1 00:00:00,371 --> 00:00:02,145 ลองมาทำความรู้จัก 2 00:00:02,145 --> 00:00:06,277 ทฤษฏีบทเศษเหลือของพหุนามกัน 3 00:00:06,277 --> 00:00:07,436 และเราจะเห็นว่า 4 00:00:07,436 --> 00:00:09,315 คุณจะรู้สึกว่ามันเหมือนเวทมนตร์ในตอนแรก 5 00:00:09,315 --> 00:00:11,415 แต่ในวิดีโอต่อๆ ไป เราจะพิสูจน์ และเราจะเห็น 6 00:00:11,415 --> 00:00:13,063 ว่า เช่นเดียวกับหลายๆ เรื่องในคณิตศาสตร์ 7 00:00:13,063 --> 00:00:14,445 เมื่อคุณคิดอย่างละเอียด 8 00:00:14,445 --> 00:00:16,923 มันอาจไม่ใช่เวทมนตร์อะไรนัก 9 00:00:16,923 --> 00:00:19,469 แล้วทฤษฎีบทเศษเหลือของพหุนามคืออะไร? 10 00:00:19,469 --> 00:00:21,569 มันบอกเราว่า ถ้าเราเริ่ม 11 00:00:21,569 --> 00:00:24,313 ด้วยพหุนาม f ของ x 12 00:00:24,313 --> 00:00:27,793 ค่านี่ตรงนี้คือพหุนาม 13 00:00:27,793 --> 00:00:29,557 พหุนาม 14 00:00:29,557 --> 00:00:34,557 และเราหารมัน 15 00:00:34,923 --> 00:00:39,332 ด้วย x ลบ a 16 00:00:39,332 --> 00:00:43,890 แล้วเศษ 17 00:00:43,890 --> 00:00:46,103 จากการหารยาว 18 00:00:46,103 --> 00:00:49,916 พหุนามนั้นจะเท่ากับ f ของ a 19 00:00:49,916 --> 00:00:53,040 มันจะเท่ากับ 20 00:00:53,040 --> 00:00:56,887 f ของ a 21 00:00:56,887 --> 00:00:59,330 ผมรู้ว่ามันอาจดูเป็นนามธรรมไปหน่อยตอนนี้ 22 00:00:59,330 --> 00:01:02,727 ผมจะพูดถึง f ของ x และ x ลบ a 23 00:01:02,727 --> 00:01:05,409 ลองทำให้ชัดเจนขึ้นหน่อยดีกว่า 24 00:01:05,409 --> 00:01:10,409 สมมุติว่า f ของ x เท่ากับ 25 00:01:10,455 --> 00:01:11,737 ผมจะตั้ง 26 00:01:11,737 --> 00:01:13,302 สมมุติว่าพหุนามดีกรีสองตัวหนึ่ง 27 00:01:13,302 --> 00:01:15,176 อันนี้เป็นจริงสำหรับพหุนามใดๆ ด้วย 28 00:01:15,176 --> 00:01:18,078 3x กำลังสองลบ 29 00:01:18,078 --> 00:01:21,139 4x บวก 7 30 00:01:21,139 --> 00:01:25,833 และสมมุติว่า a นั้นคือ ไม่รู้สิ a คือ 1 31 00:01:25,833 --> 00:01:30,607 แล้วเราจะหารมันด้วย 32 00:01:30,607 --> 00:01:33,886 เราจะหารด้วย 33 00:01:33,886 --> 00:01:38,886 x ลบ 1 34 00:01:39,006 --> 00:01:44,006 a ในกรณีนี้ เท่ากับ 1 35 00:01:44,019 --> 00:01:45,890 ลองทำการหารยาวพหุนามนี้กัน 36 00:01:45,890 --> 00:01:47,665 ผมแนะนำให้คุณหยุดวิดีโอ 37 00:01:47,665 --> 00:01:49,635 ถ้าคุณยังไม่คุ้นกับการหารยาวพหุนาม 38 00:01:49,635 --> 00:01:51,815 ผมแนะนำให้คุณดูวิดีโอนั้นก่อนจะดูวิดีโอนี้ 39 00:01:51,815 --> 00:01:53,327 เพราะผมจะถือว่าคุณรู้ 