WEBVTT 00:00:00.000 --> 00:00:00.660 00:00:00.660 --> 00:00:03.960 เขียนพจน์ 4 คูณ แล้วก็ในวงเล็บ 00:00:03.960 --> 00:00:07.810 เรามี 8 บวก 3, ใหม่โดยใช้กฎการกระจาย 00:00:07.810 --> 00:00:09.960 ของการคูณผ่านการบวก. 00:00:09.960 --> 00:00:11.880 แล้วหาค่าพจน์ในรูปอย่างง่าย. 00:00:11.880 --> 00:00:16.050 ลองแก้พจน์นี้ หรือหาค่าพจน์นี้กัน 00:00:16.050 --> 00:00:18.080 แล้วเราค่อยคัยกันว่า 00:00:18.080 --> 00:00:20.720 กฎการกระจายของการคูณ ผ่านการบวก หรือเรียกง่ายๆ 00:00:20.720 --> 00:00:23.100 ว่ากฎการกระจาย ว่าคืออะไร. 00:00:23.100 --> 00:00:34.250 ตอนนี้เรามี 4 คูณ 8 บวก 8 บวก 3. 00:00:34.250 --> 00:00:36.070 ทีนี้มีวิธีทำสองอย่าง. 00:00:36.070 --> 00:00:38.630 โดยทั่วไปแล้ว เวลาคุณมีวงเล็บ คุณมัก 00:00:38.630 --> 00:00:41.020 บอกว่า ฉันขอหาค่าสิ่งที่อยู่ในวงเล็บก่อน 00:00:41.020 --> 00:00:43.430 แล้วค่อยคิดว่าอะไรอยู่นอกวงเล็บ 00:00:43.430 --> 00:00:46.110 และเราทำได้ง่ายๆ ตรงนี้. 00:00:46.110 --> 00:00:48.520 เราหาค่าได้ว่า 8 บวก 3 เป็นเท่าใด. 00:00:48.520 --> 00:00:49.940 8 บวก 3 เป็น 11. 00:00:49.940 --> 00:00:52.030 ถ้าเราทำอย่างนั้น -- ขอผมทำทางนี้นะ. 00:00:52.030 --> 00:00:58.820 ถ้าเราทำมัน เราได้ 4 คูณ และในวงเล็บ 00:00:58.820 --> 00:01:00.120 เรามี 11. 00:01:00.120 --> 00:01:04.090 8 บวก 3 เป็น 11, แล้วค่านี้จะเท่ากับ -- 00:01:04.090 --> 00:01:08.820 ทีนี้ 4 คูณ 11 ก็แค่ 44, คุณก็ 00:01:08.820 --> 00:01:09.880 หาค่าได้แบบนั้น. 00:01:09.880 --> 00:01:11.790 แต่เขาบอกเราให้ใช้กฎการกระจาย 00:01:11.790 --> 00:01:12.510 ของการคูณ. 00:01:12.510 --> 00:01:14.960 เราไม่ได้ใช้กฎการกระจายตรงนี้. 00:01:14.960 --> 00:01:17.270 เราแค่หาค่าพจน์ไป. 00:01:17.270 --> 00:01:20.470 เราใช้วงเล็บก่อน. 00:01:20.470 --> 00:01:24.330 ในกฎการกระจาย เราคูณ 4 ก่อน. 00:01:24.330 --> 00:01:27.080 และมันเรียกว่ากฎการกระจาย เพราะคุณกระจาย 4, 00:01:27.080 --> 00:01:29.040 และเราจะคิดว่ามันมีความหมาย อย่างไรทีหลัง. 00:01:29.040 --> 00:01:33.200 ในกฎการกระจาาย นี่จะเป็นอะไร 00:01:33.200 --> 00:01:37.120 มันจะกลายเป็น 4 คูณ 8 บวก 4 คูณ 3, เราจะคิดว่าทำไม 00:01:37.120 --> 00:01:38.490 ถึงเป็นอย่างนั้นเร็วๆ นี้. 00:01:38.490 --> 00:01:52.620 นี่จึงเท่ากับ 4 คูณ 8 บวก 4 คูณ 3. 00:01:52.620 --> 00:01:54.920 หลายคนคิดว่าทำแค่ 00:01:54.920 --> 00:01:56.680 4 คูณ 8 ก็พอ แต่ไม่ใช่! 00:01:56.680 --> 00:01:58.110 คุณต้องกระจาย 4 ไป. 00:01:58.110 --> 00:02:03.250 คุณต้องคูณมันกับ 8 แล้วคูณกับ 3. 00:02:03.250 --> 00:02:04.040 มันคือตรงนี้. 00:02:04.040 --> 00:02:07.200 นี่คือการใช้สมบัติการกระจายตรงนี้. 00:02:07.200 --> 00:02:10.139 การใช้สมบัติการกระจาย. 00:02:10.139 --> 00:02:11.770 แล้วเมื่อหาค่ามัน -- และผมจะทำให้ดู 00:02:11.770 --> 00:02:14.190 เป็นภาพว่าทำไมถึงเป็นเช่นนั้น. 00:02:14.190 --> 00:02:17.680 แต่เมื่อเราหาค่ามัน, 4 คูณ 8 -- ผมจะใช้อีกสีนะ 00:02:17.680 --> 00:02:23.010 -- 4 คูณ 8 เท่ากับ 32, เราจึงได้ 32 00:02:23.010 --> 00:02:25.780 บวก 4 คูณ 3. 00:02:25.780 --> 00:02:32.840 4 คูณ 3 ได้ 12 บวก 32 บวก 12 เท่ากับ 44. 