1 00:00:15,801 --> 00:00:17,410 ทุกวินาที 2 00:00:17,410 --> 00:00:20,524 สสารหนึ่งล้านตันได้พวยพุ่งออกจากดวงอาทิตย์ 3 00:00:20,524 --> 00:00:24,172 ด้วยความเร็วหนึ่งล้านไมล์ต่อชั่วโมง 4 00:00:24,172 --> 00:00:26,119 และมันก็อยู่ในแนวพุ่งชน 5 00:00:26,119 --> 00:00:27,992 สู่โลก! 6 00:00:27,992 --> 00:00:29,540 แต่ไม่ต้องวิตกไป 7 00:00:29,540 --> 00:00:32,961 นี่ไม่ใช่เป็นฉากเปิดตัวหนังเรื่องใหม่ ของไมเคิล เบย์ (Michael Bay) 8 00:00:32,961 --> 00:00:37,249 นี่เป็นการเดินทางของแสงขั้วโลก 9 00:00:37,249 --> 00:00:38,760 แสงเหนือและแสงใต้ 10 00:00:38,760 --> 00:00:40,400 หรือที่รู้จักกันว่า ออโรรา โบเรียลิส (Aurrora Borealis) 11 00:00:40,400 --> 00:00:42,488 และออโรรา ออสเตรลิส (Aurrora Australis) ตามลำดับ 12 00:00:42,488 --> 00:00:44,479 เกิดเมื่ออนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์ 13 00:00:44,479 --> 00:00:46,857 เข้าชนกับอะตอมที่มีประจุเป็นกลาง ในชั้นบรรยากาศของเรา 14 00:00:46,857 --> 00:00:48,417 พลังงานที่ถูกปลดปล่อยจากการชนนี้ 15 00:00:48,417 --> 00:00:50,075 ทำให้เกิดแสงที่ปรากฏออกมา 16 00:00:50,075 --> 00:00:52,869 ที่มนุษย์เราตื่นตาไปกับมันมาหลายศตวรรษ 17 00:00:52,869 --> 00:00:54,665 แต่การเดินทางของอนุภาคนั้น 18 00:00:54,665 --> 00:00:56,846 ไม่ใช่เพียงแค่ออกจากดวงอาทิตย์ และเข้ามายังโลก 19 00:00:56,846 --> 00:00:58,320 เหมือนกับการเดินทางข้ามภูมิประเทศ 20 00:00:58,320 --> 00:00:59,326 มันมีการอ้อมไปไกล 21 00:00:59,326 --> 00:01:02,122 และไม่มีใครให้ถามทางเสียด้วย 22 00:01:02,122 --> 00:01:03,463 ลองมาตามการเดินทางข้ามกาแล็คซี่ 23 00:01:03,463 --> 00:01:06,244 โดยสนใจที่สามจุดของการเดินทาง: 24 00:01:06,244 --> 00:01:07,317 ออกจากดวงอาทิตย์ 25 00:01:07,317 --> 00:01:09,530 หยุดจอดที่สนามแม่เหล็กโลก 26 00:01:09,530 --> 00:01:12,092 และถึงชั้นบรรยากาศเหนือศีรษะของเรา 27 00:01:13,353 --> 00:01:15,635 โปรตรอนและอิเล็กตรอนทำให้เกิดแสงเหนือ 28 00:01:15,635 --> 00:01:17,428 ที่พวยพุ่งออกจากโคโรนา (corona) ของดวงอาทิตย์ 29 00:01:17,428 --> 00:01:18,980 โคโรนา คือชั้นนอกที่สุด 30 00:01:18,980 --> 00:01:19,948 ของชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ 31 00:01:19,948 --> 00:01:21,964 และเป็นหนึ่งในบริเวณที่ร้อนที่สุด 32 00:01:21,964 --> 00:01:24,251 ความร้อนแบบถึงขีดสุดนี้ ทำให้ไฮโดรเจนของดวงอาทิตย์ 33 00:01:24,251 --> 00:01:25,886 และอะตอมของฮีเลียมสั่นไหว 34 00:01:25,886 --> 00:01:27,954 และสลัดโปรตรอนและอิเล็กตรอนออก 35 00:01:27,954 --> 00:01:31,087 