40 00:01:53,327 --> 00:01:55,223 วิธีหารยาวพหุนามแล้ว 41 00:01:55,223 --> 00:01:57,983 หาร 3x กำลังสองลบ 4x บวก 7 42 00:01:57,983 --> 00:01:59,477 หารมันด้วย x ลบ 1 43 00:01:59,477 --> 00:02:01,036 ดูสิ่งที่เราได้เป็นเศษ 44 00:02:01,036 --> 00:02:04,877 และดูว่าเศษนั้นเท่ากับ f ของ 1 จริงไหม 45 00:02:04,877 --> 00:02:06,422 ผมถือว่าคุณได้ลองแล้วนะ 46 00:02:06,422 --> 00:02:07,978 ลองทำไปด้วยกันดู 47 00:02:07,978 --> 00:02:12,978 ลองนำ x ลบ 1 48 00:02:13,379 --> 00:02:18,379 ไปหาร 3x กำลังสอง 49 00:02:18,752 --> 00:02:22,364 ลบ 4x บวก 7 กัน 50 00:02:22,364 --> 00:02:24,907 เอาล่ะ การหารยาวพหุนาม 51 00:02:24,907 --> 00:02:26,745 ไม่ใช่กิจกรรมยามเช้าที่แย่นัก 52 00:02:26,745 --> 00:02:27,456 ตอนนี้เป็นตอนเช้าสำหรับผม 53 00:02:27,456 --> 00:02:29,172 ผมไม่รู้ว่าสำหรับคุณเป็นเวลากี่โมงแล้ว 54 00:02:29,172 --> 00:02:33,238 เอาล่ะ ผมดูที่เทอม x ตรงนี้ 55 00:02:33,238 --> 00:02:34,728 เทอมดีกรีสูงสุด 56 00:02:34,728 --> 00:02:36,585 แล้วผมจะเริ่มด้วยเทอมดีกรีสูงสุดตรงนี้ 57 00:02:36,585 --> 00:02:39,453 x จะไปหาร 3x กำลังสองได้กี่ครั้ง? 58 00:02:39,453 --> 00:02:40,951 3x คูณอะไร? 59 00:02:40,951 --> 00:02:42,573 3x คูณ x เท่ากับ 3x กำลังสอง 60 00:02:42,573 --> 00:02:46,387 ผมจะเขียน 3x ตรงนี้ 61 00:02:46,387 --> 00:02:47,920 ผมจะเขียน จะเรียกว่า 62 00:02:47,920 --> 00:02:49,700 หลักดีกรีหนึ่งก็ได้ 63 00:02:49,700 --> 00:02:53,750 3x คูณ x ได้ 3x กำลังสอง 64 00:02:53,750 --> 00:02:57,822 3x คูณลบ 1 ได้ลบ 3x 65 00:02:57,822 --> 00:03:01,486 และตอนนี้เราอยากลบอันนี้ 66 00:03:01,486 --> 00:03:04,454 มันก็แค่วิธีที่คุณหารยาวแบบดั้งเดิม 67 00:03:04,454 --> 00:03:06,505 แล้ว เราได้อะไร? 68 00:03:06,505 --> 00:03:09,488 3x กำลังสองลบ 3x กำลังสอง 69 00:03:09,488 --> 00:03:11,552 นั่นจะเท่ากับ 0 70 00:03:11,552 --> 00:03:14,237 อันนี้รวมกันได้ 0 71 00:03:14,237 --> 00:03:16,584 และลบ 4x นี่ 72 00:03:16,584 --> 00:03:18,332 อันนี้จะเท่ากับบวก 3x จริงไหม? 73 00:03:18,332 --> 00:03:19,720 แล้วลบของลบ 74 00:03:19,720 --> 00:03:22,012 ลบ 4x บวก 3x 75 00:03:22,012 --> 00:03:25,367 จะเท่ากับลบ x 76 00:03:25,367 --> 00:03:27,504 ผมจะใช้สีใหม่นะ 77 00:03:27,504 --> 00:03:31,513 มันจะเท่ากับลบ x 78 00:03:31,513 --> 00:03:35,705 แล้วเราดึง 7 ลงมา 79 00:03:35,705 --> 