1 00:00:15,531 --> 00:00:19,163 ใครๆ คงนึกภาพออกว่าเมื่อ 400 ปีก่อน 2 00:00:19,163 --> 00:00:21,997 การเดินเรือในมหาสมุทรเป็นเรื่องยากลำบาก 3 00:00:21,997 --> 00:00:25,713 ทั้งลมทั้งคลื่นคือตัวการทำให้เรือแล่นออกนอกเส้นทาง 4 00:00:25,713 --> 00:00:29,514 ชาวเรือจึงต้องอาศัยท่าเรือที่ออกเดินทาง ในการกำหนดทิศทาง 5 00:00:29,514 --> 00:00:35,080 พยายามคงความแม่นยำในการบันทึก ทิศทางและตำแหน่งของเรือในมหาสมุทร 6 00:00:35,080 --> 00:00:38,380 ด้วยวิธีที่เรียกว่า การเดินเรือรายงาน (Dead Reckoning) 7 00:00:38,380 --> 00:00:46,665 เพราะถ้าทิศคลาดเคลื่อนไปเพียงครึ่งองศา เรือก็จะแล่นเลยเกาะตรงเส้นขอบฟ้าไปหลายไมล์ 8 00:00:46,665 --> 00:00:49,780 มันเป็นข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่ายๆ 9 00:00:49,780 --> 00:00:53,497 ต้องขอบคุณ การคิดค้น 3 อย่าง ที่ทำให้การเดินเรือสมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้น 10 00:00:53,497 --> 00:01:00,863 เครื่องวัดแดด นาฬิกา และคณิตศาสตร์ ที่ช่วยให้การคำนวณเร็วและง่ายขึ้น 11 00:01:00,863 --> 00:01:08,414 ทั้งหมดนั้นสำคัญ ถ้าไม่มีอุปกรณ์ที่จำเป็น กะลาสีคงลังเลที่จะแล่นออกจากฝั่งไปไกลๆ 12 00:01:08,414 --> 00:01:11,365 จอห์น เบิร์ด นักประดิษฐ์จากลอนดอน 13 00:01:11,365 --> 00:01:16,830 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องมือที่วัดมุมระหว่าง ดวงอาทิตย์และเส้นขอบฟ้าในเวลากลางวัน 14 00:01:16,830 --> 00:01:19,230 ที่เรียกว่า เครื่องวัดแดด (sextant) 15 00:01:19,230 --> 00:01:26,230 มุมที่วัดได้นั้นสำคัญ เพราะทำให้เราสามารถ เทียบกับมุมที่วัดได้ที่อังกฤษในเวลาเดียวกัน 16 00:01:26,230 --> 00:01:31,947 การเปรียบเทียบมุมทั้งสองนี้จำเป็นสำหรับการ หาพิกัดเส้นแวง (longitude) ของเรือ 17 00:01:31,947 --> 00:01:33,515 นาฬิกาถูกคิดค้นขึ้นเป็นลำดับถัดมา 18 00:01:33,515 --> 00:01:38,497 ในปี 1761 จอห์น แฮร์ริสัน (John Harrison) ช่างนาฬิกาและช่างไม้ ชาวอังกฤษ 19 00:01:38,497 --> 00:01:41,980 ได้ประดิษฐ์นาฬิกาที่ยังคงเดินได้อย่างเที่ยงตรง แม้จะอยู่กลางทะเล 20 00:01:41,980 --> 00:01:48,480 นาฬิกาที่สามารถบอกเวลาได้เที่ยงตรง แม้ในขณะอยู่บนเรือที่โคลงเคลงไปมานั้น 21 00:01:48,480 --> 00:01:52,796 จำเป็นเพราะเราต้องรู้เวลาที่อังกฤษ 22 00:01:52,796 --> 00:01:54,880 แต่มีข้อเสียอยู่อย่างก็คือ 23 00:01:54,880 --> 00:01:58,714 เพราะนาฬิกาที่ว่านี้เป็นงานที่ทำด้วยมือ ดังนั้นมันจึงแพงมาก 24 00:01:58,714 --> 00:02:05,380 จึงมีวิธีทางเลือก โดยการวัดมุมดวงจันทร์ และสูตรคำนวนต่างๆ เพื่อเป็นการประหยัดเงิน 25 00:02:05,380 --> 00:02:10,848 