ราวกับพวกมันถอดเสื้อออกในวันที่แดดจัด 36 00:01:31,087 --> 00:01:33,531 ด้วยความใจร้อนและได้คุมบังเหียนในที่สุด 37 00:01:33,531 --> 00:01:36,154 โปรตรอนและอิเล็กตรอนอิสระเหล่านี้ เคลื่อนที่เร็วเกินกว่า 38 00:01:36,154 --> 00:01:38,085 จะถูกดึงไว้ได้ด้วยแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์ 39 00:01:38,085 --> 00:01:40,230 และรวมกลุ่มอยู่ด้วยกันเป็นพลาสม่า 40 00:01:40,230 --> 00:01:42,416 ซึ่งคือ กลุ่มก๊าซที่มีประจุไฟฟ้า 41 00:01:42,416 --> 00:01:43,446 พวกมันเดินทางห่างออกจากดวงอาทิตย์ 42 00:01:43,446 --> 00:01:44,970 ในรูปพลาสมาที่พัดกรรโชกอย่างต่อเนื่อง 43 00:01:44,970 --> 00:01:47,112 ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อ พายุสุริยะ (solar wind) 44 00:01:55,787 --> 00:01:58,058 อย่างไรก็ดี โลกป้องกันพายุสุริยะ 45 00:01:58,058 --> 00:01:59,388 จากการเดินทางพุ่งตรงของมันมายังโลก 46 00:01:59,388 --> 00:02:00,799 โดยกำหนดทางอ้อมให้มัน 47 00:02:00,799 --> 00:02:02,050 ซึ่งเรียกว่า แม็กนีโตสเฟียร์ (magnetosphere) 48 00:02:02,050 --> 00:02:03,269 แม็กนีโตสเฟียร์ นั้นก่อตัว 49 00:02:03,269 --> 00:02:04,475 จากกระแสแม่เหล็กของโลก 50 00:02:04,475 --> 00:02:06,269 และเป็นเกราะกำบังดาวเคราะห์ของเราจากพายุสุริยะ 51 00:02:06,269 --> 00:02:08,395 โดยส่งอนุภาคไปรอบๆ โลก 52 00:02:08,395 --> 00:02:10,334 โอกาสของพวกมันที่จะเดินทางอย่างต่อเนื่อง 53 00:02:10,334 --> 00:02:11,277 ลงไปยังชั้นบรรยากาศ 54 00:02:11,277 --> 00:02:12,862 เกิดขึ้นเมื่อแม็กนีโตสเฟียร์นั้น 55 00:02:12,862 --> 00:02:14,829 ต้านทานคลื่นลูกใหม่ของผู้เดินทางไว้ไม่อยู่ 56 00:02:14,829 --> 00:02:17,111 เหตุการณ์นี้เรียกว่า coronal mass ejection (CME) 57 00:02:17,111 --> 00:02:18,701 และมันเกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยิง 58 00:02:18,701 --> 00:02:21,154 ลูกไฟพลาสม่าขนาดยักษ์เข้าไปในพายุสุริยะ 59 00:02:22,338 --> 00:02:23,932 เมื่อ coronal mass ejection นี้ 60 00:02:23,932 --> 00:02:25,109 เข้าชนกับโลก 61 00:02:25,109 --> 00:02:26,431 มันได้เอาชนะแม็กนีโตสเฟียร์ 62 00:02:26,431 --> 00:02:28,497 และทำให้เกิดการพายุสนามแม่เหล็ก 63 00:02:28,497 --> 00:02:30,545 พายุนี้เข้ากดดันแม็กนีโตสเฟียร์ 64 00:02:30,545 --> 00:02:31,966 จนกระทั่งมันขาดออก 65 00:02:31,966 --> 00:02:34,416 เหมือนกับยางยืดที่ถูกดึงมากเกินไป 66 00:02:34,416 --> 00:02:37,813 เหวี่ยงอนุภาคบางส่วนนั้นเข้ามายังโลก 67 00:02:37,813 --> 00:02:39,729 แนวสนามแม่เหล็กที่รวมตัวกันใหม่ 68 00:02:39,729 --> 00:02:41,584 