00:03:38,346 ทำการเปรียบเทียบกับตอนคุณเรียนหารยาวครั้งแรก 80 00:03:38,346 --> 00:03:40,713 ไม่รู้สิ ตอนชั้นปีที่สามหรือสี่ 81 00:03:40,713 --> 00:03:42,565 ที่ผมทำก็คือ ผมคูณ 3x กับค่านี้ 82 00:03:42,565 --> 00:03:44,813 คุณจะได้ 3x กำลังสองลบ 3x 83 00:03:44,813 --> 00:03:46,801 แล้วผมลบค่านั้นออกจาก 3x กำลังสอง 84 00:03:46,801 --> 00:03:49,255 ลบ 4x ได้ค่านี่ตรงนี้ 85 00:03:49,255 --> 00:03:52,518 หรือคุณบอกได้ว่า ผมลบมันออกจาก พหุนามทั้งหมดนี้ 86 00:03:52,518 --> 00:03:55,856 แล้วผมได้ลบ x บวก 7 87 00:03:55,856 --> 00:03:58,149 และตอนนี้ x ลบ 1 ไป 88 00:03:58,149 --> 00:04:00,598 หารลบ x บวก 7 ได้กี่ครั้ง? 89 00:04:00,598 --> 00:04:02,098 x ไปหารลบ x 90 00:04:02,098 --> 00:04:06,488 ลบ 1 คูณ x 91 00:04:06,488 --> 00:04:08,816 ได้ลบ x 92 00:04:08,816 --> 00:04:12,662 ลบ 1 คูณลบ 1 ได้บวก 1 93 00:04:12,662 --> 00:04:15,131 แต่เราอยากลบอันนี้ 94 00:04:15,131 --> 00:04:16,357 เราอยากลบค่านี้ 95 00:04:16,357 --> 00:04:18,660 และอันนี้จะได้เศษ 96 00:04:18,660 --> 00:04:21,616 ลบ x ลบลบ x 97 00:04:21,616 --> 00:04:24,713 เหมือนกับลบ x บวก x 98 00:04:24,713 --> 00:04:26,847 พวกนี้จะรวมกันได้ 0 99 00:04:26,847 --> 00:04:27,939 และคุณได้ 7 100 00:04:27,939 --> 00:04:29,104 อันนี้จะเท่ากับ 7 บวก 1 101 00:04:29,104 --> 00:04:30,188 นึกดู คุณมีลบนี้ออกมา 102 00:04:30,188 --> 00:04:31,329 ถ้าคุณแจกแจงลบ 103 00:04:31,329 --> 00:04:33,144 อันนี้จะเท่ากับลบ 1 104 00:04:33,144 --> 00:04:35,880 7 ลบ 1 ได้ 6 105 00:04:35,880 --> 00:04:39,709 เศษเหลือตรงนี้คือ 6 106 00:04:39,709 --> 00:04:40,982 วิธีคิดอย่างหนึ่งคือว่า 107 00:04:40,982 --> 00:04:45,442 คุณบอกได้ว่า อืม 108 00:04:45,442 --> 00:04:46,797 ผมจะเก็บไว้วิดีโอหน้าดีกว่า 109 00:04:46,797 --> 00:04:50,612 อันนี้ตรงนี้คือเศษเหลือ 110 00:04:50,612 --> 00:04:52,128 และคุณรู้ว่าเวลาคุณได้เศษเหลือมา 111 00:04:52,128 --> 00:04:54,609 นี่เป็นการทบทวนการหารยาวพหุนาม 112 00:04:54,609 --> 00:04:57,128 มันคือเวลาที่คุณได้สิ่งที่มีดีกรีน้อยกว่า 113 00:04:57,128 --> 00:04:58,676 นี่คือ ผมว่าคุณเรียกอันนี้ 114 00:04:58,676 --> 00:05:01,058 ว่าพหุนามดีกรีศูนย์ก็ได้ 115 00:05:01,058 --> 00:05:04,225 อันนี้มีดีกรีน้อยกว่าสิ่งที่คุณใช้ 116 00:05:04,225 --> 00:05:09,225 หาร หรือน้อยกว่า x กำลังน้อยกว่าตัวหารอยู่ 1 117 00:05:09,680 --> 