การคำนวนหาตำแหน่งของเรือแต่ละครั้ง อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง 26 00:02:10,848 --> 00:02:17,713 เครื่องวัดแดดและนาฬิกาจะไร้ประโยชน์ ถ้านักเดินเรือไม่สามารถใช้มันหาตำแหน่งเรือได้ 27 00:02:17,713 --> 00:02:24,163 โชคดีที่ในช่วงศตวรรษที่ 17 สิ่งที่ยังขาดอยู่นี้ ได้ถูกคิดขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์สมัครเล่น 28 00:02:24,163 --> 00:02:32,947 จอห์น เนเปียใช้เวลากว่า 20 ปี คิดค้นสิ่งที่เรียกว่าลอการิทึม ซึ่งช่วยในการคำนวณ 29 00:02:32,947 --> 00:02:41,430 แนวคิดเกี่ยวกับลอการิทึม อยู่ในรูปของ 1ส่วน อี(e) และ ค่าคงที่ 10 ยกกำลัง 7 30 00:02:41,430 --> 00:02:45,432 พีชคณิตในช่วงต้นศตวรรษที่ 17 นั้นยังไม่สมบูรณ์ดีนัก 31 00:02:45,432 --> 00:02:49,130 และสำหรับเนเปีย ลอการิทึมของ 1 นั้นไม่ได้เท่ากับ 0 32 00:02:49,130 --> 00:02:55,080 ซึ่งมันทำมันให้ยุ่งยากกว่าการใช้ ลอการิทึมฐาน 10 33 00:02:55,080 --> 00:02:59,547 เฮนรี่ บริกส์ นักคณิตศาสตร์ชื่อดังจาก มหาวิทยาลัยเกรชัมในกรุงลอนดอน 34 00:02:59,547 --> 00:03:07,614 ได้อ่านผลงานของเนเปียในปี 1614 และปีถัดมา ได้ดั้นด้นไปเมืองเอดินบะระเพื่อไปพบเขา 35 00:03:07,614 --> 00:03:11,065 บริกส์ ไปปรากฏตัวโดยไม่บอกกล่าว ที่หน้าประตูปราสาทของเนเปีย 36 00:03:11,065 --> 00:03:18,413 และแนะนำให้เนเปียเปลี่ยนเลขฐานและสัญลักษณ์ ลอการิทึมให้เป็นอะไรที่เรียบง่ายกว่าเดิม 37 00:03:18,413 --> 00:03:23,231 ทั้งคู่เห็นตรงกันว่าถ้าลอการิทึม 1 ฐาน 10 นั้นเท่ากับ 0 38 00:03:23,231 --> 00:03:26,431 จะทำให้การคำนวณต่างๆ นั้นง่ายขึ้นมาก 39 00:03:26,431 --> 00:03:30,797 ซึ่งทุกวันนี้รู้จักกันในชื่อ ลอการิทึม สามัญของบริกส์ 40 00:03:30,797 --> 00:03:35,098 กว่าที่จะมีการประดิษฐ์เครื่องคิดเลข ในศตวรรษที่ 20 41 00:03:35,098 --> 00:03:44,017 การคำนวณใดๆ ก็ตาม ไม่ว่าจะเป็น คูณ หาร ยกกำลัง การถอดราก จะตัวเลขมากหรือน้อยก็ตาม 42 00:03:44,017 --> 00:03:46,730 ถูกทำโดยอาศัยลอการิทึม 43 00:03:46,730 --> 00:03:49,140 ประวัติของลอการิทึมไม่ใช่เป็นเพียง บทเรียนหนึ่งในวิชาคณิต 44 00:03:50,181 --> 00:03:54,380 มีผู้คนมากมายที่มีส่วนในความสำเร็จ ของศาสตร์การเดินเรือ 45 00:03:54,380 --> 00:03:57,913 นักประดิษฐ์ นักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ 46 00:03:57,913 --> 00:03:59,981 และที่ขาดไม่ได้ ก็คือ นักเดินเรือ 47 00:03:59,981 --> 00:04:04,098 ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้เกิดจากแค่การเจาะลึก ลงไปในศาสตร์แขนงใดแขนงหนึ่งเท่านั้น 48 00:04:04,098 --> 00:04:08,563 แต่มันยังเกี่ยวกับการผสมผสานกัน ระหว่างศาสตร์แขนงต่างๆ เข้าด้วยกัน