ดึงพวกมันลงมาที่วงแหวนออโรรา 69 00:02:41,584 --> 00:02:42,483 ซึ่งเป็นบริเวณ 70 00:02:42,483 --> 00:02:44,725 ของแสงเหนือและแสงใต้ 71 00:02:45,709 --> 00:02:48,640 หลังจากเดินทางข้ามกาแล็คซีมา 93 ล้านไมล์ 72 00:02:48,640 --> 00:02:50,130 ในที่สุด อนุภาคจากดวงอาทิตย์ 73 00:02:50,130 --> 00:02:52,969 ก็ได้สร้างแสงอันพิศวงออกอวดโฉม ด้วยความช่วงเหลือจากเพื่อนๆ 74 00:02:52,969 --> 00:02:55,195 เหนือจากพื้นผิวไป 20 ถึง 200 ไมล์ 75 00:02:55,195 --> 00:02:56,849 อิเล็กตรอนและโปรตรอนพบกันกับ 76 00:02:56,849 --> 00:02:58,870 อะตอมของออกซิเจนและไนโตรเจน 77 00:02:58,870 --> 00:03:01,284 และพวกมันก็ดีใจเสียจริงๆที่ได้พบกัน 78 00:03:01,284 --> 00:03:03,586 อนุภาคจากดวงอาทิตย์เข้าแตะมือกับอะตอมพวกนี้ 79 00:03:03,586 --> 00:03:04,281 ส่งพลังงาน 80 00:03:04,281 --> 00:03:07,087 ให้กับอะตอมของออกซิเจนและไนโตรเจนของโลก ที่มีประจุเป็นกลาง 81 00:03:07,087 --> 00:03:08,586 เมื่ออะตอมในชั้นบรรยากาศ 82 00:03:08,586 --> 00:03:09,823 ได้พบกับอนุภาค 83 00:03:09,823 --> 00:03:12,239 พวกมันถูกกระตุ้นและปล่อยโฟตอน (photon) 84 00:03:12,239 --> 00:03:14,156 โฟตอนเป็นปลดปล่อยพลังงานแบบเล็กๆ 85 00:03:14,156 --> 00:03:15,489 ในรูปแบบของแสง 86 00:03:15,489 --> 00:03:16,982 สีที่ปรากฏบนท้องฟ้านั้น 87 00:03:16,982 --> 00:03:19,731 ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่อของโฟตอนของอะตอม 88 00:03:19,731 --> 00:03:21,980 อะตอมออกซิเจนที่ได้รับการกระตุ้น 89 00:03:21,980 --> 00:03:22,806 ให้สีเขียวและสีแดง 90 00:03:22,806 --> 00:03:24,557 ในขณะที่อะตอมไนโตรเจนที่ถูกกระตุ้นนั้น 91 00:03:24,557 --> 00:03:26,901 ให้สีฟ้าและสีแดงแก่ 92 00:03:26,901 --> 00:03:28,529 การปฏิสัมพันธ์ทั้งหมดนี้ 93 00:03:28,529 --> 00:03:30,799 ก่อให้เกิดแสงเหนือและแสงใต้ 94 00:03:35,382 --> 00:03:37,322 แสงจากขั้วโลกจะเห็นได้ชัดเจนที่สุดในคืนฟ้าโปร่ง 95 00:03:37,322 --> 00:03:40,252 ในเขตที่ใกล้กับขั้วแม่เหล็กโลกเหนือและใต้ 96 00:03:40,252 --> 00:03:41,360 เวลากลางคืนนั้นเหมาะสม 97 00:03:41,360 --> 00:03:43,495 เพราะว่าออโรรานั้นสลัวกว่าแสงอาทิตย์มาก 98 00:03:43,495 --> 00:03:46,188 และไม่สามารถเห็นได้ในเวลากลางวัน 99 00:03:46,188 --> 00:03:47,915 อย่าลืมที่จะมองขึ้นไปบนท้องฟ้า 100 00:03:47,915 --> 00:03:49,918 และคอยติดตามแบบแผนพลังงานของดวงอาทิตย์ 101 00:03:49,918 --> 00:03:52,550 โดยเฉพาะจุดบอดบนดวงอาทิตย์หรือเปลวสุริยะ 102 00:03:52,550 --> 00:03:53,097 เพราะพวกมันจะเป็นตัวชี้แนะที่ดี 103 00:03:53,097 --> 00:03:55,098 สำหรับการพยากรณ์ออโรรา