,743 --> 00:00:24,680 มันเป็นแค่ภาพวาดจากปากกาและหมึกใช่ไหม ? 7 00:00:24,680 --> 00:00:26,003 ผิด ! 8 00:00:26,003 --> 00:00:27,397 ลองเริ่มตอบคำถามนี้ 9 00:00:27,397 --> 00:00:28,634 จากปัญหาทางคณิตศาสตร์ 10 00:00:28,634 --> 00:00:30,720 ผมรู้ว่าจะคำนวณพื้นที่ของวงกลมได้อย่างไร 11 00:00:30,720 --> 00:00:32,098 ผมนำค่าไพน์ 12 00:00:32,098 --> 00:00:34,347 และคูณมันด้วยรัศมียกกำลังสอง 13 00:00:34,347 --> 00:00:36,565 ผมยังรู้อีกว่า หาพื้นที่สี่เหลี่ยมได้อย่างไร 14 00:00:36,565 --> 00:00:39,364 ผมคูณความยาวฐานด้วยตัวของมันเอง 15 00:00:39,364 --> 00:00:41,408 แต่ผมจะหาพื้นที่วงกลม 16 00:00:41,408 --> 00:00:43,799 และสร้างสี่เหลี่ยมที่มีพื้นที่เท่ากันได้อย่างไร ? 17 00:00:43,799 --> 00:00:45,739 นี่เป็นปริศนาที่ถูกขนานนามบ่อยๆว่า "สร้างสี่เหลี่ยมจากวงกลม" (squaring a circle) 18 00:00:45,739 --> 00:00:48,047 มันถูกเสนอขึ้นมาครั้งแรกในยุคโบราณ 19 00:00:48,047 --> 00:00:49,658 และเหมือนกับความคิดอื่นๆจากยุคโบราณ 20 00:00:49,658 --> 00:00:51,894 มันถูกชุบชีวิตขึ้นใหม่ในยุคฟื้นฟูศิลปะและวิทยาการ 21 00:00:51,894 --> 00:00:53,078 ดั่งที่มันได้ปรากฎ 22 00:00:53,078 --> 00:00:54,466 ปริศนานี้ไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ 23 00:00:54,466 --> 00:00:56,090 เพราะว่าธรรมชาติของค่าไพน์ 24 00:00:56,090 --> 00:00:57,912 แต่นั่นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง 25 00:00:57,912 --> 00:00:58,626 ภาพร่างของ เลโอนาโด 26 00:00:58,626 --> 00:00:59,880 ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากงานเขียน 27 00:00:59,880 --> 00:01:01,905 ของสถาปนิกชาวโรมัน นาม วิทรูเวียน 28 00:01:01,905 --> 00:01:03,510 ได้ว่างภาพมนุษย์ไว้ตรงกลาง 29 00:01:03,510 --> 00:01:05,507 ของวงกลมและสี่เหลี่ยม 30 00:01:05,507 --> 00:01:06,842 วิทรูเวียนอ้างว่า สะดือ 31 00:01:06,842 --> 00:01:08,103 เป็นจุดศูนย์กลางของร่างกายมนุษย์ 32 00:01:08,103 --> 00:01:09,629 และถ้านำเอาวงเวียน 33 00:01:09,629 --> 00:01:11,375 มาปักที่จุดคงที่ ณ ตำแหน่งสะดือ 34 00:01:11,375 --> 00:01:14,015 ก็จะสามารถวาดวงกลมได้อย่างสมบูรณ์รอบตัวมนุษย์ 35 00:01:14,015 --> 00:01:16,004 ยิ่งไปกว่านั้น วิทรูเวียนยังแสดงให้เห็นว่า 36 00:01:16,004 --> 00:01:17,106 ช่วงแขนและและความสูง 37 00:01:17,106 --> 00:01:19,692 แทบจะมีความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์กับลำตัว 38 00:01:19,692 --> 00:01:22,857 ฉะนั้น ลำตัวของมนุษย์ก็ถูกจัดวางอยู่ในสี่เหลี่ยม อย่างลงตัวสมบูรณ์เช่นกัน 39 00:01:22,857 --> 00:01:24,231 เลโอนาโดใช้แนวคิดของวิทรูเวียน 40 00:01:24,231 --> 00:01:27,027 เพื่อที่จะแก้ปริศนา "สร้างสี่เหลี่ยมจากวงกลม" ในเชิงอุปมา 41 00:01:27,027 --> 00:01:29,735 โดยการใช้ตัวมนุษย์เป็นดั่งพื้นที่ของทั้งสองรูปร่าง 42 00:01:29,735 --> 00:01:32,611 เลโอนาโดไม่ได้คิดถึงเพียงแค่วิทรูเวียนหรอก อันที่จริง 43 00:01:32,611 --> 00:01:33,815 มันเกิดแนวปรัชญาความคิดขึ้น 44 00:01:33,815 --> 00:01:34,913 ที่อิตาลี ในขณะนั้น 45 00:01:34,913 --> 00:01:36,321 เรียกว่า นีโอพลาโตอิซึม (Neoplatonism) 46 00:01:36,321 --> 00:01:37,741 แนวความคิดดังกล่าวนำเอาแนวคิดเดิม 47 00:01:37,741 --> 00:01:40,445 จากยุคศตวรรษที่ 4 ที่พัฒนาขึ้นมาโดยพลาโตและอริสโตเติล 48 00:01:40,445 --> 00:01:42,278 เรียกว่า "สายโซ่แห่งชีวิต" (The Great Chain of Being) 49 00:01:42,278 --> 00:01:44,447 ความเชื่อนี้กล่าวว่าเอกภพนั้นมีลำดับขั้น 50 00:01:44,447 --> 00:01:45,614 เหมือนกับสายโช่ 51 00:01:45,614 --> 00:01:47,779 และสายโช่นั้นเริ่มจากส่วนบนสุดคือพระเจ้า 52 00:01:47,779 --> 00:01:49,736 จากนั้นลดหลั่นลงมาผ่านเทพเทวดา 53 00:01:49,736 --> 00:01:50,313 ดาวเคราะห์ 54 00:01:50,313 --> 00:01:50,902 ดวงดาว 55 00:01:50,902 --> 00:01:51,982 และสิ่งมีชีวิตทุกรูปกาย 56 00:01:51,982 --> 00:01:54,066 ก่อนที่จะจบลงที่อสูรและปิศาจ 57 00:01:54,066 --> 00:01:55,813 ในช่วงแรกของแนวคิดทางปรัชญานี้ 58 00:01:55,813 --> 00:01:58,015 เป็นที่คิดกันว่า ตำแหน่งของมนุษย์ในสายโซ่นี้ 59 00:01:58,015 --> 00:01:59,527 อยู่ตรงกลางอย่างพอดิบพอดี 60 00:01:59,527 --> 00:02:01,226 เพราะว่ามนุษย์มีร่างกายที่ไม่จีรัง 61 00:02:01,226 --> 00:02:03,158 อยู่ร่วมกันกับจิตวิญญาณที่เป็นอมตะ 62 00:02:03,158 --> 00:02:05,308 พวกเราแบ่งครึ่งเอกภพได้อย่างสวยงาม 63 00:02:05,308 --> 00:02:07,067 อย่างไรก็ดี ในช่วงราวๆที่เลโอนาโด 64 00:02:07,067 --> 00:02:08,686 ได้ร่างภาพวิทรูเวียนแมน 65 00:02:08,686 --> 00:02:10,871 นักปรัชญายุคนีโอพลาโต นามว่า พิโก เดลล่า มิแรนโดล่า (Pico della Mirandola) 66 00:02:10,871 --> 00:02:12,236 มีแนวคิดที่ต่างไป 67 00:02:12,236 --> 00:02:13,814 