00:05:11,852 นี่มีดีกรีน้อยกว่า อันนี้จึงเป็นเศษเหลือ 118 00:05:11,852 --> 00:05:16,014 คุณเอาอันนี้ไปหารอีกไม่ได้แล้ว 119 00:05:16,014 --> 00:05:20,471 ทีนี้ ด้วยทฤษฏีบทเศษเหลือของพหุนาม 120 00:05:20,471 --> 00:05:23,538 ถ้ามันเป็นจริง และผมเลือกตัวอย่างอย่างสุ่มตรงนี้ 121 00:05:23,538 --> 00:05:26,108 นี่ไม่ใช่การพิสูจน์ แต่เป็นแค่ 122 00:05:26,108 --> 00:05:29,308 การทำให้ทฤษฎีเศษเหลือของพหุนาม 123 00:05:29,308 --> 00:05:32,009 จับต้องได้ ให้มันบอกอะไรเราบ้าง 124 00:05:32,009 --> 00:05:34,566 ถ้าทฤษฎีเศษเหลือของพหุนามเป็นจริง 125 00:05:34,566 --> 00:05:38,968 มันจะบอกเราว่า f ของ a ในกรณีนี้คือ 1 126 00:05:38,968 --> 00:05:42,727 f ของ 1 ควรเท่ากับ 6 127 00:05:42,727 --> 00:05:44,600 มันควรเท่ากับเศษเหลือนี้ 128 00:05:44,600 --> 00:05:45,555 ลองมาทดสอบกัน 129 00:05:45,555 --> 00:05:48,838 นี่จะเท่ากับ 3 คูณ 1 กำลังสอง 130 00:05:48,838 --> 00:05:51,860 ซึ่งจะเท่ากับ 3 ลบ 4 คูณ 1 131 00:05:51,860 --> 00:05:55,717 มันจะเท่ากับลบ 4 บวก 7 132 00:05:55,717 --> 00:06:00,017 3 ลบ 4 ได้ลบ 1 บวก 7 แน่นอน 133 00:06:00,017 --> 00:06:01,635 เราพร้อมฉลองแล้ว 134 00:06:01,635 --> 00:06:04,606 มันเท่ากับ 6 จริง 135 00:06:04,606 --> 00:06:07,604 นี่เป็นเหมือน อย่างน้อยในกรณีเฉพาะนี้ 136 00:06:07,604 --> 00:06:09,082 ดูเหมือนว่า โอเค มันดูเหมือนว่าทฤษฎี 137 00:06:09,082 --> 00:06:10,415 เศษเหลือของพหุนามจะใช้ได้จริง 138 00:06:10,415 --> 00:06:12,365 แต่ประโยชน์จริงๆ คือว่า ถ้ามีคนถามว่า 139 00:06:12,365 --> 00:06:15,111 เฮ้ ฉันจะได้เศษอะไรถ้าหาร 140 00:06:15,111 --> 00:06:16,986 3x กำลังสองลบ 4x บวก 7 141 00:06:16,986 --> 00:06:19,714 ด้วย x ลบ 1 ถ้าฉันสนใจแค่เศษ? 142 00:06:19,714 --> 00:06:21,865 เขาไม่สนใจว่าผลหารเป็นเท่าใด 143 00:06:21,865 --> 00:06:23,903 สิ่งที่เขาสนใจคือเศษอย่างเดียว คุณก็บอกว่า 144 00:06:23,903 --> 00:06:27,299 เฮ้ ดูสิ ฉันนำ ในกรณีนี้ a คือ 1 145 00:06:27,299 --> 00:06:28,361 ฉันจับมันใส่ลงไป 146 00:06:28,361 --> 00:06:30,764 ฉันหาค่า f ของ 1 ได้ และฉันจะได้ 6 147 00:06:30,764 --> 00:06:32,068 ฉันไม่ต้องทำอะไรพวกนี้ 148 00:06:32,068 --> 00:06:34,104 ที่ฉันมี ที่ต้องทำก็แค่อันนี้ 149 00:06:34,104 --> 00:06:37,130 เพื่อหาเศษของ 3x กำลังสอง 150 00:06:37,130 --> 00:06:38,820 3x กำลังสองลบ 4x บวก 7 มา 151 00:06:38,820 --> 00:06:41,854 แล้วหารด้วย x ลบ 1