00:02:32.840 --> 00:02:36.040 นั่นก็เท่ากับ 44, คุณจึงคิดแบบใดก็ได้. 00:02:36.040 --> 00:02:38.860 แต่เวลาเขาอยากให้เราใช้ กฎการกระจาย 00:02:38.860 --> 00:02:41.130 คุณต้องกระจาย 4 ก่อน. ทีนี้ลองคิด 00:02:41.130 --> 00:02:42.290 ว่าทำไมถึงเป็นอย่างนั้น. 00:02:42.290 --> 00:02:45.670 ลองนึกภาพ 8 บวก 3 ว่าคืออะไร. 00:02:45.670 --> 00:02:47.400 ขอผมวาดของแปดอย่างหน่อย. 00:02:47.400 --> 00:02:53.930 1, 2, 3, 4, 5, 6, 00:02:53.930 --> 00:02:55.380 7, 8 ใช่ไหม? 00:02:55.380 --> 00:02:58.790 00:02:58.790 --> 00:03:04.380 แล้วเราก็บวกของอีกสามอย่าง 00:03:04.380 --> 00:03:05.710 อาจเป็นอย่างเดียวกัน. 00:03:05.710 --> 00:03:07.880 1, 2, 3 00:03:07.880 --> 00:03:10.760 คุณคงนึกออกว่านี่คือ สิ่งที่เรามีในวงเล็บ. 00:03:10.760 --> 00:03:11.350 00:03:11.350 --> 00:03:14.240 เรามีวงกลม 8 วงบวก 3 วง. 00:03:14.240 --> 00:03:16.900 ทีนี้ เมื่อเราคูณทั้งหมดนี้, ทั้งหมดนี่ 00:03:16.900 --> 00:03:20.120 คูณ 4, มันหมายความว่าอะไร? 00:03:20.120 --> 00:03:22.330 นี่หมายความว่า เราต้องบวกตัวมันเอง 00:03:22.330 --> 00:03:23.690 4 ครั้ง. 00:03:23.690 --> 00:03:26.750 ขอผมใช้คำสั่งลอกและวางนะ. 00:03:26.750 --> 00:03:28.470 ลอกและวาง. 00:03:28.470 --> 00:03:31.860 ขอผมลอกและวางลงไป. ได้แล้ว. 00:03:31.860 --> 00:03:32.410 00:03:32.410 --> 00:03:33.240 นั่นคือ 2. 00:03:33.240 --> 00:03:39.780 นั่นคือ 1, 2, 3 แล้วก็ได้ 4, และเรา 00:03:39.780 --> 00:03:41.460 จะบวกเทอมเข้าด้วยกัน 00:03:41.460 --> 00:03:42.690 นี่คืออะไร? 00:03:42.690 --> 00:03:45.020 4 คูณ ใช่ไหม? 00:03:45.020 --> 00:03:47.290 ขอผมกลับที่เครื่องมือวาดรูปหน่อย. 00:03:47.290 --> 00:03:50.630 เรามี 1, 2, 3, 4 คูณพจน์นี้ 00:03:50.630 --> 00:03:52.750 ซึ่งก็คือ 8 บวก 3. 00:03:52.750 --> 00:03:54.750 ทีนี้ เจ้านี่ตรงนี้คืออะไร? 00:03:54.750 --> 00:04:00.270 00:04:00.270 --> 00:04:03.120 ถ้าคุณนับทั้งหมดนี้ คุณจะได้ 44. 00:04:03.120 --> 00:04:05.710 แต่สิ่งนี้ตรงนี้คืออะไร? 00:04:05.710 --> 00:04:09.140 มันคือ 8 บวกตัวเอง 4 ครั้ง. 00:04:09.140 --> 00:04:11.800 คุณคงนึกได้ คุณรวมทั้งหมดนี่. 00:04:11.800 --> 00:04:14.120 แล้ว 8 คูณตัวเอง 4 ครั้งเป็นเท่าใด? 00:04:14.120 --> 00:04:16.279 มันคือ 4 คูณ 8. 00:04:16.279 --> 00:04:22.780 นี่ก็คือ 4 คูณ 8, แล้วอันนี้ 00:04:22.780 --> 00:04:24.710 ตรงนี้สีส้มคืออะไร? 00:04:24.710 --> 00:04:27.030 เรามี 1, 2, 3, 4 ครั้ง. 00:04:27.030 --> 00:04:28.330 ทีนี้ แต่ละครั้งเรามี 3. 00:04:28.330 --> 00:04:32.620 มันจึงเป็น 4 คูณเจ้านี่ตรงนี้. 00:04:32.620 --> 00:04:37.580 ค่านี้ตรงนี้คือ 4 คูณ 3. 00:04:37.580 --> 00:04:39.620 คุณจึงเห็นได้ว่าทำไม สมบัติการกระจายถึงถูก. 00:04:39.620 --> 00:04:44.170 ถ้าคุณทำ 4 คูณ 8 บวก 3, คุณต้องคูณ -- ผมว่า 00:04:44.170 --> 00:04:46.570 คุณคงนึกออก, เวลาคุณ ทำอะไรซ้ำ 4 ครั้ง 00:04:46.570 --> 00:04:50.450 ทั้ง 8 และ 3 จะซ้ำ 4 ครั้ง 00:04:50.450 --> 00:04:53.000 หรือบวกกับตัวเอง 4 ครั้งด้วย 00:04:53.000 --> 00:04:55.290 และนั่นคือสาเหตุที่เรากระจาย 4. 00:04:55.290 --> 00:04:55.667