เขางัดมนุษย์ออกมาจากสายโซ่นั่น 68 00:02:13,814 --> 00:02:15,779 และอ้างว่า มนุษย์มีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ 69 00:02:15,779 --> 00:02:17,645 ที่สามารถจะอยู่ในท่าทางใดก็ได้ที่ต้องการ 70 00:02:17,645 --> 00:02:19,228 พิโกอ้างว่า พระเจ้ามีพระประสงค์ 71 00:02:19,228 --> 00:02:20,700 สร้างสิ่งมีชีวิตที่สามารถที่จะเข้าใจ 72 00:02:20,700 --> 00:02:23,569 เอกภพที่สวยงามและซับซ้อน ที่ถูกสร้างโดยน้ำมือพระเจ้า 73 00:02:23,569 --> 00:02:25,488 สิ่งนี้นั่นเองที่นำไปสู่การสร้างมนุษย์ 74 00:02:25,488 --> 00:02:27,236 ซึ่งพระเจ้าได้วางลง ณ ศูนย์กลางของเอกภพ 75 00:02:27,236 --> 00:02:30,042 ด้วยความสามารถที่จะอยู่ในรูปใดก็ได้ที่ต้องการ 76 00:02:30,042 --> 00:02:32,141 มนุษย์ ตามแนวคิดของพิโก 77 00:02:32,141 --> 00:02:34,702 สามารถที่จะไต่ลงไปตามสายโช่ และมีพฤติกรรมเยี่ยงเดรัจฉาน 78 00:02:34,702 --> 00:02:36,923 หรือจะคลานขึ้นไปตามสายโช่ และมีพฤติกรรมเสมอเหมือนพระเจ้า 79 00:02:36,923 --> 00:02:38,228 มันเป็นทางเลือกของเรา 80 00:02:38,228 --> 00:02:39,481 มองกลับไปยังภาพร่างนั้น 81 00:02:39,481 --> 00:02:41,591 เราสามารถเห็นได้ว่า เมื่อเปลี่ยนแปลงท่าทางของมนุษย์ 82 00:02:41,591 --> 00:02:43,147 มนุษย์นั้นก็จะสามารถอยู่ในพื้นที่ของวงกลมและสี่เหลี่ยม 83 00:02:43,147 --> 00:02:45,010 ที่ไม่ลงรอยกัน 84 00:02:45,010 --> 00:02:47,313 ถ้าเรขาคณิตเป็นภาษาที่ใช้สร้างสรรค์เอกภพแล้วไซร้ 85 00:02:47,313 --> 00:02:48,680 ภาพร่างนี้เหมือนจะบอกเป็นนัย 86 00:02:48,680 --> 00:02:50,517 ว่าเราปรากฎอยู่ในทุกธาตุพื้นฐานของมัน 87 00:02:50,517 --> 00:02:52,058 มนุษย์สามารถที่จะอยู่ในรูปร่างใดก็ได้ที่เขาต้องการ 88 00:02:52,058 --> 00:02:53,353 ในเชิงเรขาคณิต 89 00:02:53,353 --> 00:02:55,272 และในเชิงปรัชญาเช่นกัน 90 00:02:55,272 --> 00:02:56,352 ในภาพร่างนี้ 91 00:02:56,352 --> 00:02:57,642 เลโอนาโดสามารถที่จะรวบรวม 92 00:02:57,642 --> 00:02:58,448 คณิตศาสตร์ 93 00:02:58,448 --> 00:02:59,130 ศาสนา 94 00:02:59,130 --> 00:02:59,944 ปรัชญา 95 00:02:59,944 --> 00:03:00,804 สถาปัตยกรรม 96 00:03:00,804 --> 00:03:02,527 และความสามารถทางศิลปะในช่วงสมัยของเขา 97 00:03:02,527 --> 00:03:03,729 มันได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์ 98 00:03:03,729 --> 00:03:05,741 ตลอดช่วงยุคนั้นอย่างไร้ข้อกังขา